Vous êtes sur la page 1sur 5

ศูนยวิเคราะหโครโมโซม ภาควิชาวิทยาศาสตรชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ถ.สถลมารค อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190


โทรศัพท (045) 288380 ตอ 4220 โทรสาร (045) 288380
แบบตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งภาวะปญญาออน มี
ความพิการของรางกายและอวัยวะที่สําคัญๆทําให
การศึกษาโครโมโซมกับความผิดปกติ ผูปวยทุกขทรมาน หรือ เสียชีวิตได
(Chromosome study and โครโมโซมของคนปกติเปนเชนไร
chromosome disorders) โครโมโซมของคนเรามีอยู 46 แทง (23
คู) โดย 44 แทง (22 คู) เปนโครโมโซมที่ไม
เกี่ยวของกับการกําหนดเพศ เรียกวา ออโตโซม
x chromosome (autosome) อีก 2 แทง (1 คู) จะเปนโครโมโซมที่
เกี่ยวของกับการกําหนดเพศ เรียกวา โครโมโซมเพศ
(sex chromosome) ซึ่งในเพศชาย จะมีโครโมโซม
เพศเปน XY (เอ็กซและวาย) ในเพศหญิงจะมี
โครโมโซมเพศเปน XX (เอ็กซ 2 แทง) ดังนั้นจึง
เขียนสัญลักษณแทนเพศชายปกติวา 46,XY และ
เพศหญิงปกติวา 46,XX
ผูปวยที่เปนโรคพันธุกรรมที่เกิดจากความ
45,XO,Turner syndrome ผิดปกติของโครโมโซมจะมีจํานวนของโครโมโซม
และรูปรางของโครโมโซมแตกตางไปจากคนปกติ
ดังนั้นเราจึงสามารถตรวจโครโมโซมเพื่อ
โครโมโซม คือ อะไร มีความสําคัญอยางไร
วินิจฉัยโรคพันธุกรรมในกลุมนี้ได
โครโมโซม คือ โครงสรางทางพันธุกรรม
ที่อยูภายในนิวเคลียสของเซลล ประกอบดวยดีเอน
การตรวจโครโมโซมเพื่อวินิจฉัยโรคพันธุกรรม
เอ (DNA) กับ โปรตีน โครโมโซมเปนที่อยูของ
เนื่องจากผูปวยมีลักษณะอาการของโรคที่
หนวยควบคุมลักษณะพันธุกรรมหรือยีน ซึ่งเปน
แสดงออกมาอยางจําเพาะและสอดคลองกับความ
ตัวกําหนดลักษณะพันธุกรรมตางๆของสิ่งมีชีวิต
ผิดปกติของโครโมโซม ดังนั้นแพทยจึงสามารถ
ในสภาวะที่เซลลมีการแบงตัว โครโมโซมจะหดสั้น
วินิจฉัยโรคพันธุกรรมกลุมนี้ไดโดยการตรวจที่
เขาเปนแทง เมื่อมองผานกลองจุลทรรศนจะมี
เรียกวา การตรวจโครโมโซม หรือ Chromosome
รูปรางคลายตัวเอ็กซ (X) หรือขนมปาทองโก เมื่อ
study
ยอมดวยสีจิมซา (Giemsa) จะติดสีชมพูแดง เราจึง
Chromosome study มีความจําเปน และมี
สามารถตรวจนับจํานวนและศึกษารูปราง
ความสําคัญอยางยิ่งตอการวินิจฉัยโรคพันธุกรรมใน
โครโมโซมได โครโมโซมอาจเกิดความผิดปกติได
กลุมนี้ เพราะ ผลที่ไดจะเปนประโยชนในการยืนยัน
ซึ่งจะทําใหเราเปนโรคพันธุกรรม มีอาการผิดปกติ
ผลการวินิจฉัยทางคลินิค การพยากรณโรค การ ใบหนา ซึ่งผิดปกติอยางละเล็กอยางละนอย ทําใหดู
กําหนดแนวทางรักษา ชวยลดความเครียดของ เปนคนที่หนาตาแปลกประหลาด
ผูปวยและครอบครัว ตลอดจนเพื่อปองกันการเกิด มีผูรายงานวา ทารกแรกเกิดที่แพทยสง
โรคซ้ําในลูกหรือญาติพี่นองที่จะเกิดตามมา ตรวจโครโมโซมเพราะเหตุผลวา มีหนาตาแปลกๆ
การตรวจโครโมโซมไมใชวาทุกคน เพียงอยางเดียว พบความผิดปกติของโครโมโซม
จะตองตรวจ เฉพาะบุคคลที่มีขอบงชี้เทานั้นที่ รอยละ 20
สมควรไดรับการตรวจโครโมโซม 4. พอแมของคนที่มีความผิดปกติทางดาน
โครงสรางของโครโมโซม ไมวาความผิดปกตินั้นจะ
ขอบงชี้สําหรับการตรวจโครโมโซม เปน duplication deletion inversion translocation
การตรวจโครโมโซมควรกระทําในกรณีตอไปนี้ insertion หรือ isochromosome
1. ผูปวยที่ไดรับการวินิจฉัยทางคลินิควาเปนกลุม การตรวจนี้เพื่อประโยชนในการให
อาการ (syndrome) ที่เกิดความผิดปกติของ คําแนะนําทางพันธุศาสตร (genetic counseling) เพื่อ
โครโมโซมการตรวจโครโมโซมในกรณีนี้ม ปองกันไมใหความผิดปกติของโครโมโซมเกิดขึ้น
ประโยชนใหญๆ 2 ดาน คือ ซ้ําอีก ซึ่งจะเกิดขึ้นในกรณีที่พอหรือแม (ซึ่งเปนคน
1.1 เพื่อยืนยันการวินิจฉัยทางคลินิค ซึ่งมีผลทํา ปกติ) มีความผิดปกติของโครโมโซมซอนอยูในรูป
ใหการวินิจฉัยสุดทายแมนยําหรือแนนอน ของพาหะที่สมดุล (balanced translocation carrier)
ยิ่งขึ้น หากผลการตรวจโครโมโซมไม หากตรวจพบวาพอหรือแมเปนพาหะที่
สอดคลองกับการวินิจฉัยทางคลินิค ก็จะเปน สมดุลยของโครโมโซมผิดปกติทางดานโครงสราง
แนวทางใหแพทยผูรักษาเปลี่ยนการวินิจฉัย ดังกลาว สิ่งที่ควรทําตอไปมี 3 ประการ คือ
หรือหาทางศึกษาเพื่อการวินิจฉัยที่ถูกตอง 4.1 ตรวจโครโมโซมของญาติของคนที่
ตอไป พบความผิดปกติตอไปอีก เชน หากพอเปน
1.2 เพื่อเปนแนวทางสําหรับใหคําแนะนําแก พาหะ ก็ควรตรวจพอและแมของพอ และ
ครอบครัว(genetic counseling)เพื่อประโยชน ตรวจพี่และนองของพอดวย
ดานปองกันการเกิดความผิดปกติซ้ําอีก 4.2 ใหคําแนะนําทางพันธุศาสตรแกผูตรวจพบวาม
2. ผูปวยที่มีลักษณะพิการของรางกาย โครโมโซมผิดปกติ
(malformation) ตั้งแต 2 ลักษณะขึ้นไป โดยจะมี 4.3 เจาะน้ําคร่ํามาตรวจโครโมโซมกอนคลอดใน
ลักษณะปญญาออนรวมดวยหรือไมก็ตาม หากไมมี กรณีหญิงที่เปนพาหะนั้นตั้งครรภ หรือกรณี
หลักฐานหรือประวัติที่แสดงสาเหตุของความพิการ ภรรยาของผูชายที่เปนพาหะตั้งครรภ
หรือเปนกลุมอาการที่ทราบกันทั่วไปวาไมไดเกิด 5. ลูกทุกคนของผูมีความผิดปกติทางดานโครงสราง
จากความผิดปกติของโครโมโซม ก็ควรไดรับการ ของโครโมโซมแบบเปนพาหะที่สมดุล คนที่มีความ
ตรวจโครโมโซม ผิดปกติของโครโมโซมในลักษณะนี้ อาจมีลูกที่
3. ทารกหรือผูปวยที่มีลักษณะใบหนาแปลกๆ 5.1 มีโครโมโซมปกติ หรือ
(funny looking characters) แทที่จริงคนกลุมนี้ก็ 5.2 เปนพาหะที่สมดุลของโครโมโซมผิดปกติ
คือ กลุมเดียวกับขอ 2 นั่นเอง แตความพิการของ (เหมือนพอหรือแม) หรือ
อวัยวะตางๆ ไมชัดเจนแตเห็นลักษณะรวมๆของ 5.3 มีความผิดปกติของโครโมโซมใน แบบที่ทํา
ใหรางกายหรือสมองผิดปกติ
ความผิดปกติของโครโมโซมนีอ้ าจไดรับการ 2.5 เปน Klinefelter syndrome ซึง่ โครโมโซม
ถายทอดมาจากพอหรือแม ทําใหการเรียงตัวของ ผิดปกติสวนใหญเปน 47,XXY และมีผูรายงานวา
โครโมโซมตอนแบงตัวแบบไมโอซิสผิดปกติ เมื่อ ชายที่เปนหมันและตรวจไมพบอสุจิหรือพบนอย
เกิดการไขวกันของโครโมโซม (crossing over) จึง มาก (azoospermia) ตรวจพบโครโมโซมผิดปกติ
เกิดโครโมโซมผิดปกติในรูปแบบใหม เมื่อถายทอด รอยละ 15.4 และมีการศึกษาในชายที่เปนหมัน
ไปใหลูกทําใหเนื้อโครโมโซมขาดหรือเกินในลูก ทั้งหมด 2,372 คน พบคนที่มีโครโมโซมผิดปกติ
(unbalanced structural aberration ) และเกิดความ 51 คน (รอยละ 2.2) เปนความผิดปกติของ
ผิดปกติของรางกายและ/หรือสมอง โครโมโซมเพศ 33 คน และผิดปกติที่ออโตโซม 18
6. คูสมรสที่มีประวัติแทงเองตั้งแต 2 ครั้งขึ้นไป คน
การแทงมีสาเหตุหลายอยาง มีผูพบวาประมาณ ในหญิงที่เปนหมันพบโครโมโซมผิดปกติไม
รอยละ 38 ของทารกที่แทง ตรวจพบความผิดปกติ บอย แสดงวาความเปนหมันในผูหญิงมีสวนที่
ของโครโมโซม ความผิดปกติของโครโมโซมใน เกี่ยวของกับโครโมโซมผิดปกตินอยมาก
ทารกจํานวนหนึ่งเกิดจากความผิดปกติที่เกิดขึ้น 8. คนที่มีอวัยวะเพศไมชัดเจนวาเปนหญิงหรือชาย
ใหม(De novo)ใน gonad ของพอหรือแม ทารกอีก คนที่อวัยวะเพศกํากวม(ambiguous genitalia)
จํานวนหนึ่งไดรับการถายทอดโครโมโซมผิดปกติ บอกเพศยากหรือเรียกวา กระเทย มีหลายชนิด การ
มาจากพอหรือแม โดยที่พอหรือแมมีโครโมโซม ตรวจโครโมโซมมีประโยชนคือ เปนขอมูลอยาง
ผิดปกติแบบพาหะที่สมดุล แตลูกมีเนื้อโครโมโซม หนึ่งที่จะชวยจําแนกชนิดของกระเทย และเปน
ขาดไปหรือเกินมา คูสมรสที่แทงบอยพบประมาณ แนวทางสําหรับการทําศัลยกรรมเพื่อแกปญหา
รอยละ 0.5 ของคูสมรสทั้งหมด มีผูรายงานวาในคู ตอไป
สมรสที่แทงบอยจะพบโครโมโซมผิดปกติในคู 9. ผูหญิงที่ตัวเตี้ยอยางไดสัดสวน โดยไมทราบ
สมรสคนใดคนหนึ่ง รอยละ 3-8 สาเหตุ
การตรวจโครโมโซมในกรณีนี้ ประโยชน คือ ลักษณะตัวเตี้ยเปนอาการที่พบใน Turner
1. ชวยบอกใหทราบสาเหตุของการแทง syndrome ทุกคน โดยที่อาการแสดงอยางอื่นๆ อาจ
2. หากตรวจพบความผิดปกติของ มีหรือไมมีก็ได ผูหญิงที่เปน Turner syndrome บาง
โครโมโซม จากลักษณะโครโมโซมที่ รายอาจมีลักษณะผิดปกติอยางอื่นรวมดวยนอยมาก
ผิดปกตินักพันธุศาสตรจะบอกไดวาคู หรือบางรายอาจมีความผิดปกติในเรื่องตัวเตี้ยเพียง
สมรสมีโอกาสไดลูกปกติหรือไม ใน อยางเดียวไมมีลักษณะผิดปกติอยางอื่นเลย
สัดสวนเทาไร 10. หญิงหรือชายที่ไมแสดงลักษณะเพศทุติยภูมิ
3. หากตรวจพบโครโมโซมผิดปกติในคู (secondary sex characteristics) คนที่เมื่อถึงอายุ
สมรสคนใดคนหนึ่ง แพทยจะไดพิจารณา สมควรก็ยังไมแสดงลักษณะเพศทุติยภูมิโดยตรวจ
เจาะน้ําคร่ํามาศึกษาโครโมโซมของทารก ไมพบสาเหตุ มักเกิดจากความผิดปกติของ
ในครรภ หากมีการตั้งครรภครั้งตอไป โครโมโซมเพศ แตความผิดปกติของออโตโซมก็
7. คูสมรสเปนหมันโดยไมทราบสาเหตุ เปนสาเหตุได
ความผิดปกติของโครโมโซมเปนสาเหตุหนึ่งใน
หลายๆสาเหตุของการเปนหมันในผูชาย ไดมี
การศึกษาผูชายที่เปนหมัน 1,204 ราย พบวารอยละ

กลุมอาการ Cri du Chat syndrome : 46,XX,5p-


ที่พบในการทําตัวอยางเลือด
11. หญิงที่ประจําเดือนขาดแบบปฐมภูมิ (primary ปญญาออนที่ถายทอดกรรมพันธุแบบ
amenorrhea) และแบบทุติยภูมิ (secondary X – linked บางกรณีอาจพบรวมกับความผิดปกติ
amenorrhea) ของโครโมโซมเอ็กซแบบที่มีจุดเปราะ (fragile
หญิงที่ประจําเดือนขาดไมวาแบบปฐมภูมิ site) การศึกษาจุดเปราะของโครโมโซมตองใช
หรือแบบทุติยภูมิก็ตาม หากตรวจหาสาเหตุตางๆ เทคนิคพิเศษ
แลวไมพบ ใหนึกถึงความผิดปกติของโครโมโซม 13. คนเปนมะเร็งบางชนิด
ไวดวย มีผูรวบรวมการศึกษาโครโมโซมในหญิงที่ มะเร็งเมือดเลือดขาวเกือบทุกชนิด และมะเร็ง
ประจําเดือนขาดแบบปฐมภูมิ จาก 700 รายงานพบ ชนิด solid tumour หลายชนิด มีความผิดปกติของ
โครโมโซมผิดปกติรอยละ 26.1 – 77.7 มีผูศึกษาได โครโมโซมในเซลลมะเร็งในลักษณะที่จําเพาะหรือ
รายงานวา ในหญิง 64 คน ที่แพทยสงมาศึกษา เกือบจําเพาะ และการตรวจโครโมโซมอาจมี
โครโมโซมเพราะประจําเดือนขาดแบบปฐมภูมิ ประโยชนตอการพยากรณโรค การรักษาและการ
โดยไมมีความผิดปกติอยางอื่น ตรวจพบ ใหคําแนะนําแกครอบครัวของผูปวย
โครโมโซมผิดปกติรอยละ 18.7 ทั้งหมดเปนความ ตัวอยาง เชน มะเร็งเม็ดเลือดขาวแกรนูโลซัย
ผิดปกติของโครโมโซมเพศ ติคชนิดเรื้อรัง (chronic granulocytic leukemia)
หญิงที่มีความผิดปกติทางดานโครงสรางของ หากตรวจโครโมโซมพบ Philadelphia (Ph 1)
โครโมโซมเอ็กซ อาจมีการเจริญเติบโตทางเพศเปน chromosome การพยากรณโรคจะดีกวาคนที่เปน
ปกติ มีลูกไดแตหมดประจําเดือนเร็วกวาปกติ โรคเดียวกันที่ตรวจไมพบ Ph 1 chromosome ถึง 4
ดังนั้นหญิงที่ประจําเดือนขาดแบบทุติยภูมิ หากหา เทา และผูปวยที่เปนโรคนี้หากในระหวางการรักษา
สาเหตุอื่นไมพบ ควรสงตรวจโครโมโซมดวย ตรวจพบโครโมโซมผิดปกติเพิ่มขึ้นนอกเหนือจาก
12. คนปญญาออนระดับปานกลางหรือรุนแรง ที่ไม Ph 1 chromosome แสดงวาผูปวยกําลังอยูในระยะ
ทราบสาเหตุ ที่จะเกิด blastic crisis คือเกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือด
ปญญาออนเปนอาการที่ไมจําเพาะตอความ ขาวชนิดเฉียบพลันเพิ่มขึ้น
ผิดปกติของโครโมโซมแบบใดแบบหนึ่ง แตมักพบ ผูปวยโรคมะเร็งของจอตาชนิด
เปนอาการผิดปกติรวมอยูในโครโมโซมผิดปกติ retinoblastoma แบบที่เปนขางเดียว มักตรวจพบ
แบบไมสมดุลแทบทุกแบบ ดังนั้นในคนปญญา โครโมโซมผิดปกติแบบ 13q14- ในเซลลมะเร็ง
ออนที่หาสาเหตุอยางอื่นไมพบควรศึกษา และหากตรวจพบโครโมโซมผิดปกติดังกลาวใน
โครโมโซมดวย เซลลอื่นของรางกายดวย เชน ใน lymphocyte
มีการ ศึกษาโครโมโซมในเด็กปญญาออน culture ก็แสดงวาคนนั้นมีโครโมโซมผิดปกติที่เสี่ยง
จํานวน 588 คน ในโรงพยาบาลปญญาออนใน ตอการเกิดมะเร็ง retinoblastoma อยูกอน และ
ประเทศออสเตรเลีย พบโครโมโซมผิดปกติ 90 คน โครโมโซมผิดปกติดังกลาว อาจถายทอดมาจากพอ
คิดเปนรอยละ 15.3 ซึ่งในจํานวนนี้เปน Down แม หรือไดถายทอดไปใหลูกของผูปวยดวย การ
syndrome 73 คน (รอยละ 12.4) และมีความ ตรวจพบโครโมโซมผิดปกติแบบ 13q14- ในเซลล
ผิดปกติของโครโมโซมแบบอื่น 17 คน (รอยละ รางกายของผูปวย จะชวยนําไปสูการตรวจ
2.9) จะเห็นวาหากแยก Down syndrome ออกไป โครโมโซมของ พอ แม พี่ นอง และลูกของผูปวย
โอกาสพบโครโมโซมผิดปกติในคนปญญาออน เพื่อประโยชนในการใหคําแนะนํา ซึ่งเทากับไปเขา
โดยทั่วไปมีเพียงประมาณรอยละ 3 ขอ 4 ของขอบงชี้ในการตรวจโครโมโซม

Vous aimerez peut-être aussi