Vous êtes sur la page 1sur 12

SAP2000 RC Applications:

1-way & 2-way Slab 3


ในตัวอย่างนี้จะทาการวิเคราะห์และออกแบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียวและสองทาง โดยมีผัง
พื้นดังในรูป กาหนดน้าหนักบรรทุกวัสดุปูผิว 50 กก./ม.2 และน้าหนักบรรทุกจร 300 กก./ม.2 กาลัง
คอนกรีต f’c = 240 กก./ซม.2 และเหล็กเสริม fy = 4,000 กก./ซม.2

S1 S2 4m

2m 5m

คำนวณโมเมนต์ในพื้น
สมมุติพื้นหนา 0.1 m,
น้าหนักพื้น  0.12,400  240 kg/m2

น้าหนักวัสดุปูผิว  50 kg/m2

น้าหนักจร  300 kg/m2

wu  1.4(240  50)  1.7(300)  916 kg/m2

โมเมนต์ดัดในพื้นทำงเดียว S1 :
1 1
โมเมนต์ลบ(ซ้าย): Mu  wuL2   916  42  611 kg-m
24 24
1 1
โมเมนต์บวก: Mu  wuL2   916  42  916 kg-m
14 14
1 1
โมเมนต์ลบ(ขวา): Mu  wuL2   916  42  1,628 kg-m
9 9

โมเมนต์ดัดในพื้นสองทำง S2 : พื้นไม่ต่อเนื่องด้านเดียว (m = 4/5 = 0.8)


ด้ำนสั้น :
โมเมนต์ลบด้านต่อเนื่อง  0.055  916  42  806 kg/m < 1,628 kg/m (S1)

SAP2000 RC  A03 1-way & 2-way Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 33


โมเมนต์ลบด้านไม่ต่อเนื่อง  0.027  916  42  396 kg/m

โมเมนต์บวกกลางช่วง  0.041 916  42  601 kg/m

ด้ำนยำว :
โมเมนต์ลบด้านต่อเนื่อง  0.041 916  42  601 kg/m

โมเมนต์ลบด้านไม่ต่อเนื่อง  0.021 916  42  308 kg/m

โมเมนต์บวกกลางช่วง  0.031 916  42  454 kg/m

กำรวิเครำะห์และออกแบบโดย SAP2000
 เริ่มต้นโปรแกรม SAP2000 เปลี่ยนหน่วยเป็นหน่วย Kgf, m, C

 กด Ctrl+N เริ่มต้นโมเดลใหม่ เลือกเริ่มต้นจากไฟล์ที่มีอยู่ ใช้แบบร่าง Grid Only

 เลือกไฟล์ RC01 SimpleRCBeam.sdb ที่สร้างไว้จากบทที่แล้วเพื่อใช้ข้อมูลวัสดุและหน้าตัด

 กาหนดจานวนเส้นกริดและระยะห่างในแต่ละทิศทางคือ

SAP2000 RC  A03 1-way & 2-way Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 34


จำนวนเส้นกริด ระยะห่ำงกริด
X direction 3 5

Y direction 2 4

Z direction 1 3

 สั่ งเมนู Define > Coordinate Systems/Grids คลิ ก ปุ่ ม Modify/Show System แก้ ไข X
Grid Data โดยปรับระยะกริด A-B เป็น 2 m

 คลิกปุ่ม ปรับมุมมองระนาบ XY Plane @ Z=0

 สั่งเมนู Define > Materials เพื่อตรวจสอบวัสดุ

SAP2000 RC  A03 1-way & 2-way Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 35


 สั่ ง เมนู Define > Section Properties > Frame Sections คลิ ก ปุ่ ม Add New Property
เลือกหน้าตัดคอนกรีตสี่เหลี่ยม เพื่อสร้างหน้าตัดคาน B20X40

 คลิกปุ่ม Concrete Reinforcement… เลือกให้เป็นหน้าตัดคาน

SAP2000 RC  A03 1-way & 2-way Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 36


 คลิกปุ่ม เลือกหน้าตัด B20X40 ตีกรอบคลุมทั้งหมดเพื่อวาดคาน

 คลิกเลือกจุดต่อดังในรูป สั่งเมนู Assign > Joint > Restraints กาหนดจุดรองรับ

SAP2000 RC  A03 1-way & 2-way Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 37


จะได้โมเดลในมุมมอง 3D View ดังในรูป

 สั่ ง เม นู Define > Section Properties > Area Sections ค ลิ ก ปุ่ ม Add New Section
สร้างหน้าตัดพื้น S1

SAP2000 RC  A03 1-way & 2-way Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 38


 กลับมาที่มุมมอง XY Plane คลิกปุ่ม เลือกหน้าตัด S1 แล้วตีกรอบคลุมทั้งหมดเพื่อวาด
พื้นดังในรูป

 สั่งเมนู File > Save บันทึกไฟล์ตั้งชื่อว่า RC03 Slab1.sdb

น้ำหนักบรรทุก

 สั่งเมนู Define > Load Patterns… ตรวจสอบว่าบรรทุก LIVE ดังในรูป

 คลิกปุ่ม เลือก Fill Object เพื่อให้แสดงพื้น

 คลิกเลือกพื้นทั้งหมด สั่ งเมนู Assign > Area > Automatic Area Mesh เลือกแบ่งพื้นย่อย
โดยวิธีกาหนดขนาดใหญ่ที่สุด 1 เมตร

SAP2000 RC  A03 1-way & 2-way Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 39


 คลิ ก เลื อ กพื้ น ทั้ ง หมด สั่ ง เมนู Assign > Area Loads > Uniform ใส่ น้ าหนั ก บรรทุ ก กรณี
DEAD แล้วทาอีกครั้งใส่กรณี LIVE ดังในรูป

 คลิกขวาที่พื้นเพื่อดูข้อมูล คลิกแถบ Load จะเห็นน้าหนักบรรทุกดังในรูป

 สั่งเมนู Define > Load Combinations คลิกปุ่ม Add New Combo สร้างกรณีบรรทุกร่วม
COMB1 = 1.4  DEAD + 1.7  LIVE

SAP2000 RC  A03 1-way & 2-way Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 40


กำรวิเครำะห์โครงสร้ำง

 สั่งเมนู Analyze > Run Analysis หรือ

 กด F5 เพื่อรันการวิเคราะห์โครงสร้าง เลือก Do Not Run สาหรับกรณี MODAL แล้วกดปุ่ม


Run Now

 เมื่อรันการคานวณเสร็จโปรแกรมจะแสดงการเสียรูปทรงภายใต้กรณีบรรทุก DEAD

 คลิกปุ่ม Show Forces/Stresses > Shells หรือกด F9 เลือกกรณีบรรทุก COMB1


เลือกให้แสดง Resultant Forces ให้แสดง M11
SAP2000 RC  A03 1-way & 2-way Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 41
ที่มุมล่างซ้ายแสดงค่า MIN = -693, MAX = 637

SAP2000 RC  A03 1-way & 2-way Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 42


 คลิกปุ่ม Show Forces/Stresses > Shells หรือกด F9 เลือกกรณีบรรทุก COMB1
เลือกให้แสดง Resultant Forces ให้แสดง M22

ที่มุมล่างซ้ายแสดงค่า MIN = -335, MAX = 804

กำรออกแบบพื้น
โปรแกรม SAP2000 จะไม่ออกแบบพื้นให้ ดังนั้นจึงต้องคานวณออกแบบพื้นเองโดยใช้ค่าโมเมนต์ที่
ได้จากการวิเคราะห์
ปริมาณเหล็กเสริมมากที่สุด (ตาราง ก.3) max  0.341

ความลึกของหน้าตัดโดยสมมุติว่าใช้เหล็ก RB9 (fy  2,400 กก./ซม.2) ระยะหุ้ม 2 ซม.


Mu 0.85fc  2Rn 
คานวณค่า Rn  และปริมาณเหล็กเสริม   1  1  
 bd2 fy  0.85fc' 

และพื้นที่เหล็กเสริม As   b d    100  7.55 ซม.2/ความกว้าง 1 เมตร

เหล็กเสริมด้ำนยำว :
d  10  0.45  0.9  2

 6.65 ซม. -693 kg-m 637 kg-m

SAP2000 RC  A03 1-way & 2-way Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 43


โมเมนต์ Mu Rn  As USE

ด้านต่อเนื่อง -693 17.41 0.0076 5.05 RB9 @ 0.12 m

กลางช่วง 637 16.01 0.0070 4.66 RB9 @ 0.13 m

*เหล็กเสริม RB9 มีพื้นที่ Ab  0.636 ซม.2 ระยะห่าง s 100  Ab / As


ปริมาณเหล็กเสริมกันร้าว  0.0025(100)(10)

 2.5 ซม.2 < เหล็กเสริมที่ใช้ 4.38 ซม.2 OK

เหล็กเสริมด้ำนยำวใช้เหล็กกันร้ำว RB9 @ 0.25 ม. (As  2.54 ซม.2)


เหล็กเสริมด้ำนสัน้ : -335 kg-m
d  10  0.45  2

 7.55 ซม. 804 kg-m

-335 kg-m

โมเมนต์ Mu Rn  As USE

ด้านไม่ต่อเนื่อง -335 6.53 0.0028 2.11 RB9 @ 0.25 m*

กลางช่วง 804 15.67 0.0068 5.13 RB9 @ 0.12 m

*เหล็กเสริมกันร้าว

RB9@0.25m
1.6 m 1.2 m
RB9@0.12m RB9@0.13m
0.10 m

2.0 m 5.0 m

กำรเสริมเหล็กทำงด้ำนยำว

RB9@0.25m
RB9@0.25m
RB9@0.13m

4.0 m

กำรเสริมเหล็กทำงด้ำนสั้น

SAP2000 RC  A03 1-way & 2-way Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 44

Vous aimerez peut-être aussi