Vous êtes sur la page 1sur 3

กฎหมายการทําแทงของประเทศอังกฤษ

ณัฏฐณิชา เอนกสมบูรณผล
นักกฎหมายกฤษฎีกาปฏิบัติการ
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สั ง คมไทยเปลี่ย นไป การรับ เอาวัฒ นธรรมต า งชาติ เ ข า มาในขณะที่สั ง คมเอง


ยังไมมีความรูเพียงพอในการปกปองตนเองทําใหสังคมเปลี่ยนไปอยางรวดเร็วและไมไดเปลี่ยนไป
ในทางที่ดีขึ้น ปญหาเรื่องการทําแทงเถื่อนเปนปญหาที่อยูคูกับประเทศไทยมาชานาน แตกลับไมมี
การจัดการกับปญหานี้อยางจริงจัง ขาวการพบซากศพทารกจํานวนกวา ๒,๐๐๒ ศพ๑ที่วัดไผเงิน
กรุงเทพมหานครที่ปรากฏทางหนาหนังสือพิมพทุกฉบับในสัปดาหที่ผานมานาจะเกิดเปนคําถาม
ไดวา มันถึงเวลาแลวหรือยังที่ทุกภาคสวนสังคมไทยควรจะหันมาใสใจกับปญหาการทําแทงเถื่อน
ที่เกิดขึ้นในทุกวันนี้
ในบทความนี้ ขอนํ า เสนอกฎหมายการทํ า แท ง ของประเทศอั ง กฤษ
ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจากประเทศอั ง กฤษเป น ประเทศที่ มี ก ารพั ฒ นากฎหมายการทํ า แท ง ที่ ค อ นข า ง
จะยาวนาน เริ่มตั้งแตป ๑๘๖๑ ที่กฎหมายกําหนดใหการทําแทงไมวาจะกรณีใด ๆ เปนการกระทํา
ที่ผิดกฎหมายและเปนอาชญากรรมรายแรง อยางไรก็ตาม สภาพสังคมที่เปดกวางมากขึ้นและ
นโยบายทางดานสาธารณสุขที่เปลี่ยนไปของรัฐบาลทําให ในป ๒๐๑๐ ประเทศอังกฤษมีกฎหมาย
ที่ อ นุ ญ าตให ห ญิ ง มี ค รรภ ส ามารถทํ า แท ง ได โดยได ร ะบุ เ งื่ อ นไขการอนุ ญ าตการทํ า แท ง ไว
อยางชัดเจน เชน การทําแทงนั้นจะตองไดรับความเห็นชอบจากแพทยสองคนขึ้นไป เปนตน

๑. ความเปนมา
เมื่อป ๑๘๖๑ รัฐสภาอังกฤษออกกฎหมาย Offences against the Person Act
และมาตรา ๕๘ ของกฎหมายฉบับนี้กําหนดใหการทําแทงเปนการกระทําที่ผิดกฎหมาย โทษคือ
จําคุกสามปถึงจําคุกตลอดชีวิตแมการทําแทงนั้นจะกระทําเพราะเหตุผลทางการแพทยก็ตาม
กฎหมายอั ง กฤษไม มี ก ารเปลี่ ย นแปลงแต อ ย า งใด จนกระทั่ ง ในป ๑๙๒๙ รั ฐ สภาได ผ า น
พระราชบัญญัติ The Infant Life Preservation Act๑๙๒๙ เพื่อมาแกไขเพิ่มเติม Offences
against the Person Act. สาระสําคัญของกฎหมายฉบับนี้คือ กําหนดวาการทําแทงไมถือเปน
อาชญากรรมรุนแรง (felony) ถาการทําแทงนั้นเปนการทําโดยสุจริตและมีวัตถุประสงคเพียง
อย า งเดี ย วคื อ เพื่ อ รั ก ษาชี วิ ต ของหญิ ง ผู ตั้ ง ครรภ อย า งไรก็ ต าม พระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้
กําหนดใหการฆาเด็กทารกที่ “สามารถเกิดมาและมีชีวิตอยูได”๒ เปนการกระทําที่ผิดกฎหมาย
และกําหนดตอไปวาอายุครรภ ๒๘ อาทิตยคืออายุทารกในครรภที่กฎหมายสันนิษฐานวาเปน


http://www.bangkokbiznews.com/home

กฎหมายใชคําวา “capable of being born live”

ทารกที่สามารถมีชีวิตอยูได นอกจากนี้ พระราชบัญญัติฉบับนี้ยังอนุญาตใหแพทยสามารถทํา


แทงไดหากแพทยผูนั้นเห็นวาการตั้งครรภจะทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพของมารดา

หลังจากกฎหมายนี้ใชไประยะหนึ่ง ก็เกิดการรวมกลุมของคนที่เชื่อวากฎหมาย
การทํ า แท ง ของอั ง กฤษนั้ น ยั ง ไม เ ป น ที่ น า พอใจ กลุ ม ดั ง กล า วนี้ ชื่ อ ว า The Abortion Law
Reform Association โดยกลุ ม ดั ง กล า วนี้ พ ยายามผลั ก ดั น ให รั ฐ บาลออกกฎหมายกํ า หนด
เหตุผลของการทําแทงชัดเจนกวาเดิม จากนั้นในป ๑๙๓๘ คดี Bourne๓ เปนคดีที่แสดงใหเห็น
ถึงความเปลี่ยนแปลงของนโยบายของรัฐบาลเรื่องการทําแทง คดีนี้เปนคดีที่นายแพทย Alec
Bourne ทํ า แท ง ให แ ก เ ด็ ก ผู ห ญิ ง คนหนึ่ ง ที่ ถู ก ทหารข ม ขื น หมู และหลั ง จากนั้ น นายแพทย ผู นี้
ก็ ถู ก จั บ กุ ม ดํ า เนิ น คดี Bourne สู ค ดี แ ละอ า งว า การทํ า แท ง นั้ น จํ า เป น เพื่ อ ที่ จ ะรั ก ษาชี วิ ต
ของเด็กผูหญิงไว ผูพิพากษาเห็นดวยกับขอโตแยงของนาย Bourne คําพิพากษาคดีนี้เปนคํา
พิพากษามาตรฐานสําหรับการตัดสินในคดีตอ ๆ ไป กลาวคือ การทําแทงนั้นสามารถกระทําได
หากเปนการรักษาสภาพจิตใจของผูหญิงที่ตั้งครรภนั้น
หลั ง จากคดี Bourne มี ผู ห ญิ ง จํ า นวนหนึ่ ง ที่ ทํ า แท ง โดยอาศั ย เหตุ ผ ล
ที่ ว า มี ค วามจํ า เป น ที่ จ ะต อ งทํ า แท ง เพื่ อ รั ก ษาสภาพจิ ต ใจของตนหรื อ ได รั บ ความยิ น ยอม
จากนักจิตวิทยา อยางไรก็ตาม ผูหญิงที่มีฐานะดีเทานั้นที่สามารถจายเงินเพื่อปรึกษานักจิตวิทยา
และสามารถจ ายเงินค า ทํ า แทงอยางปลอดภั ย ได (safe abortion) ในขณะที่ มีหญิ งตั้ งครรภ
จํานวนมากที่ไมมีกําลังจายเงินและตองแสวงหาการทําแทงเถื่อน จากการทําแทงเถื่อนนี้เอง
ทําใหผูหญิงกวา ๔๐ คนตอปที่ตองเสียชีวิตและมีผูหญิงอีกจํานวนมากที่บาดเจ็บจากการทําแทง
ที่ผิดกฎหมายนั้น นี่คือเหตุผลหรือแรงจูงใจที่ทําใหแพทย นักการเมือง และนักบวชทํางาน
รวมกันเพื่อที่จะผานกฎหมายการทําแทงขึ้น ถึงแมหลายคนจะเห็นวากฎหมายการทําแทงหรือ
Abortion Act คื อ ชั ย ชนะของสิ ท ธิ ส ตรี แต ใ นความเป น จริ ง แล ว กฎหมายฉบั บ นี้ เ กิ ด ขึ้ น
เพื่ อ แก ไ ขป ญ หาสาธารณสุ ข ของประเทศ กฎหมายฉบั บ นี้ แ ท ที่ จ ริ ง แล ว ให สิ ท ธิ แ ละ
ความรับผิดชอบแกแพทยไมใชผูหญิง กฎหมายฉบับนี้ไมไดทําใหการทําแทงนั้นถูกกฎหมาย
ในทุกกรณีแตเปนการกําหนดขอยกเวนสําหรับการทําแทง

๒. สาระสําคัญของกฎหมาย Abortion Act


สิ่งที่นาสนใจของกฎหมายฉบับนี้คือ พระราชบัญญัติฉบับนี้เปดกวางสําหรับการ
ตี ค วามและให อํ า นาจในการตั ด สิ น ใจแก แ พทย ใ นการที่ จ ะชั่ ง น้ํ า หนั ก ถึ ง ความเสี่ ย ง
ของการมีครรภวามีมากกวาการเก็บรักษาการตั้งครรภไวหรือไม
การทํ า แท ง นั้ น จะเป น การทํ า แท ง ที่ ถู ก กฎหมายก็ ต อ เมื่ อ แพทย ผู ทํ า แท ง
เป น แพทย ที่ มี ใ บประกอบวิ ช าชี พ แพทย แ ละทํ า การทํ า แท ง นั้ น ในโรงพยาบาลของรั ฐ
(National Health Service) หรื อ ในสถานที่ ที่ ถู ก กํ า หนดขึ้ น ภายใต วั ต ถุ ป ระสงค ข อง


Legal Judgment R v. Bourne [1938] 3 ALL ER 615

พระราชบัญญัติฉบับนี้ และจะตองไดรับการรับรองโดยแพทยที่มีใบประกอบวิชาชีพแพทยจํานวน
สองคน
นอกจากนี้ มาตรา ๑ (๑) แหงพระราชบัญญัติการทําแทง Abortion Act of
๑๙๖๗ (ซึ่ ง แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดย the Human Fertilization and Embryology Act (HFEA)
๑๙๙๐) กําหนดเหตุการทําแทงไวสี่ประการดังนี้ (ก) หากมารดามีอายุครรภนอยกวา ๒๔ อาทิตย
และหากการตั้งครรภนั้นทําใหเกิดความเสี่ยง และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นนั้นมากกวาผลจากการทํา
แท ง เนื่ อ งจากความเสี่ ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการตั้ ง ครรภ จ ะส ง ผลทางร า งกายหรื อ จิ ต ใจของ
ผูตั้งครรภหรือเกิดผลตอลูกที่เกิดมาแลวที่อยูในครอบครัว หรือ (ข) การทําแทงเปนการกระทํา
ที่จําเปนเพื่อปองกันความเจ็บปวยรายแรงและถาวรที่จะเกิดขึ้นตอผูตั้งครรภไมวาจะทางรางกาย
หรื อ จิ ต ใจ หรื อ (ค) หากความเสี่ ย งของการตั้ ง ครรภ มี ม ากกว า ความเสี่ ย งของการทํ า แท ง
หรือ (ง) หากเด็กที่จะเกิดขึ้นมานั้นมีโอกาสเสี่ยงสูงที่จะพิการอยางรายแรงไมวาจะทางรางกาย
หรือทางจิตใจ๔ หรือแพทยสามารถทําแทงหญิงผูตั้งครรภไดทันในกรณีฉุกเฉิน (จ) เพื่อชวยชีวิต
ของหญิ งผู ตั้ งครรภ หรื อ (ฉ) การทํ า แท งเป น การกระทํา ที่ จํา เป น เพื่อป องกั น ความเจ็บ ป ว ย
รายแรงและถาวรที่จะเกิดขึ้นตอผูตั้งครรภไมวาจะทางรางกายหรือจิตใจ
อย า งไรก็ ดี จากการศึ ก ษาพบวา ร อ ยละ ๘๗ ของผูตั้ งครรภทํา แท ง เมื่อ อายุ ค รรภ
นอยกวา ๑๒ อาทิตยและการทําแทงสวนมากจะใชเหตุผลขอ (ก) เปนหลัก

๓. แนวโนมการพัฒนาของกฎหมายการทําแทงของประเทศอังกฤษ
ถึ ง แม ป ระชาชนส ว นมากในอั ง กฤษจะสนั บ สนุ น การทํ า แท ง ที่ ถู ก กฎหมาย
ก็ ยั ง มี ข อ ถกเถี ย งถึ ง อนาคตของกฎหมายการทํ า แท ง ของอั ง กฤษ ข อ ถกเถี ย งในขณะนี้
คื อ มี นั ก วิ ช าการ แพทย แ ละประชาชนเรี ย กร อ งให ย กเลิ ก การขออนุ ญ าตแพทย ถึ ง สองคน
ก อ นเพื่ อ ที่ จ ะป อ งกั น ความล า ช า ของผู ตั้ ง ครรภ ที่ อ ายุ ค รรภ น อ ยกว า ๑๒ สั ป ดาห แ ละ
การลดจํากัดเวลาอายุครรภในการทําแทง

๔. กฎหมายไทยและปญหาการทําแทงในประเทศไทย
ประเทศไทยไม มี ส ถิ ติ ข องผู ทํ า แท ง อย า งเป น ทางการเนื่ อ งจากการทํ า แท ง
เปนการกระทําที่ผิดกฎหมายตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๓๐๑-๓๐๕ ซึ่งกฎหมายระบุ
ใหสามารถเอาผิ ด กับ ผูที่ทําแทงและผูทําแทงได อย างไรก็ ดี การทํา แทงจะสามารถกระทํา ได
ก็ ต อ เมื่ อ (๑) การตั้ ง ครรภ นั้ น เป น อั น ตรายต อ ผู ตั้ ง ครรภ ห รื อ (๒) ผู ห ญิ ง นั้ น ตั้ ง ครรภ
จากการถูกขมขืน
จากการสํารวจเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยมูลนิธิเพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับสุขภาพ
ผูหญิงพบวา ในป ๒๕๔๒ มีผูเขารับการรักษาเนื่องดวยแผลจากการทําแทงเถื่อนในโรงพยาบาล
รัฐบาลถึง ๔๕,๙๐๐ คน ทานผูอานคิดวา สถิติอยางไมเปนทางการนี้กําลังบอกอะไรกับเรา??


http://www.statutelaw.gov.uk/content.aspx?activeTextDocId=1181037

Vous aimerez peut-être aussi