Vous êtes sur la page 1sur 5

ตั้งแตป พ.ศ.

2523 อุตสาหกรรมยาไดถูกจัดอันดับเปนกลุมธุรกิจที่ทํากําไรสูงสุดในสหรัฐฯอยางตอเนื่อง มีหลายเหตุ การณ


ที่ทําใหอุตสาหกรรมยาประสบความสําเร็จอยางยิ่งใหญและรวดเร็ว โดยไมไดเกี่ยวของกับคุณภาพยา ปจจัยพื้นฐานที่สําคัญที่สุดมา
จากนโยบายของรัฐบาลเรแกน ซึ่งทําใหทัศนคติของสังคมเรื่องความมั่งคั่งเปลี่ยนแปลงไป โดย รัฐสภาออกกฎหมายพระราชบัญญัติ
เบยหโดล เปดโอกาสใหมหาวิทยาลัยและธุรกิจขนาดเล็กสามารถจดสิทธิบัตรงานคนพบจากการวิจัยที่ไดรับทุนสนับสนุนจาก
สถาบันสุขภาพแหงชาติจากเงินภาษีของประชาชน และสามารถมอบสิทธิผูกขาดใหบริษทั ยาได ทําใหนักวิจัยแสวงหาประโยชน
ใหกับพวกเขาเอง โดยหวังผลประโยชนกอนโตจากบริษัทยาที่จะสามารถนํายาใหมออกสูทองตลาด ทั้งที่ในอดีตทุนวิจัยจากภาษี
อากรเปนสมบัติสาธารณะ โดยอยางนอยหนึ่งในสามของยาที่ออกสูตลาดโดยบริษัทยาใหญๆในปจจุบันไดรับสิทธิการทําตลาดมา
จากมหาวิทยาลัยหรือบริษัทเทคโนโลยีขนาดเล็ก ไมไดเกิดจากการวิจัยโดยบริษัทยาเอง ผลที่เกิดขึ้นคือการเติบโตของอคติที่
เขาขางภาคอุตสาหกรรมในการวิจัยทางการแพทย โรงเรียนแพทยทุมเททรัพยากรมากขึ้น เพื่อแสวงหาโอกาสทางธุรกิจ ในป พ.ศ.
2527 บัญญัติแฮทซ-แว็กซแมน ขยายสิทธิผูกขาดใหแกยาตนตํารับ ทําใหยาตนตํารับหมดสิทธิบัตรชาลง บริษัทยาสามารถทําทุก
อยางเพื่อปกปองสิทธิผูกขาดทางการตลาด ทําใหยอดขายของบริษัทยาเพิ่มขึ้นจํานวนมาก อุตสาหกรรมยาจึงมีอํานาจครอบงําทาง
การเมือง สามารถเปลี่ยนแปลงการบริหารงานภายในสํานักงานอาหารและยาได นอกจากนี้พบวารายจายกอนโตของบริษัทยาไมใช
เพื่อการวิจัยและพัฒนา แตเปนเพื่อการตลาดและการบริหาร อยางไรก็ตามบริษัทยาก็ประสบปญหาเชนกัน ไดแก ยาชื่อสามัญที่
ขายไดในราคาถูกกวายาตนตํารับมาก, ยาตางประเทศขายในราคาตํากวายาของสหรัฐฯมาก ทําใหมีการนําเขายาจากตางประเทศ
มาก ฯลฯ
การสรางยาใหมขึ้นมานั้นประกอบดวย 2 สวนดวยกัน คือ
1. การเรียนรูโรค เปนขั้นตอนที่ใชเวลามากที่สุด จะคนพบยาใหมไดนอยที่สุดในกระบวนการวิจัยและพัฒนายา มักทําใน
มหาวิทยาลัยหรือหองปฏิบัติการวิจัยฝายรัฐตองเขาใจโรคไดดี และสามารถนํามาใชบรรเทาและรักษาโรคใหหาย ขั้นตอนนี้ยากและ
ใชเวลามากที่สุดในการพัฒนายา และบริษัทยามีบทบาทนอยมากในขั้นตอนนี้
2. การพัฒนายาโดยการคนหาและสังเคราะหโมเลกุลยาที่สามารถนํามาใชไดอยางปลอดภัย แบงเปน 2 ระยะ
2.1 ระยะกอนการวิจัยในคน ตัวยาที่นาสนใจสวนนอยเทานั้นที่สามารถผานการทดสอบในระยะนี้
2.2 ระยะวิจัยในคน เปนขั้นตอนที่สรางสรรคนอยที่สุด ซึ่งบริษัทยามีบทบาทมากในชวงนี้ เนื่องบริษัทยาตองการ
อาสาสมัครจํานวนมาก การรอแพทยคัดเลือกอาสาสมัครอยางเดียวจึงไมเพียงพอ ทําใหมีการใชบริการบริษัทรับทําวิจัยที่กอตั้งขึ้น
เปนองคกรวิจัยตามสัญญา สรางเปนเครือขายแพทย แพทยมีรายไดอยางสูงตามจํานวนผูปวย ทําใหเลือกบุคคลที่คุณสมบัติไมได
เขาเปนอาสาสมัคร ไดผลการวิจัยที่ไมถูกตองสมบูรณได
ยานั้นเปนปจจัยสี่ที่มนุษยตองการ บริษัทยาสรางรายไดไดอยางมากมายมหาศาล โดยบริษัทยาสรางรายไดบนความ
เดือดรอนของผูปวย ทั้งที่สามารถจะชวยลดราคายาลงไดเพื่อใหผูปวยไดเขาถึงยา พยายามเขาแทรกแซงหนวยงานของรัฐและ
เอกชน เพื่อสรางรายไดใหกับตนเองเพิ่มขึ้นจากเดิมที่สูงอยูแลวดังคนที่ไมรูจักพอ ในเมื่อบริษัทยามีรายไดมากมายมหาศาลควรทํา
ประโยชนใหกับมวลมนุษยชาติไดเปนการตอบแทน หากไมตองการลดราคายาลง แตบริษัทยากลับไมคิดอยางนั้นกลับมุงหา
ประโยชนเพื่อตนเอง เปนเรื่องที่นาเสียใจอยางยิ่งหากคนทุกคนคิดวาตองการเงินมากมายจากความเดือดรอนของผูอื่น แลวเราจะ
อยูกันบนโลกนี้ไดอยางไรหากไมมีความเอื้ออาทรตอกันและกัน
บริษัทยาใชขออางที่วา คาใชจายในการวิจัยและพัฒนายาสูงมาก ถาลดราคายาลงก็จะลดตนทุนการวิจัย-พัฒนา ถาตองการ
ใหมียารักษาชีวิตใช จําเปนตองยอมรับคาใชจายดังกลาว นํามาสูคําถามที่วา คาใชจายที่แทจริงของการวิจัยยาใหมแตละตัวที่ออกสู
ตลาดเปนเทาไร? ซึ่งบริษัทยาไมยอมเปดเผยขอมูลที่จําเปน ทําใหไมทราบวามีกิจกรรมรายจายอะไรบางที่นับรวมอยูใน ”การวิจัย
และพัฒนา” การวิจัยและพัฒนาจึงเปรียบเสมือนความลับในกลองดํา ไมมีความโปรงใส โดยคาใชจายที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาทาง
คลินิกระยะที่สี่ ซึ่งเปนระยะที่ยาไดออกสูตลาดแลว
สมาคมผูผลิตและวิจัยยาของอเมริกาไดรายงานคาใชจายการวิจัยและพัฒนายาของบริษัทที่เปนสมาชิกของสมาคมทั้งหมด
เปนเงิน 3 หมื่นลานเหรียญสหรัฐ ในขณะที่คาใชจายดานการตลาดสูงเปนสองเทาของการวิจัย ทําใหแตละบริษัทมีกําไรมหาศาล จึง
เปนไปไมไดที่วา ลดราคายาแลวบริษัทจะลดคาใชจายการวิจัย เพราะบริษัทอาจลดคาใชจายดานอื่นลง เพื่อคงกําไรสูงเทาเดิม ซึ่ง
บริษัทจะทําทุกวิถีทางเพื่อเพิ่มกําไร ทําเพื่อนักลงทุน แตไมใชเพื่อประโยชนสาธารณะ
ผูปวยตองจายคายาที่จําเปนพันเหรียญตอป สาธารณชนก็ยอมมีสิทธิรูวาราคายานั้นมีโครงสรางราคาเปนอยางไร เงินที่ได
จากการขายยาไปทําอะไรบาง ซึ่งเรารูเพียงวาสวนใหญเปนกําไรและคาการตลาด สาธารณะชนควรมีสิทธิที่จะรูรายละเอียดรายจาย
การวิจัย อุตสาหกรรมยาก็กลาวอางตอบวา ราคายาจําเปนตองสูงเพื่อเปน รางวัลในการคิดคนนวัตกรรม ซึ่งในความหมายปกติ ยา
ที่จะเรียกไดวาเปนนวัตกรรมจะตองเปนทั้งสารโมกุลใหม และมีประโยชนใดๆเหนือกวายาในตลาดที่รักษาอาการเดียวกัน เมื่อ
พิจารณายาที่ออกสูตลาดในชวง พ.ศ 2541 ถึง พ.ศ 2545 มียาอนุมัติใหมทั้งหมด 415 รายการ พบวามียานวัตกรรมใหมที่ไดรับ
อนุมัติมีเพียง 16,19, 9 รายการที่ไดรับการอนุมัติในป 2541, 2542 และ 2543 ตามลําดับ ในปพ.ศ 2544 และ พ.ศ 2545 มียา
นวัตกรรมใหมที่ไดรับอนุมัติเพียง 7 รายการ จึงเกิดคําถามวา จํานวนเงินหมื่นลานเหรียญที่บริษัทยายักษใหญแสดงตอสาธารณะวา
นําไปใชในการวิจัยและพัฒนานั้นคุมคาและเปนความจริงหรือไม?
และยิ่งกวานั้น ยาที่ออกสูตลาดแทบทุกตัวเปนการวิจัยที่ไดรับการสนับสนุนจากรัฐ นั่นคือ บริษัทยายักษใหญพึ่งพาอาศัย
งานวิจัยที่ไดรับทุนจากสาธารณะตั้งแตป 2523 และไดรับสิทธิผูกขาด วางตลาด และจดสิทธิบัตรเพิ่มเติมสรรพคุณ ซึ่งบริษัท ยา
ยักษใหญไมอยากใหขอมูลเหลานี้เปดเผยสูสาธารณะอยางไมมีความละอาย ตัวอยางที่สําคัญของงานวิจัยที่ใชเงิน ภาษีประชาชน
แสวงหาผลประโยชน เชน Paclitaxel (Taxol®), Epogen® และ Gleevec® นอกจากนีก้ ารตั้งราคายาที่ไมเหมาะสม ใน พ.ศ 2531
สถาบันสุขภาพแหงชาติ ไดยกเลิกนโยบายเกี่ยวกับราคาที่สมเหตุผล บริษัทยาตางๆยังสามารถกําหนดราคายาตางๆตามใจชอบ
และบริษัทยาสวนใหญในปจจุบันตั้งหนวยปฏิบัติการงานวิจัยและพัฒนาขึ้นใกลๆ มหาวิทยาลัยและศูนยการแพทยที่มีงานวิจัย
สําคัญๆ และตระเวนไปตามบริษัทเล็กๆทั่วโลก เพื่อซื้อผลงานวิจัยดานยามาขึ้นทะเบียน
ในชวง 5 ป ระหวางป พ.ศ. 2541 ถึงป พ.ศ. 2545 สํานักงานอาหารและยาแหงสหรัฐฯไดอนุมัติท ะเบียนยาใหม 415
รายการ มีเพียงรอยละ 14 เทานั้นที่เปนการคิดคน ใหมจริง อีกรอยละ 9 เปนยาเกาที่เปลี่ยนแปลงในดานตางๆ ทําใหสํานักงาน
อาหารและยาเห็นวาการเปลี่ยนแปลงนั้นมีนัยสําคัญ อีกรอยละ 77 เปนยาตอทายทั้งหมด โดยยานั้นไมไดดีไปกวายาที่วางตลาดอยู
กอนแลวในการรักษาภาวะเดียวกัน การลอกเลียนลักษณะนี้เกิดขึ้นได เพราะกฎหมายมีจุดออนที่สําคัญ ที่ระบุเพียงวา บริษัทยา
จะตองแสดงใหสํานักงานอาหารและยาเห็นวายาใหมนั้นมี “ประสิทธิผล” ไมตองแสดงใหเห็นวายาใหมของตน “มีประสิทธิผลดีกวา”
(หรือแมแตมีประสิทธิผลเทากับ) ยาในทองตลาดที่ใชประโยชนในสภาวะเดียวกัน เพียงแตแสดงวายานั้นดีกวาเมื่อเทียบกับไมไดใช
ยาอะไรเลย สรุปคือ สํานักงานอาหารและยาไมไดอนุมัติเพียงยาใหม แตอนุมัติสรรพคุณและขนาดการใชที่แตกตางกวาเดิมดวย
บางครั้งเปนเรื่องงายมากที่จะยืดอายุยายอดนิยมที่มีสิทธิบัตรใกลจะหมดอายุลง ดวยการผลิตยาที่เหมือนเดิมทุกประการ
และพยายามหันเหความนิยมของผูบริโภคไปที่ผลิตภัณฑใหมนั้น ยานั้นเพียงแตมีความแตกตางมากพอที่จะเขาเกณฑสําหรับ
®
สิทธิบัตรใหมได ขอยกกรณียา Nexium (Esomeprazole) ที่บริษัทไดยื่นขอสิทธิบัตรใหมที่มีเฉพาะตัวที่มีฤทธิ์ของไพรโลเซค ซึ่ง
เปนสวนผสมระหวางสารเคมีเดียวกันที่มีฤทธิ์กับไมมีฤทธิ์ เรียนวา “ไอโซเมอรส” ของโมเลกุล Omeprazole มาแทนที่ตลาดของ
ไพรโลเซค เปนตน
การทําใหยาเขาสูธุรกิจ “ตอ -ทาย” ขึ้นอยูกับหลายเงื่อนไข ประการแรก ตลาดตองกวางใหญพอที่จะรองรับยาตางๆที่เขา
แขงขัน เปาหมายจึงมักเปนโรคเรื้อรัง ประการที่ 2 ตลาดนั้นจะตองประกอบดวยลูกคาที่จายเงินได ประการที่ 3 ตลาดนั้นจะตอง
ยืดหยุนสูงดวย เพื่อที่จะขยายออกได เชน การเปลี่ยนนิยายของภาวะความดันโลหิตสูงใหม เปนตน
บางคนอาจเชื่อวายาที่แพทยสั่งจายนั้นเปนยาที่ดี เนื่องจากแพทยไดเรียนรูจ ากประสบการณการรักษา แตบางครั้งก็ไมใช
สิ่งถูกตองเสมอไป เพราะฉะนั้นสํานักงานอาหารและยาจึงไดมีการกําหนดใหทําการทดลองทางคลินิกในกลุมประชากรที่มากพอ
ภายใตการควบคุม เพื่อใหทราบวายาดังกลาวใหนั้นผลดีหรือไม ปญหาที่เกิดขึ้นจึงขึ้นอยูกับวาการทดลองเหลานั้นนาเชื่อถือ
เพียงใด ปจจุบันบริษัทยาไดเขาไปยุงเกี่ยวกับทุกขั้นตอนของงานวิจัย ตั้งแตการเริ่มตนการออกแบบการศึกษา เก็บรักษาขอมูล
วิเคราะหขอมูล จนกระทั่งการตัดสินใจวาจะตีพิมพผลงานวิจัยดังกลาวหรือไม และในบางการทดลองที่มีหลายศูนยการทดลอง
บริษัทก็อาจไมปลอยใหนักวิจัยไดเห็นขอมูลทั้งหมด ดังนั้นจึงสงผลใหการวิเคราะหผลการทดลองที่ไดอาจผิดไปจากความเปนจริง
และโดยมากบริษัทยามักทําการเปรียบเทียบยาของตนกับการใชยาหลอก ทําใหผลที่ไดดูมีประสิทธิภาพดี แตจะไมมีการ
เปรียบเทียบกับยาเดิมที่มีประสิทธิภาพดีอยูแลว เพื่อดูวายาของตนมีประสิทธิภาพที่ดีกวาหรือไม เนนไปในทางการโปรโมททาง
การตลาดใหยาของตนนั้นเปนที่รูจักและติดตลาดมากขึ้น นอกจากนี้ก็ยังมีการแบงผลประโยชนใหแกผูทําการทดลองวิจัย ไมวาจะ
เปนในรูปแบบของตัวเงิน หรืองการใหถือหุน เพื่อใหชวยสรุปผลการวิจัยเขาขางวา ยาของบริษัทตนมีประสิทธิภาพในการรักษาสูง
การสํารวจเมื่อเร็วๆนี้พบวา งานวิจัยที่สนับสนุนโดยภาคอุตสาหกรรมมีแนวโนมที่จะเอื้อประโยชนตอผลิตภัณฑของบริษัทมากกวา
งานวิจัยที่สนับสนุนโดยสถาบันสุขภาพแหงชาติถึงเกือบ 4 เทา ผลการทดลองที่ไดอาจมีการบิดเบือนไปจากความเปนจริงได
เนื่องจากแพทยคือผูเ ขียนใบสั่งยา หากบริษัทยาสามารถเขาถึงแพทยโดยการชักจูงโดยตรง ยอมดีกวาชักจูงทางออมผาน
ผูปวย ป 2544 ธุรกิจยาไดวาจางผูแทนยาประมาณ 88,000 คน เขาพบแพทยในโรงพยาบาลและคลินิกเพื่อสงเสริมการขายยา โดย
มักจะเปนคนหนุมสาวหนาตาดี และพูดจาประจบเอาใจเกง ทําหนาที่เดินทางไปตามโรงพยาบาลเกือบทุกขนาดในประเทศ เพื่อหา
โอกาสพูดคุยกับบุคลากรทางการแพทยพรอมปูทาดวยของขวัญตางๆ และโฆษณาตรงถึงแพทย โดยเสนอขายแกแพทยในสถาน
ประกอบการ ใหตัวอยางยาฟรีแกแพทย โฆษณาในวารสารทางการแพทย รวมถึงโฆษณาผลิตภัณฑยาลาสุดทางสื่อวิทยุโทรทัศน
ไมเพีย งแตเพิ่มยอดขาดใหกับยาที่ทําการโฆษณาเทานั้น แตยังชวยเพิ่มยอดขายใหกับกลุมยาประเภทนั้นทัง้ หมดดวย แพทย
เหลานี้ยอมรูสึกเปนหนี้บุญคุณตอผูที่มอบของขวัญใหเปนธรรมดา ผูแทนจึงไดรับอนุญาตใหเขารวมประชุมวิชาการแพทย อาจ
ไดรับเชิญใหเขาไปในหองผาตัดและหองรักษาผูปวย ซึ่งการเขาหาแพทยในสถานที่ทําการมีคาตอธุรกิจยาและตอแพทยเชนกัน เปน
ความสัมพันธที่พึ่งพาซึ่งกันและกัน แพทยมีความคาดหวังที่จะไดรับขอมูลยาตัวใหมลาสุด และยาตัวอยางฟรี เมื่อป พ.ศ. 2543
สมาคมแพทยอเมริกันไดกําหนดแนวทางปฏิบัติเพื่อควบคุมพฤติกรรมดังกลาว
พิจารณาโดยละเอียดแลว การสงเสริมการขายแทจริงแลว คือการติดสินบนและการใหประโยชนในทางมิชอบ เปน เรื่องผิด
กฎหมาย แตมีไมเพีย งกี่คดีเทานั้นที่ถูกฟองรอง หนึ่งในนั้นคือ คดีของบริษัทยาทีเอพีฟารมาซูติคัลส ซึ่งผลิตยารักษาโรคมะเร็ งตอม
ลูกหมากชื่อ “ลูพรอน” ในป พ.ศ. 2533 มียาคูแขงคือ “โซลาเด็กซ” เกิดขึ้น และขายในราคาถูกกวา เพื่อใหแพทยยังคงยึดมั่น กับ
ยาลูพรอน บริษัททีเอพีฟารมาซูติคัลสจึงประกาศขึ้นราคาขายสงแลวขายใหแพทยในราคาถูกลงเพื่อใหแพทยไดรับสวนตาง ในป
พ.ศ. 2539 บริษัทจึงพยายามชักชวน Tufts Health Plan ใหยึดมั่นอยูกับยาลูพรอน โดยเสนอเงินใหแกผูอํานวยการฝาย
เภสัชกรรมเพื่อสนับสนุนงานดานการศึกษา ซึ่งสามารถใชจายเงินจํานวนนี้ในกิจกรรมใดๆก็ไดตามตองการ แตบริษัทยาเลือก
เปาหมายผิด ผูอํานวยการฝายเภสัชกรรมไมยอมรับสินบนพรอมทั้งบันทึกเทปไวเปนหลักฐานและทําการฟองรองบริษัทดังกลาว
บริษัทยายังพยายามหลีกเลี่ยงกฎหมายที่หามโฆษณาสรรพคุณ ที่ไมไดรับอนุมัติจากสํานักงานอาหารและยา โดยโนมนาว
ใหแพทยสั่งใชยาในสรรพคุณนอกฉลากยา เนื่องจากกฎหมายดังกลาวไมไดบังคับใชกับแพทย นอกจากนี้บริษัทยายังพยายาม
หลีกเลี่ยงกฎหมายทีห่ ามการใหสินบนแกแพทย โดยเขามาเปนผูสนับสนุนการอบรมวิชาการของแพทย สอดแทรกการตลาดแฝง
เขาไป หรือขอใหแพทยมาเปนที่ปรึกษา ขอคําแนะนําเล็กๆนอยๆ แลวตอบแทนดวยที่พักหรูหรา แจกของ หรือเลี้ยงรับรองอยางดี
เพื่อใหแพทยเกิดความรูสึกเปนหนี้บุญคุณ และผูกพันกับบริษัท
ในดานผูปวย บางบริษัทไดทําสถานีโทรทัศนสําหรับผูปวยที่เต็มไปดวยการโฆษณาขายยาออกฉายในโรงพยาบาล ทําให
ผูปวยกังวลวาตนเปนโรคหรือเปลา ทั้งที่ผูปวยควรไดรับความรูเฉพาะเรื่องตามที่จําเปนตอตัวเองเทานั้น อีกรูปแบบหนึ่งของ
การตลาดที่เสมือนใหความรูคือ การสนับสนุนใหกับกลุมกระบอกเสียงของผูปวย หลายกลุมเปนเพียงดานหนาใหกับบริษัทยา
ประชาชนผูทุกขทรมานจากบางโรค เชื่อวาตนไดพบกับเครือขายสนับสนุนที่เสียสละอุทิศตนทํางาน กระตุนใหเกิดความใสใจตอโรค
ใหกวางขวางขึ้น แตในความเปนจริง เปนวิธีการหนึ่งที่บริษัทยาใชในการสงเสริมการขายของตน เชน การรวมกลุมรณรงคเกี่ยวกับ
โรคตับอักเสบซี ในสหรัฐฯ หนังสือพิมพเดอะวอชิงตันโพสตระบุวาผูเริ่มจัดตั้งการเคลื่อนไหวของกลุม คือ บริษัทเชอริ่ง-พลาว ซึ่ง
เปนผูผลิตยาเรเบทรอน ยาพื้นฐานในการรักษาตับอักเสบซี
เมื่อบริษัทยาผลิตยาชนิดหนึ่ง และไดรับอนุมัติจากสํานักงานอาหารและยาใหจําหนายเพื่อใชประโยชนในขอบเขตที่จํากัด
มาก บริษัทยาจึงมีวิธีการทําใหยอดขายของผลิตภัณฑนั้นสูงขึ้น โดยมีการทําอยู 2 วิธี คือ 1. ดําเนินการวิจัยทางคลินิกเพื่อทดสอบ
ยานั้นในโรคอื่นๆ ถาพบวายานั้นมีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ก็สามารถขออนุมัติสรรพคุณในโรคหรืออาการอื่นเพิ่มเติมได
2. ทําการตลาดในสรรพคุณที่ไมไดรับการอนุมัติ ซึ่งผิดกฎหมาย แตวาบริษัทยาเลี่ยงไดโดยการทําวิจัยที่ต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน
จากนั้นก็ใหความรูแกแพทย เนื่องจากถือวาไมไดเปนการทําการตลาดในสรรพคุณที่ไมไดรับอนุญาต แตเปนแคเพียงการเผยแพร
ผลงานวิจัยแกแพทยเทานั้น ตัวอยางเชน ยานิวรอนติน ซึ่งไดรับการอนุมัติดวยสรรพคุณที่แคบมาก บริษัทยาตองการขยายตลาด
แตถาทําตามวิธีที่หนึ่งเกรงวาจะไมมีเวลาเพียงพอ เนื่องจากยาใกลจะหมดอายุ สิทธิบัตร จึงเลือกที่จะทํางานวิจัยเล็กๆ และ
จัดเตรียมรายงานเพื่อใหลงตีในวารสารวิชาการตางๆ โดยการขอชื่อนักวิชาการมาลงเปนชื่อผูเขียน แลวใหเงินเปนคาตอบแทนแก
นักวิชาการเหลานั้น เพื่อหวังวาแพทยเห็นบทความเหลานี้ตีพิมพเปนจํานวนมาก แลวจะไดสั่งจายยาในสรรพคุณอื่นๆ ตามที่ระบุใน
วารสารทางวิชาการเหลานั้นเพิ่มมากขึ้น เชน อาการปวดในรูปแบบตางๆ หลังจากยาออกสูตลาดแลว จะตองทําการทดลองทาง
คลินิกระยะที่ 4 ดวย เพื่อประเมินวาประสิทธิภาพของยาในโรคอื่นที่อยูนอกเหนือสรรพคุณที่ขออนุมัติ และผลขางเคีย ง หรือ
คุณสมบัติอื่นๆของยาที่ไมพบในการทดลองกอนหนานี้ แตสวนใหญทําการทดลองเพื่อเพิ่มยอดขาย โดยบริษัทยาจะจาย
คาตอบแทนใหแกแพทยที่สั่งจายยาใหคนไขที่ตอบคําถามงายๆ และการศึกษานี้ไมมีกลุมเปรียบเทียบ ไมมีการสุมคนไข ขอสรุปที่
ไดจึงไมนาเชื่อถือ
ในปจจุบันยังเปนที่นากังวลวา เราหลายคนใชยาเปนจํานวนมากมายหลายชนิดในคราวเดียวกัน ซึ่งมักมีผลขางเคียงจาก
ยาแตละชนิดที่ใช และอาจจะมาประดังกันจนเกิดผลเสียได จากขอมูลดังกลาวนี้ จึงควรกลับมาคิดวา “การใชยาจํานวนมากนั้นเปน
ผลดีจริงหรือ” แตอยางไรก็ตาม ยายังเปนสิ่งที่จําเปน เพียงแตแพทยควรระวังการสั่งใชยา ควรใหเมื่อจําเปน และการตัดสินใจสั่งใช
ยานั้นจะตองตั้งอยูบนพื้นฐานการศึกษาวิจัยที่แทจริง ไมใชเพียงการตลาดเทานั้น
นอกจากเขาไปมีอิทธิพลตอการทํางานของแพทย, สถาบันวิจัย และสถาบันการศึกษา รวมถึงสรางอิทธิพลครอบงํา
ความคิดของประชาชนผูใชยา บริษัทยายังพยายามทําทุกอยางที่จะยืดชวงเวลาของสิทธิบัตรออกไป เพื่อสรา งอัตราการขายยาให
มากขึ้น นอกจากนี้ยังใชวิธียับยั้งบริษัทยาชื่อสามัญในการผลิตยาออกมาจําหนาย โดยอาศัยอํานาจการผูกขาดของสํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา เพื่อขยายเวลาการผูกขาดตลาดของยาตนเอง และสรา งผลกําไรมหาศาล ดวยกลวิธีดังตอไปนี้
1. เปลี่ยนแปลงปรับปรุงยาดวยวิธีการตางๆที่จะเพิ่มการการผูกขาดตลาดออกไปอีก 3 ป
2. ดําเนินการยื่นคําขอรับสิทธิบัตรหลายฉบับ ซึ่งจะมีโอกาสที่บริษัทยาสามัญจะทําการละเมิดสิทธิ์ได ทําใหสามารถขยาย
การผูกขาดตลาดออกไปอีก 30 เดือน
3. ทําการทดสอบยาทุกตัวในเด็ก จะสามารถผูกขาดตลาดไดอีก 6 เดือน
4. รวมมือกับบริษัทยาชื่อสามัญชะลอการออกสูตลาดของยาชื่อสามัญอื่นๆ
5. ทําใหไดสิทธิบัตรและทะเบียนยาใหม โดยมีการเปลี่ยนแปลงยาเพียงเล็กนอย และสงเสริมการขายวาเปนยาที่ไดมีการ
ปรับปรุงไปจากยาตนตํารับแลว
การที่บริษัทยาชื่อการคาไดทําทุกวิถีทางที่จะยืดเวลาการผูกขาดตลาดยาออกไปใหนานที่สุดพรอมทั้งผลักดันทุกอยางใหมี
การใชยาของตนมากขึ้น เพื่อที่จะหวังผลตอรายไดมหาศาลที่จะไดรับ เสมือนขูดรีดเอาผลประโยชนจากประชาชนโดยตรง ทั้งๆที่ใน
บางครั้งสามารถที่จ ะใชยาที่เปนยาชื่อสามัญแทนไดและยังมีราคาที่คอนขางถูกกวามาก สาเหตุที่บริษัทยาชื่อการคาสามารถที่จะ
ยืดเวลาการผูกขาดไดมากขึ้น เปนเพราะในการขึ้นบัญชีสิทธิบัต รในสมุดสมของคณะกรรมการอาหารและยาขาดการตรวจสอบอยาง
รัดกุม จึงควรมีการกวดขันการขึ้นทะเบียนสิทธิบัตรมากขึ้น นอกจากนี้พระราชบัญญัติแฮทช-แว็กซแมนยังมีชองโหว ที่จะทําให
บริษัทยาชื่อการคาสามารถฉวยประโยชนในการยืดเวลาการผูกขาดตลาดยา รัฐบาลควรพิจารณาปรับปรุงและแกไขพระราชบัญญัติ
ใหเหมาะสม รัดกุมมากขึ้น เกิดความเทาเทียมทุกฝาย และไมกอใหเกิดประโยชนแกฝายใดฝายหนึ่ง
ไมเพีย งเทานี้ อุตสาหกรรมยายังไดสรางอิทธิพลตอการเมืองในสหรัฐอเมริกา โดยใหการสนับสนุนทางการเงิน และอํานวย
ความสะดวกใหแกสมาชิกพรรคการเมืองรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง รวมถึงจางบริษัทล็อบบี้มาชวยบริษัทยา เพื่อเจรจากับวุฒิสมาชิก
และขาราชการในระบบสาธารณสุข ในการแกไขกฎหมายที่เกี่ยวกับยา อันจะเอื้ออํานวยผลประโยชนใหแกบริษัทยา การออก
กฏหมายที่เกี่ยวกับยาสวนใหญจึงมีบริษัทยาเปนผูอยูเบื้องหลัง เชน การออกกฎหมายลดภาษีใหบริษัทยา ทําใหบริษัทไดรับผล
กําไรอยางมหาศาล การเรงออกกฎหมายคุมครองและตออายุสิทธิบัตรใหรวดเร็วและสะดวกขึ้น รวมถึงหามนําเขายาจาก
ตางประเทศ ยกเวนกระทําโดยบริษัทยาเอง ทําใหเปนอุปสรรคตอการเขาถึงยาราคาถูกของประชาชน และการพัฒนาความกาวหนา
ทางวิทยาศาสตร เนื่องจากบริษัทยาสามารถใชสิทธิ์รักษาความลับทางการประดิษฐคิดคนทางวิทยาศาสตร อันผูกขาดการขายยาแต
เพียงผูเดียว
รัฐบาลยังไดออกพระราชบัญญัติปรับปรุงการทํางานขององคการอาหารและยา (FDA) ทําใหลดมาตรฐานขั้นตอนการ
อนุมัติขึ้นทะเบียนยา ไมให FDA กําหนดการทดสอบประสิท ธิภาพยาใหมเทียบกับยาเกาที่มีขอบงใชการรักษาเดียวกัน รวมถึง
ออกพระราชบัญญัติคาธรรมเนียมพิจารณาขึ้นทะเบียนยาใหม เพื่อเรงรัดการขึ้นทะเบียนยา ใหยาออกสูตลาดเร็วขึ้น เนื่องจาก
FDA ตองพึ่งพาการเงินจากอุตสาหกรรมยา จึงไมสามารถทํางานไดอยางเขมงวดเหมือนเมื่อกอน หลังจากออกพระราชบัญญัติ
คาธรรมเนียมขึ้นทะเบียนยา สัดสวนพนักงานขึ้นทะเบียนยามีจํานวนมากขึ้น ขณะที่พนักงานสวนติดตามความปลอดภัย การ
ประกันมาตรฐานการผลิต และการควบคุมตลาดลดนอยลง ทําใหขอมูลการพิจารณาความปลอดภัยและประสิทธิภาพของยาไมไดรับ
การตรวจสอบอยางเพียงพอ ยาอันตรายออกสูทองตลาดมากขึ้น และถูกถอนออกจากตลาดไปหลายรายการ เนื่องจากมีรายงานของ
อาการไมพึงประสงคจนถึงแกชีวิต ที่สําคัญบริษัทยายังไดแทรกแซงการทํางานของ FDA โดยใหบุคคลที่มีสวนไดเสียจาก
ผลประโยชน เขามาทํางานเปนเลขาธิการ FDA ซึ่งควบคุมการทํางานทั้งหมดขององคกร ซึ่งยิ่งอํานวยความสะดวกในการเรงยา
ออกสูตลาดไดเร็วขึ้น
ไมเพีย งแทรกแซงการทํางานของ FDA บริษัทยายังไดแทรกแซงการทํางานของสวนราชการ โดยใหรัฐบาลออกกฎหมาย
ลดบทบาทการทํางานของโครงการเมดิแครในการเจรจาตอรองราคายา ใหบริษัทเอกชนที่มีอํานาจตอรองต่ํากวาเขามาบริหาร
จัดการแทน โดยเมคิแครเปนเพีย งผูสนับสนุนคาใชจายดานยา ใหสิทธิครอบคลุมการจายยาตอทายราคาแพง และการสั่งใชยาที่อยู
นอกฉลากยา ทําใหไมสามารถควบคุมราคาได งบประมาณของโครงการสวนใหญมุงสําหรับคายา เมื่อราคายาสูงขึ้น โครงการจึง
ตองเอางบประมาณจากสิทธิประโยชนสวนอื่น เชน การคุมครองผูสูงอายุ การสนับสนุนแพทยและองคกรทางการแพทย เปนตน ไป
ชดเชยคาใชจายดานยา อีกทั้งผูสูงอายุตองจายเบี้ยประกันรายเดือนและคาความรับผิดชอบเบื้องตนเพิ่มสูงขึ้น
ดังที่กลาวไป ลวนเปนผลจากการที่รัฐบาลอาศัยแรงสนับสนุนทางการเมืองในรูปแบบตางๆโดยอุตสาหกรรมยา การกระทํา
ของบริษัทยาเสมือนเปนการติดสินบนตอเจาหนาที่พนักงาน เพื่อเพิ่มโอกาสในการสรางผลประโยชนใหแกตนอยางมหาศาลในเวลา
ตอมา การทํางานของรัฐบาลจึงกลายเปนการทุจริตระดับใหญ ซึ่งไมสามารถตรวจสอบไดมากนัก เนื่องจากอุตสาหกรรมยาเขามามี
อิทธิพลครอบงํา และขัดขวางกระบวนการตรวจสอบโดยหนวยงานอิสระทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน และองคก รสื่อมวลชน การแกไข
ปญหาจึงตองอาศัยความรวมมือที่เขมแข็งจากประชาชน ใหมีสวนรวมในการตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล ซึ่งโยงใยกับ
ผลประโยชนของบริษัทยา โดยหนวยงานอิสระและสื่อมวลชนที่วางตัวเปนกลางตองเผยแพรขอเท็จจริงใหประชาชนรับรู และทํา
ความเขาใจเกี่ยวกับตัวบทกฎหมายที่บริษัทยามีสวนไดเสีย เพื่อใหประชาชนตระหนักและปกปองสิทธิของจนในการเขาถึงยาใน
ราคาต่ํา

Vous aimerez peut-être aussi