Vous êtes sur la page 1sur 25

Case : 6

Metabolic Acidosis : Diabetic Ketoacidosis

LOGO
 Member

LOGO

1. นางสาว สุ วรี า คล้ายวัตร 51461114


2. นาย หฤษฏ์ วนะเกียรติกลุ 51461121
3. นาย อานนท์ จาลองกุล 51461138
4. นาย อกนิษฐ์ พันธุรัตน์ 52480442

YOUR SITE HERE


 Case : 6

LOGO

ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 21 ปี , Diabetes mellitus Type I


ควบคุมโรคโดยใช้ insulin
กระหายนา้ บ่ อย , ปัสสาวะบ่ อยทั้งกลางวันและกลางคืน
รับประทานอาหารได้ มากแต่ มีนา้ หนักตัวลดลง
ก่ อนถูกส่ งเข้ ามารักษาลืมฉีด insulin ทีเ่ วลา 5.00 น.
7.00 น. มีอาการอึดอัด หัวใจเต้ นเร็ว หมดสติ จึงถูกส่ งเข้ ามารับการรักษา

YOUR SITE HERE


 ผลตรวจทางห้ องปฏิบัติการ

LOGO

 BP = 90/40 mmHg(ท่ านอน) , 75/45 mmHg(ท่ ายืน)


 Pulse rate 130/min
 RR = 32/min , deep and rapid
 Plasma concentration
Glucose = 560 mg/dl (normal fasting,70 - 110 mg/dL)
Na+ = 130 mEq/L (normal, 135 - 140 mEq/L)
K+ = 5.8 mEq/L (normal, 3.5 - 4.5 mEq/L)
Cl- = 96 mEq/L (normal, 90 - 105 mEq/L)
Ketone = ++ (normal, none)
YOUR SITE HERE
 ผลตรวจทางห้ องปฏิบัติการ

LOGO

Arterial Blood
PO2 = 112 mmHg (normal, 100 mmHg)
PCO2 = 20 mmHg (normal, 40 mmHg)
pH = 7.22 (normal, 7.4)
Urine glucose = 4+ (normal, none)
Urine ketone = 2+ (normal, none)
Urine Na+ = 120 mEq/L (increase)

YOUR SITE HERE


 คาถามส่ วนที่ 1 ข้ อที่ 1

LOGO

1. อธิบายกลไกการกรอง การดูดกลับ การขับออก


(filtration , reabsorption , excretion ) ของ Glucose
โดยใช้ Glucose titration Curve มาอธิบาย

YOUR SITE HERE


 filtration

LOGO

 ไตกรองสารออกจาก plasma โดยขึ้นกับขนาด particle


 กลูโคสเป็ นสารที่มีขนาดเล็ก
จึงถูกกรองจาก plasma ได้ท้ งั หมดคิดเป็ น100 %

YOUR SITE HERE


 reabsorption

LOGO

YOUR SITE HERE


 Excretion

LOGO

YOUR SITE HERE


 คาถามส่ วนที่ 1 ข้ อที่ 2

LOGO

2. เมื่อเริ่ มได้รับยาฉี ด insulin แล้วทาให้ระดับน้ าตาลใน


ปั สสาวะลดลง กลไกเกิดขึ้นได้อย่างไร

YOUR SITE HERE


 Insulin

LOGO

Insulin เป็ นฮอร์โมนที่สาคัญในการควบคุมปริ มาณ glucose


ในกระแสเลือด
 Increase Peripheral glucose uptake

 Decrease gluconeogenesis

 Stimulate glycogen synthesis and peripheral fat deposition

YOUR SITE HERE


 Insulin

LOGO

YOUR SITE HERE


 Insulin

LOGO

YOUR SITE HERE


 คาถามส่ วนที่ 1 ข้ อที่ 3

LOGO

3. ทาไมจ่อยถึงปั สสาวะบ่อย และพบ Na+ ในปั สสาวะเพิ่มขึ้น

YOUR SITE HERE


 ปัสสาวะบ่ อย
LOGO

 ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน จะมีกลูโคสในพลาสมามากเกินกว่ าปกติ


ทาให้ กลูโคสถูกกรองออกมามาก จนเกินความสามารถสู งสุ ดในการดูด
กลับกลูโคสทีท่ ่ อไตส่ วน proximal tubule

นั่นก็คอื มี filtered load ของกลูโคสมากเกินค่ าของ T mG จึงทาให้


ร่ างกายมีการขับกลูโคสทีเ่ หลือออกมากับปัสสาวะ ทาให้ มกี ารดึงนา้
ตามออกมาด้ วย ผู้ป่วยเบาหวานจึงมีปัสสาวะมาก ทาให้ ปัสสาวะบ่ อย

YOUR SITE HERE


 พบ Na+ ในปัสสาวะ
LOGO

 ผู้ป่วยทีเ่ ป็ นโรคเบาหวาน จะทาให้ Na+ – K+ – ATPase ทีท่ าหน้ าที่


ในการนาNa+ออกจากเซลล์ท่อไต ทางานผิดปกติ ทาให้ มี Na+ คัง่ ค้ างอยู่
ในเซลล์ของท่ อไตมาก

ทาให้ ผ้ ปู ่ วยพบ Na+ ในปัสสาวะเพิม่ มากขึน้ ซึ่งเป็ นสาเหตุหนึ่งทีท่ าให้ มี


การเสี ยนา้ จากร่ างกายไปพร้ อมกับ Na+

YOUR SITE HERE


 คาถามส่ วนที่ 1 ข้ อที่ 4

LOGO

4. ทาไมจ่อยถึงกระหายน้ าบ่อย และดื่มน้ าเป็ นจานวนมาก

YOUR SITE HERE


 การกระหายนา้ (thirst)

LOGO

• ความเข มข นของเลือดที่เพิ่มขึ้น (hypertonicity)

• ศูนย ควบคุมการกระหายน้ า (thirst center)

• สมองส วน hypothalamus

• ตัวรับรู ในช องปาก (oropharygeal receptors) และตัวรับ


รู ในระบบทางเดินอาหารส วนบน (uppergastrointestinal
receptors)
YOUR SITE HERE
 การกระหายนา้ (thirst)

LOGO

YOUR SITE HERE


 การกระหายนา้ (thirst)

LOGO

YOUR SITE HERE


 คาถามส่ วนที่ 1 ข้ อที่ 5

LOGO

5. ทาไมความดันเลือดของจ่อยจึงต่ากว่าปกติ
และ มีค่าลดลงเมื่อวัดในท่ายืน

YOUR SITE HERE


 orthostatic hypotension

LOGO

• ผูป้ ่ วยมีภาวะขาดน้ ารุ นแรง


(หมดสติ , decrease skin tugor , ตาโบ๋ , ปากแห้ง)

• ผลจากการสุ ญเสี ยน้ าและ Na+ ซึ่ งเป็ น electrolyte ที่สาคัญใน


CSF ทาให้ plasma volume ค่าลดลงโดยเฉพาะเวลาเปลี่ยนจาก
ท่านอนมาเป็ นท่ายืน ซึ่ งจะทาให้เลือดไหลกลับเข้าสู่ หวั ใจได้
น้อยลง ความดันเลือดขณะยืน จึงต่ากว่าท่านอน

YOUR SITE HERE


 คาถามส่ วนที่ 1 ข้ อที่ 6

LOGO

6.ทาไมอัตราการเต้นของหัวใจ (pulse rate) เพิ่มขึ้น

YOUR SITE HERE


 Baroreceptor Reflex

LOGO

YOUR SITE HERE


Thank You
Metabolic Acidosis : Diabetic Ketoacidosis

LOGO

Vous aimerez peut-être aussi