Vous êtes sur la page 1sur 4

ใบความรู้ วิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ

เรื่อง ดวงอาทิตย์

บทที่ 5 ดาวฤกษ์ (Stars)


5.1 วิวัฒนาการของดาวฤกษ์
ดวงอาทิตย์
- ดวงอาทิตย์เป็ นดาวฤกษ์สีเหลืองที่มีมวลนูอยถึงปานกลาง เกิดจาก
การยุบตัวของเนบิวลาใหม่ จึงมีแร่ธาตุต่างๆทุกชนิ ดเป็ นองค์
ประกอบ เช่น ไฮโดรเจน, ฮีเลียม, ลิเทียม, ทองคำา, เหล็ก เป็ นตูน
- ดวงอาทิตย์เป็ นกูอนแก็สขนาดมหึมา พื้นผิวส่องแสงสว่างจูา มี
การระเบิดที่รุนแรงและแปรปรวนอย่้ตลอดเวลาไม่เคยหยุดนิ่ ง
- เนื้ อสารของดวงอาทิตย์ท้ังดวงเป็ นก๊าซ ประกอบดูวย ไฮโดรเจน
70%, ฮีเลียม 28%, และธาตุหนักอื่นๆอีกประมาณ 2%โดยมวล
- มีเสูนผ่านศ้นย์กลาง 1,392,000 กิโลเมตร (เท่ากับ 109 เท่าของ
เสูนผ่านศ้นย์กลางของโลก)
- มีมวลถึง 2,000 ลูานลูานลูานลูานตัน (คิดเป็ นมวลกว่า 98% ของ
วัตถุท้ังหมดในระบบสุริยะ)
- ก๊าซชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีความหนาแน่ นไม่มากนัก แต่บริเวณ
ที่อย่้ลึกลงไปใตูผิวของดวงอาทิตย์มีความหนาแน่ นส้งอย่างยิ่งยวด
มวลของดวงอาทิตย์จะอย่้ท่ีแกนกลางมีรัศมี 200,000 กิโลเมตร
เท่านั้น
- ความหนาแน่ นที่ส้งมากที่แกนกลางทำาใหูอุณหภ้มิท่ีแกนกลางส้งพอ
จะจุดเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ซึ่งเป็ นแหล่งพลังงานตามธรรมชาติท่ีมี
ขนาดใหญ่และสำาคัญที่สุดของระบบสุริยะไดู
- ปฏิกิริยานิ วเคลียร์ฟิวชั่น (ปฏิกิริยาเทอร์โมนิ วเคลียร์) ที่แกนกลาง
ของดวงอาทิตย์ (ซึ่งมีอุณหภ้มิ 15 ลูานเคลวิน)นั้น จะแผ่ออกมายัง
บริเวณผิวโดยรอบ ทำาใหูท่ีผิวของดวงอาทิตย์มีอุณหภ้มิ 5,700-
5,800 เคลวิน
- ดวงอาทิตย์ไม่มีพันธะใดๆยึดเหนี่ ยวเนื้ อสารที่เป็ นก๊าซเขูาไวูดูวยกัน
แต่ดวงอาทิตย์ก็ยังคงร้ปอย่้ไดู เพราะความสมดุลของแรงดันก๊าซ
และแรงกดเขูาส่้ศ้นย์กลางของมวลสาร

โครงสร้างภายในและกระบวนการถ่ายเท
พลังงานของดวงอาทิตย์
การถ่ายเทพลังงานจากดวงอาทิตย์มี 3 ขั้นตอน คือ
1. การแผ่รังสี 2. การพาความรูอน 3. การแผ่รังสี

1
ใบความรู้ วิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ
เรื่อง ดวงอาทิตย์

ปรากฏการณ์บนผิวดวงอาทิตย์
1. จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspot)
- เป็ นจุดสีดำาๆที่ปรากฏอย่้ประปรายบนผิวดวงอาทิตย์ มักเรียกว่า
“จุดดับบนดวงอาทิตย์” หรือ “จุดดับ” แต่คำาเรียกที่ถก
้ ตูองน่ าจะเป็ น
“จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspot)” ซึ่งเกิดจากสนามแม่เหล็กของดวง
อาทิตย์เอง
- เป็ นบริเวณที่มีอุณหภ้มิต่ ำากว่าบริเวณรอบขูาง 1,000 เคลวิน
ทำาใหูเห็นเป็ นสีท่ีมืดกว่า (สีน้ ำาตาลเขูม)
- จุดบนดวงอาทิตย์ถึงจะมีอุณหภ้มิต่ ำากว่าบริเวณรอบขูาง แต่ก็ยัง
สามารถหลอมละลายเหล็กไดู บางจุดจะมีขนาดใหญ่มาก (ขนาดใกลู
เคียงหรือใหญ่กว่าโลก) จุดขนาดใหญ่อาจคงอย่้ไดูถึง 2 สัปดาห์หรือ
มากกว่า
- จำานวนจุดบนดวงอาทิตย์จะมีจำานวนไม่คงที่ ซึ่งแต่ละรอบของการ
ปรากฏจุดฯมากที่สุดและนูอยที่สุดจะมีระยะเวลา 11 ปี
2. เปลวสุริยะ (Prominence)
- คือการระเบิดบนดวงอาทิตย์ท่ีทำาใหูมวลสารกระเด็นขึ้นมาส้งมาก
จากผิวดวงอาทิตย์
- จะเกิดบริเวณที่มีเสูนแรงแม่เหล็กพุ่งขึ้นมาเหนื อผิวดวงอาทิตย์
มวลสารที่มีประจุ(พลาสมา)จึงพุ่งขึ้นตามเสูนแรงแม่เหล็กและขึ้นมา
จนถึงบรรยากาศชั้นโครโมสเฟี ยหรือโคโรนา
- บางส่วนพุ่งออกมาและตกลงไปเพราะแรงโนูมถ่วงของดวงอาทิตย์
แต่มวลสารบางส่วนพุ่งดูวยความเร็วส้งกว่าความเร็วหลุดพูนของดวง
อาทิตย์(618 กิโลเมตร/วินาที) และหลุดออกไปจากดวงอาทิตย์กลาย
เป็ นพลาสมาที่เคลื่อนที่ไปในอวกาศ(ลมสุริยะ)
- เปลวสุริยะส่วนใหญ่จะมีความส้งอย่้ท่ีระดับ 10,000-100,000
กิโลเมตรจากผิวดวงอาทิตย์ (สถิติส้งสุดที่เคยบันทึกไวู คือ
588,000 กิโลเมตร)
3. ลมสุริยะ
- คือ อนุภาคพลังงานส้งที่เคลื่อนที่ไปในอวกาศ
- ลมสุริยะจะแผ่ออกมาจากดวงอาทิตย์อย่้ตลอดเวลา มากหรือนูอย
ขึ้นอย่้กับความแปรปรวนและการระเบิดที่ดวงอาทิตย์

2
ใบความรู้ วิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ
เรื่อง ดวงอาทิตย์

- ลมสุริยะมีอุณหภ้มส
ิ ้งมาก ประมาณ 1,000,000-2,000,000 เคล
วิน แต่ในสภาวะปรกติจะเบาบางมากจึงไม่เป็ นอันตรายต่อยาน
อวกาศที่ส่งออกไปนอกโลก

ข้อมูลจำาเพาะของดวงอาทิตย์
สมบัติทางกายภาพต่างๆ (ค่าจากแบบจำาลองทาง
คณิ ตศาสตร์)
- ความดันที่ศ้นย์กลาง (บาร์) : 2.477×1011 (ความดันที่ผิวโลก
ประมาณ 1.014 บาร์)
- อุณหภ้มิท่ีศ้นย์กลาง (เคลวิน) : 2.477×107
- ความหนาแน่ นที่ศ้นย์กลาง (กิโลกรัม/เมตร) : 1.622×105
ค่าทีว
่ ัดได้จากการสังเกต
- ระยะห่างจากโลกเฉลี่ย (กิโลเมตร) : 149.6×106
- ระยะห่างจากโลกนูอยที่สุด (กิโลเมตร) : 147.1×106
- ระยะห่างจากโลกมากที่สุด (กิโลเมตร) : 152.1×106
- ระยะห่างจากกาแล็กซี่ทางชูางเผือก : 30,000 ปี แสง
สมบัติของพื้นผิวและบรรยากาศ
- ความดันของก๊าซที่ผิวดวงอาทิตย์ (มิลลิบาร์) : 0.868
- อุณหภ้มิท่ีผิว (เคลวิน) : 5,778
- อุณหภ้มิท่ีส่วนล่างของบรรยากาศชั้นโฟโทสเฟี ยร์ (เคลวิน) :
6,600
- อุณหภ้มิท่ีส่วนบนของบรรยากาศชั้นโฟโทสเฟี ยร์ (เคลวิน) : 4,400
- อุณหภ้มิท่ีส่วนล่างของบรรยากาศชั้นโครโมสเฟี ยร์ (เคลวิน) :

3
ใบความรู้ วิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ
เรื่อง ดวงอาทิตย์

ประมาณ 30,000
- ความหนาแน่ นของบรรยากาศชั้นโฟโทสเฟี ยร์ (กิโลเมตร) :
ประมาณ 400
- ความหนาแน่ นของบรรยากาศชั้นโครโมสเฟี ยร์ (กิโลเมตร) :
2,500
ธาตุองค์ประกอบของบรรยากาศ (สำาหรับชัน
้ โฟโทสเฟี ยร์)
- องค์ประกอบหลัก : ไฮโดรเจน 90.965 %, ฮีเลียม 8.889 %
- องค์ประกอบย่อย (ส่วนในลูานส่วน ; ppm) : ออกซิเจน 774,
คาร์บอน 330, นี ออน 112, ไนโตรเจร 102, เหล็ก 43,
แมกนี เซียม 35, ซิลค
ิ อน 32,
กำามะถัน 15

Vous aimerez peut-être aussi