Vous êtes sur la page 1sur 111

การจัดทําองคความรูดา นชางสิบหมู

เรื่อง
การหลอระฆังแบบโบราณ

โดย
กลุมวิชาการดานชางศิลปะไทย
สํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
คํานํา

การจัดทําองคความรูดานชางสิบหมู เรื่องการหลอระฆังแบบโบราณนี้ เปนการ


จัดทําขอมูลในกระบวนการของงานชางไทยโบราณอีกสาขาหนึ่งทีมีการปฏิบัติสืบทอดกัน
มาเปนระยะเวลายาวนาน โดยไมพบวามีการบันทึกไวเปนหลักฐานอยางแพรหลายเปน
ขอมูลหลักฐาน จากแนวคิด เทคนิคและกระบวนการของชางที่เปนลักษณะเฉพาะทางอยาง
เป ด เผยสู สั ง คมและผู ส นใจมากนั ก และการปฏิ บั ติ ก็ จ ะทํา เฉพาะกลุ ม สกุ ล ช า งที่ มี ค วาม
ใกลชิดเทานั้น ประชาชนและผูสนใจไมคอยมีโอกาสไดรับทราบและเขาใจในกระบวนการ
จากเอกสารหลักฐานที่ปรากฏและหายากคาดวาหากไมไดรับการฟนฟูและสืบทอดอาจจะ
สูญหายไปในอนาคตจําเปนที่จะตองมีการจัดทําองคความรูที่เปนมาตรฐานทางวิชาการ
สําหรับการเผยแพรตอไปหวังเปนอยางยิ่งวาคงจะเกิดประโยชนกับผูสนใจในการที่จะ
รวมกันรับรู เขาใจ รวมกันฟนฟูและพัฒนาไปสูความมั่นคง ทางมรดกศิลปะการชางในงาน
ชางสิบหมูสืบตอไป

วาที่พ.ต.สืบสกุล ออนสัมพันธุ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


สารบัญ

บทที่ ๑ ความหมาย คตินิยม ประเพณีของระฆัง


บทที่ ๒ ประวัติและพัฒนาการของระฆัง
บทที่๓ การสรางระฆังในประเทศไทย
บทที๔ วัสดุ อุปกรณและเครื่องมือในการสรางระฆัง
บทที่๕ เทคนิคและวิธีการในการสรางระฆังแบบโบราณ
บทที่๖ กระบวนการงานหลอระฆังแบบโบราณ
บทที่๗ ผลผลิตงานศิลปกรรม
บทที่๘ กิจกรรมขอเสนอแนะ การสัมภาษณชาง
บทที่๙ เอกสารอางอิง
บทที่๑๐ เอกสารที่เกี่ยวของ
บทที่ ๑๑ คณะทํางาน
บทที่ ๑๒ กิตติกรรมประกาศ

---------------

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การหลอระฆังแบบโบราณ
บทที่ 1 ความหมาย คตินิยม ประเพณี

ระฆังจัดเปนเครื่องดนตรีชนิดหนึง่ ใชการตี หรือกระทุงเพื่อใหเกิดเสียงดังเสียงที่ตีจัดเขาเปน


สัญลักษณทบี่ อกถึงความหมายในจุดประสงคที่ผูตีไดกําหนดเปนเปาหมายไว ในอดีตของประเทศ
ในแถบยุโรปใชตีบอกสัญญาณเปนการตีบอกเวลา เฉลิมฉลองในเทศกาลสําคัญตางๆ และเปนการตี
บอกสัญญาณของผูจากไป ในแถบเอเชียและในประเทศไทย ใชเปนการบอกสัญญาณเวลาในทาง
ศาสนากิจตางๆ ใชบอกสัญญาณเหตุการณตางๆสําหรับการบอกกลาวแลประกาศสิ่งดีที่ตนเองได
กระทําไปแลว นอกจากนั้นประชาชาชนยังไดรับทราบระยะหางของชวงเวลาไดอีก

จากเอกสารและหลักฐานที่ปรากฏพบวาผูมีความรูความชํานาญในการออกแบบและสรางระฆัง
แบบโบราณมีจนวนไมมากนัก และทํากันเปนการเฉพาะกลุมในวงศญาติสนิทเทานั้น อีกทั้ง
สถานศึกษาที่มีการผลิตและฝกอบรมดานชางศิลปกรรมไมพบวามีการจัดการสอนดานนี้อยาง
แพรหลาย อาจเปนเพราะอิทธิพลในความตองการของตลาดมีนอยและไมมากนักจึงขาดการสานตอ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


อยางเปนระบบอยางแพรหลายรวมทัง้ จะตองมีการสงเสริมชางผูสรางงานใหมีการพัฒนากิจกรรม
ใหเปนไปอยางตอเนื่อง จาการศึกษาขอมูลเอกสารในชั้นตนไมพบการบันทึกกระบวนการและ
ขั้นตอนไมมีการบันทึกไวเปนการอางอิงไดเลย จึงเปนการสมควรในการที่จะตองทําการสัมภาษณ
สรางงานควบคูไปกับ การบั นทึ กภาพอย างละเอี ย ด และดวยเหตุ ผ ลที่ วาในป จจุบั น ระฆังยังมี
ความสําคัญและเปนที่ตองการอยูอีกมากตาวัดและสถานที่ปฏิบัติศาสนกิจตางๆ

ความเปนมา
ของ
การหลอโลหะ

จากหลักฐานที่ปรากฏทางประวัติศาสตรสมัยโบราณถึงสมัยกลาง ยืนยันไดวามนุษย รูจักวิธีการ


หลอมโลหะ และการทําแบบหลอ เพื่อผลิตชิ้นงานหลอมาใชงาน ดังเชน เมื่อประมาณ 5,000 ป
มนุษยไดผลิตงานหลอเปนหัวขวาน ที่ทําจากทองแดงโดยวิธีการหลอมและเทลงในแบบที่ขุดลงใน
หินทราย และตอมามีการพัฒนาโดยการทําไสแบบ และ การทําแบบเปนสองชั้น การหลอบรอนซ
นั้นกระทํากันครั้งแรกในเมโสโปเทเมีย ประมาณ 3,000 ปกอนคริสตศักราช และเทคนิคนี้ไดรับ
การถายทอดมาสูเอเชียกลาง อินเดีย และจีน มาถึงจีนประมาณ 2,000 ปกอนคริสตศักราช ใน
ประเทศจีนสมัย ยิน ประมาณ 1,500-1,000 ป กอนคริสตศักราช ก็ไดมีการหลอภาชนะที่มีขนาด
ใหญๆและคุณภาพดีไดสําเร็จการถายทอดเขาไปสูยุโรปประมาณ 1,500-1,400 ปกอนคริสตศักราช
โดยผลิตเปน ดาบ หัวหอก เครื่องประดับ ภาชนะตางๆและเครื่องตกแตงที่ใชในงานศพเปนตน กลุม
ประเทศที่ผลิตงานหลอในยุคนั้น คือ สเปญ สวิสเซอรแลนด เยอรมันนี ออสเตรีย นอรเวย เดน
มารค สวีเดน อังกฤษ และ ฝรั่งเศส

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


เทคนิคการหลอบรอนซในอินเดียและจีน ไดมีการเผยแพรเขาไปสูญี่ปุนและเอเซียอาคเนย ในญี่ปุน

มีพระพุทธรูปสวยๆที่ไดสรางขึ้นในระหวาง คริสตศักราช 600-800 เหล็กถูกคนพบและนํามาใช


งานในยุคตอมาโดยเริ่มตนจากการนํามาตีใหเปนแผนเชนเดียวกับทองแดง ชาวอัสสิเรียนและชาว
อียิปตใชเครื่องมือ ที่ทําดวยเหล็กประมาณ 2,800-2,700 ปกอนคริสตศักราช ตอมาประมาณ 800-
700 ปกอนคริสตศักราช จีนไดคนพบวิธีการทําเหล็กหลอจากเหล็กปก (pig iron)ซึ่งมีอุณหภูมิ
หลอมเหลวต่ํา และ มีปริมาณเฟอรัสผสมอยูปริมาณมาก โดยผลิตโดยใชเตาแบบแบน (plane bed)
และ เทคนิคการผลิตเหล็กหลอโดยวิธีนี้ไดแผขยายไปในประเทศแถบทะเลเมติเตอรเรเนียน ในกรี
ชราว 600 ปกอนคริสตศักราช ตัวอยางงานที่ทําจากเหล็กหลอเชน อนุสาวรียของ เอปามินอนตาส
และเฮอรคิวลีส ตลอดจนอาวุธและเครื่องมือตางๆที่เปนชิ้นงานหลง

แนวคิดการสรางระฆัง
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
ในภูมิภาคตะวันตก

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


ในประเทศอินเดีย ไดมีการผลิตเหล็กปก และสงไปขายที่อียิปตและยุโรป แตในสมัยนั้นยังไมมี
การผลิตเหล็กหลอจากเหล็กปกกันจริงๆจังๆ จนกระทั่งในนคริสตศตวรรษที่ 14 ในเยอรมันนี
และอิตาลี่ ไดทําการหลอดวยเตา บลาสต (blast furnace) มีรูปทรงเปนทรงกระบอกแทนเตาแบน
วิธีการหลอมนําแรเหล็กเทใสลงไปในเตาสลับกับถานถานไม งานที่หลอในสมัยนั้น เชน ปนใหญ
ลูกปนใหญ เตาอบ ทอ เปนตน วิธีการหลอในสมัยนั้นใชการเทโลหะเหลวที่ไดจากแรลงไปโดยตรง
ที่แบบ ไมมีการทําเหล็กปกกอนแลวจึงนําเหล็กปกมาหลอมเปนงานหลอโดยการเทลงไปแบบหลอ
ดังเชนที่ทําอยูในปจจุบันและไดคนพบถานโคกและนํามาใชแทนถานไม ในอังกฤษในคริสต
ศวรรษที่ 18 และมีการหลอชิ้นงานที่ไดจากเหล็กปกและพัฒนาเตาใหมีขนาดเล็กลง เปนครั้งแรกที่
ประเทศฝรั่งเศส สําหรับเตาคลายคลึงกับเตาคิวโปลา (cupola) ที่ใชกันอยูในปจจุบันซึ่งสรางขึ้นเปน
ครั้งแรกในอังกฤษ ตั้งแตนั้นมาก็ไดมีการผลิตงานหลอ โดยวิธกี ารนําเหล็กปกมาหลอมอีกครั้ง และ
ยังมีการทําสืบตอกันมาจนถึงปจจุบัน สมัยตอมาไดมีการพัฒนาเหล็กหลอไดเปนเหล็กเหนียวหลอ
(cast steel) โดยวิธีการทําเหล็กเหนียวหลอจากเหล็กปก โดย H.Bessemer หรือ W.Siemens
หลังคริสตศวรรษที่ 19 ซึ่งในสมัยโบราณไดรูจักวิธีมีการตีเหล็กเหนียวมากอน ตอมางานอลูมิเนียม
หลอผสมไดมีขึ้นในตอนปลายคริสตศวรรษที่ 19 หลังจากที่มีการคนพบวิธีการทําอลูมินัมบริสุทธิ์
โดยการแยกดวยไฟฟา (electrolysis)

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การหลอโลหะในประเทศไทย
จากหลักฐานทางโบราณคดีไดมีการขุดคนพบหลายแหง และที่เกาแกที่สุด คือ ที่บานเชียงซึ่งมีการ
พิสูจนและระบุไวชัดเจนที่สุด โดยกรมศิลปากร จากหลักฐานดังกลาวทําใหทราบวา การโลหะ
กรรมที่คนพบที่บานเชียงอยูในสมัยกอนประวัติศาสตร เริ่มตนโดย การใชสําริดเมือ่ ชวงเวลาเมื่อ
4,000 ปผานมาแลว หลังจากนั้นเมื่อราว 2,700-2,500 ปมาแลวจึงเริ่มมีการใชเหล็ก ในทางโลหะ
วิทยานั้น “สําริด” (Bronze) หมายถึงโลหะ
ผสมที่มีทองแดง(Cu)และมีดีบุก(Sn)เปนสวนผสมหลัก ดีบุกชางโลหะตั้งใจเติมลงไปในปริมาณ
ตั้งแต 1 เปอรเซนตขึ้นไป แตโดยทั่วไปนั้น สําริดชนิดที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสําหรับใชทํา
เครื่องมือ เครื่องใชจะมีดีบุกผสมอยูประมาณ 10-15 เปอรเซ็นต (Coghlan 1975 : 81)

วัตถุที่เกี่ยวของกับการทําสําริดที่พบที่บานเชียงมีทั้งเบาดินเผาสําหรับหลอมโลหะ และ
แมพิมพหินทรายสําหรับหลอโลหะ ซึ่งหลักฐานแสดงวามีการหลอโลหะขึ้นเองที่บานเชียง สวน
วัตถุสําริดที่ผลิตขึ้นนั้นมีทั้งใบหอก หัวขวาน หัวลูกศร กําไลขอมูล กําไลขอเทา เบ็ดตกปลา วัตถุ
สําริดที่มีความเกาแกที่สุดที่พบที่บานเชียง คือ ใบหอก ที่พบที่หลุมฝงศพหลุมหนึ่งของระยะที่ 3
ของบานเชียงสมัยตน ซึ่งเปนหลุมฝงศพที่มีอายุราว 4,000 ปมาแลว การวิเคราะหองคประกอบทาง
เคมีของใบหอกนี้ พบวาเปนสําริด ทีม่ ีดีบุกผสมอยูประมาณ 3 % ซึ่งจัดวาเปนดีบุกที่อยูในระดับต่ํา
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
ต่ํากวาในสําริดชนิดสามัญ สวนการวิเคราะหลักษณะผลึกของโครงสรางภายในของใบหอกสําริดนี้
พบวา ขั้นตอนแรกในการผลิต คือ การหลอโดยใชแมพิมพชนิด 2 ชิ้นประกบกัน จากนั้นก็มีการนํา
ใบหอกที่หลอไดไปตีขึ้นรูปในขณะที่เย็น เพื่อตกแตงรูปรางใหสมบูรณ แตเนื่องจากการตีในขณะที่
โลหะเย็นนั้น ทําใหโครงสรางเดิมของโลหะเกิดการบิดเบี้ยว และคุณสมบัติของโลหะสําริด
เปลี่ยนไปเปนมีความเปราะมากขึ้น จึงมีการนําเอาใบหอกชิ้นนี้ไปลดความเปราะที่เกิดขึ้นเนื่องจาก
การตีขณะเย็นโดยการเผาใบหอกใหรอนจนเปนสีแดง แลวทิง้ ใหเย็นตัวลงอยางชาๆ กรรมวิธีการใช
ความรอนชวยในการลดความเปราะและทําใหมีความเหนียวเพิ่มขึ้นแกโลหะสําริด เชนนี้ เรียกวา
วิธี “แอ็นนิลลิ่ง”(annealing)

ใบหอกสําริด พบอยูกับโครงกระดูกสมัยตน นับเปนเครื่องสําริด ชิ้นที่เกาแกที่สุดของบานเชียง อายุประมาณ 4,000 ป

จากรองรอยของผลึกโลหะที่แสดงชัดเจนวาใบหอกสําริดชิ้นนี้ทําโดยผานกรรมวิธีแอ็นนีลลิ่งดวย
นั้นชี้ใหเห็นวาชางสําริดรุนแรกของบานเชียงมีความรูและความเขาใจในเทคนิคของการโลหะกรรม
สําริดเปนอยางดี และนอกเหนือจากการหลอสําริดดวยแมพิมพชนิด 2 ชิ้นประกบกันแลว ชางสําริด
สมัยแรกๆของบานเชียงเมื่อระหวาง 3,000-4,000 ปมาแลว ยังทําการหลอโลหะดวยวิธี หลอแบบ
ขี้ผึ้งหาย “Lost-wax casting” อีกดวย กําไลสําริดแบบที่มีลูกกระพรวนประดับ ซึ่งเปนเครื่องประดับ
ที่พบมาตั้งแตชวงระยะทายๆ ของวัฒนธรรมบานเชียงสมัยตนลวนแตหลอขึ้นมาดวยวิธีนี้ทั้งสิ้น

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


เบาดินเผาสําหรับใชในงานหลอ กําไลสําริด อายุ 2,300-1,800 ป

โลหะสําริดของบานเชียงตั้งแตชวงระยะปลายของสมัยตนนั้น สวนใหญเปนชนิดสามัญ ซึ่งหมายถึง


สําริดที่มีทองแดงผสมอยูราว 85-90 % และมีดีบุกราว 10-15% นอกจากนี้ยังมีสําริดชนิดที่ผสม
ตะกั่วเพิ่มลงไปเปนองคประกอบหลักชนิดที่ 3 นอกจากทองแดงและดีบุก การผสมตะกั่วลงไปใน
สําริดนั้นเปนวิธีการทางโลหะวิทยาที่ทําใหโลหะสําริดหลอมเหลวไดงายขึ้น โลหะเหลวมีความ
หนืดลดลง ทําใหการไหลตัวของโลหะเหลวเขาในแมพิมพไดดีขึ้น และยังชวยลดฟองอากาศใน
โลหะเหลว ทําใหวัตถุที่หลอมีคุณภาพดีขึ้น อยางไรก็ตาม สําริดที่มีตะกั่วผสมอยูดวยจะมีความแข็ง
นอยกวาสําริดชนิดที่ที่มีเฉพาะทองแดงและ
ดีบุกเปนสวนผสม จึงไมเหมาะสมที่จะนํามาใช
ทําเครื่องมือ หรือ อาวุธที่ตองการความแข็ง มี
ความเหมาะสมสําหรับนํามาทําเครื่องประดัโดย
เฉพาะที่มีลักษณะรูปรางที่ซับซอนและลวดลาย
ที่สวยงาม เชน กําไลทีม่ ีลูกกระพรวนประดับ
ซึ่งผลิตโดยกรรมวิธีการหลอแบบขี้ผึ้งหาย

กระพรวนสําริด (Bronze Bells อายุประมาณ 4,000ป

วั ต ถุ ดิ บ ที่ นํ า มาใช ใ นการหลอมหล อ ที่ บ า นเชี ย ง คื อ ทองแดงและดี บุ ก คณะผู ศึ ก ษาได


รายงานวา ที่บานเชียงและบริเวณใกลเคียงไมมีแหลงแรทั้งสองชนิด โดยไมมีรองรอยของการทํา
เหมืองแร และทํากระบวนการถลุงแรที่บริเวณบานเชียง นั่นหมายความวาชางหลอโลหะจะตอง
นําเอาวัตถุดิบมาจากแหลงอื่น โดยสันนิษฐาน วาอาจจะมีการซื้อขายแลกเปลี่ยนกับชุมชนอื่นที่เปน
ผูผลิตโลหะโดยเฉพาะในราวประมาณ 2,700-2,500 ปมาแลว จึงเริ่มปรากฏมีการใชเหล็กทํา
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
เครื่องมือเครื่องใชและอาวุธ เชน หัวขวาน ใบหอก มีด หัวลูกศร เปนตน ในชวงนี้สําริดก็ยังคงเปน
ที่นิยมใชอยูแตเปลี่ยนนํามาทํ าเปนเครื่องประดับ กันเป นสวนใหญ ผลจากการวิ เคราะหเหล็ก ที่
นํามาใชกันในสมัยกอนประวัติศาสตรที่บานเชียง พบวาเปนเหล็กที่ไดมาจาก การถลุงสินแรเหล็ก
(iron ores) ดวยวิธีการถลุงเหล็ก แบบที่เรียกวา กระบวนการถลุงโดยตรง (direct smelting process)
วิธีการนี้ตางจากการถลุงเหล็กสมัยโบราณในประเทศจีน ซึ่งนิยม การถลุงดวยกระบวนการทางออม
(indirect smelting process)ในการถลุงเหล็กตามกระบวนการถลุงโดยตรงนั้น จะตองนําแรเหล็กที่
ขุดมาจากเหมืองและนํามาทําความสะอาดใหดีแลวนํามาผสมคลุกเคลากับกับถานในสัดสวนที่
ถูกตองบรรจุลงในเตาถลุง จากนั้นจึงจุดไฟ เติมถานเปนระยะๆ และสูบลมเพื่อใหไฟรอนแรงอยู
ตลอดเวลาทําใหอุณหภูมิภายในเตาสูงขึ้น และมีกาซคารบอนมอนนอกไซดมากพอที่จะทําใหเกิด
ปฏิกริยาทางเคมีที่ทําใหแรเหล็กที่อยูในสภาพของเหล็กออกไซด เปนไปเปนเหล็กบริสุทธิ์ (metallic
iron) นอกจากนี้ในเตาถลุงยังตองมีการเติมเชื้อถลุง (flux) ซึ่งในกรณีของการถลุงเหล็กนั้น ไดแก
สารประเภทแคลเซียมคารบอเนต ซึ่งสามารถไดมาจากปูนขาว กระดูกปน หรือเปลือกหอยปน เปน
ตน เชื้อถลุงจะเปนตัวชวยดึงเอาสิ่งหรือธาตุมลทินตางๆที่ปนอยูในแร รวมตัวกันเปนขี้ตะกรัน
(slag)

วิธีการถลุงดังที่กลาวมาจะไมทําใหเหล็ก
หลอมเหลว แตจะเกิดการรวมตัวกันเปน
เป น ก อ นดลหะ ที่ มี รู พ รุ น ขนาดเล็ ก ๆ
มากมายในโครงสร า งที่ มี ธ าตุ ค าร บ อน
ผสมอยูนอยกวา 0.5 % จัดเปนเหล็กออน
(wrought iron) ซึ่งเกือบเปนเหล็กบริสุทธิ์
สามามรถนํ า ไปตี ขึ้ น รู ป เป น เครื่ อ งมื อ
เครื่องใชไดโดยงาย
การใหความรอนโดยใชเปลวไฟสัมผัสโดยตรงกับโลหะ โดยใชสูบลมแบบโบราณ ในงานตีเหล็ก

วิธีการทําเครื่องมือจากโลหะกลุมเหล็กในสมัยโบราณประกอบดวยการตีขึ้นรูปในขณะที่
เหล็กยังรอน (Hot working) กรรมวิธกี ารตีเหล็กทําไดโดย การนําเหล็กมาเผาในเตาใหรอนแดงกอน
แลวจึงนํามาตีดวยพะเนินบีบ และรีดดวยเหล็กใหมีการเปลี่ยนรูปรางลักษณะตามที่ตองการ หาก
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
เหล็กเย็นตัวลงตองนํากลับมาเผาใหความรอนแดงใหมอีกครั้งกอนนํามาตีซ้ําอีกทําสลับกันอยางนี้
ไปเรื่อยๆ จนกวาจะไดจะไดรูปรางและขนาดตามที่ตองการ หลังจากนั้นจึงนํามาทํากรรมวิธีใน
ขั้นตอนสุดทาย คือ “การชุบ” ขั้นตอนนี้โดยการนําเครื่องมือเหล็กมาเผาใหรอนแดงอีกครั้งกอน
นําไปจุมแชลงในน้ําเย็นทันที การทําเชนนี้ทําใหโครงสรางภายในเปลี่ยนแปลงไปซึ่งเปนหลักการ
ทางโลหะวิทยาที่นํามาใชเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติทางกลขอเหล็กกลาใหมคี วามแข็งเพิ่มสูงขึ้น

ผลการวิเคราะหเครื่องมือเหล็กรุนแรกๆของบานเชียง แสดงใหเห็นวาชางเหล็กสมัยกอน
ประวัติศาสตรในประเทศไทย มีความรูในดานเทคนิคกรรมวิธีการตีเหล็ก และการชุบเหล็กตาม
วิธีการที่กลาวมาขางตนเปนอยางดีพัฒนาการดานโลหะกรรมที่สําคัญอีกประการหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้น
ในชวงสมัยกอนประวัติศาสตรตอนปลายเมื่อราว 2,500-2,300 ปมาแลว คือ การทําสําริดชนิดทีม่ ี
ดีบุกผสมในปริมาณสูง (high tin bronze) หมายถึงสําริดที่มีดีบุกผสมอยูมากถึง 20 % ปริมาณของ
ธาตุดีบุกที่มีสูงมากๆมีผลทําให โลหะผสมมีความแข็งและเปราะมาก มีสีออกสีคลายทอง และสีเงิน
โดยขึ้นกับปริมาณดีบุกที่ผสม คุณสมบัติดานความแข็งแตเปราะของโลหะผสมชนิดนี้เปนขอจํากัด
ที่ไมสามารถผลิตชิ้นงานเครื่องมือเครื่องใชใหไดคุณสมบัติตรงตามที่ตองการใชงานไดยากโดย
วิธีการหลอแบบธรรมดา แตจะตองประยุกตเอาวิธีการตีขึ้นรูปแบบเดียวที่ใชกับเหล็กมาใชรวมดวย
จึงจะไดงานที่คุณสมบัติตรงตามที่ตองการใชงาน คือ มีความแข็ง แตไมเปราะ วิธีการดังกลาวคือ
การเผาใหรอนแดงและตีในขณะที่รอน ทําสลับกันระหวางการเผาและการตีทําตอเนื่องไปเรื่อยๆ
จนกวาจะไดรูปรางตามที่ตองการ และรอบสุดทายจึงนําไปชุบลงไปในน้ําเย็นทันที วิธีการทําดวย
เทคนิคนี้ ทําใหชางโลหะสามารถทําเครื่องประดับและภาชนะสําริดที่มีความแข็งมาก มีความ
ทนทาน และมีสสี วยงามกวาสําริดธรรมดาจากผลการศึกษาวิเคราะหของตัวอยางที่ขุดพบที่บาน
เชียง บงชี้ใหเห็นถึงพัฒนาการทางดานการโลหะกรรมของคนสมัยกอนประวัติศาสตรในพื้นที่ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยเปนอยางดีดังที่ไดกลาวมาขางตน

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


พัฒนาการของงานหลอในประเทศไทย ปจจุบันงานหลอแบบโบราณ โดยวิธขี ี้ผึ้งหายไดมี
วิวัฒนาการ มาตามลําดับเพื่อใหงานที่ผลิตออกมามีคุณภาพดี และตรงตามความตองการของตลาด
มากขึ้น งานที่พบเห็นเปนจํานวนมากตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบัน คือ งานหลอพระพุทธรูป และเครือ่ ง
สังฆภัณฑ ตางๆเชน กระถางธูป เชิงเทียน แจกัน กระดิ่ง ระฆัง เปนตน โดย วิธีการทําดวยแบบหลอ
ถาวร, แบบหลอแบบปูนปาสเตอร หรือบางครั้งใชแบบหลอทรายชื้น มีการนําเอาเทคโนโลยีมาชวย
ในการผลิตในแตละขั้นตอนของการผลิต การหลอทองเหลือง และสําริด แบบโบราณโดยวิธีขี้ผึ้ง
หาย ที่ยังคงมีการทําสืบทอดกันตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน และมีแหงเดียวในประเทศไทย โดย
กลุมหัตถกรรมหลอทองเหลืองบานปะอาว ตําบลปะอาว อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี งานหลอ
ที่ทําสวนมากเปนกระดิ่ง ที่มีขนาดตั้งแตเล็กๆ ประมาณ 2 เซนติเมตร จนถึงขนาดโตที่มีน้ําหนัก
หลายรอยกิโลกรัม ที่นาสนใจ คือ กรรมวิธีที่ทาํ เปนวิธีเดียวกับที่ทําอยูที่บานเชียง เมื่อ 4,000 ป
มาแลว ดังที่ไดกลาวในเบื้องตน

การเสีย่ นหุนขี้ผงึ้ โดยวิธีแบบโบราณ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


ตัวอยางงานหลอที่ทําโดยวิธีขี้ผึ้งหาย

สําหรับงานหลอแบบขี้ผึ้งหายในปจจุบันมีการพัฒนากระบวนการผลิตใหทันสมัยเพื่อใหไดสามารถ
ผลิตงานไดทั้งปริมาณและคุณภาพตามที่ตองการ สามารถหลอไดทั้งงานที่เปนโลหะกลุมที่เปน
เหล็กและไมใชเหล็ก ตัวอยางเชน หัวไมตีกอลฟ ชิ้นสวนในเครื่องยนตของเครื่องบิน และอากาศ
ยานตางๆ เครื่องมือ ทางการแพทย และอุตสาหกรรมการทําเครื่องประดับเปนตน เตาหลอมที่ใชใน
การหลอมหลอในปจจุบัน มีการนําเอาเชื้อเพลิงชนิดตางๆมาใชใหเหมาะสมกับ ชนิดของวัตถุดิบที่
นํามาหลอมหลอ (ขึ้นกันจุดหลอมเหลว) ซึ่งมีทั้ง ไฟฟา แกส ถานโคก และถานไม เปนตน จึงทําให
ขอจํากัดในการผลิตงานหลอลดนอยลง สามารถหลอมหลองานไดหลากหลายมากขึ้น เทคโนโลยี
ในงานหลอ ไดมีการสรางและพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อมาใชกับกระบวนการทํางานหลอมากขึ้น เชน
เทคโนโลยีการออกแบบงานหลอ การออกแบบเตา เทคโนโลยีในขั้นตอนการทําแบบหลอทราย
การควบคุมคุณภาพของน้ําเหล็ก การตรวจสอบงานหลอใหเปนไปตามมาตรฐาน กอนการนําสง

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


ลูกคา เปนตน ทําใหการทํางานหลอมีความงายสะดวก สะอาด ไดงานที่มีความเที่ยงตรงสูง มีของ
เสียต่ํา การทํางานมีความปลอดภัยสูงรวมทั้งผลกระทบทางสิ่งแวดลอมต่ํา อุตสาหกรรมหลอโลหะ
ในประเทศ ปจจุบัน งานโลหะกรรม สวนมากที่พบจะเปนอุตสาหกรรมเหล็กโครงสรางเพื่อใชใน
งานกอสราง และอุตสาหกรรม ผลิตชิ้นสวน โดยเฉพาะกลุมอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต และ
เครื่ อ งจั ก รกลต า งๆ โดย มี ก ารนํ า เข า เหล็ ก และเหล็ ก รู ป พรรณแบบต า ง ในประเทศยั ง ไม มี
อุตสาหกรรมการถลุงแรโดยตรงจากเหมืองแร ดังนั้นในแตละปประเทศไทยตองนําเขาเหล็กปละ
หลายแสนลานบาท และตองใชพลังงานไฟฟาในกระบวนการแปรรูปในโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ
เปนจํานวนมากเชนกัน

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


กระบวนการหลอโลหะ
การทํางานหลอมีขั้นตอนการทําที่แตกตางกันไปตามชนิดของแบบหลอ ในเบื้องตนถาเปนการ
ทําโดยใชหลอทรายชื้นซึ่งเปนที่นิยมใชกันทั่วไปในประเทศ เริ่มตนจาก การออกแบบงานหลอ และ
การสรางกระสวน ใหไดรูปรางตามที่ไดออกแบบไว (ในขั้นตอนนี้งานหลอทุกชนิดจะตองมี
กระสวน) กอนนํามาใชในการขึ้นรูปเปนแบบทรายหลอ เพื่อใหไดแบบหลอที่พรอมที่จะเทหลอ
หากลักษณะงานที่ตองการใหมีโพรงจะตองมีขั้นตอนการทําไสแบบเพิ่มมาอีก และกอนเทจะตอง
ประกอบไสแบบเขากับแบบทรายหลอใหเรียบรอย ในขั้นตอนการเตรียมน้ําโลหะ จะตองมีการ
ควบคุมคุณภาพของน้ําโลหะใหไดสวนผสมตามที่กําหนดเสียกอน จึงนําไปเทลงในแบบหลอที่
เตรียมไว เมื่อเทหลอแลว ปลอยใหงานหลอแข็งตัวสมบูรณและเย็นตัวลงดีเสียกอนจึงทําการลื้อ
แบบหลอในขั้นตอนตอไป งานหลอที่ไดจะตองผานการตรวจสอบเบื้องตนดวยตา และนํามาทํา
ความสะอาด ตัดรูลน หัวปอน และหากตองการตัดแตงดวยเครื่องมือกลจะตองทําใหเสร็จเรียบรอย
เสียกอน ที่จะจัดสงใหกับลูกคาตอไป
การแบงกรรมวิธีการทํางานหลอ ถาแบงตามชนิดของแบบหลอและกรรมวิธีการหลอ ที่นิยมทํากัน
ในปจจุบัน สามรถแบงออกไดดังผังแสดงขางลางนี้ คือ

Molding and Casting

Green sand Precision Chemical bonded


molding molding

Sand casting permanent mold casting shell,co2

Die casting no-bake

Ceramic and investment casting

แผนภูมิแสดงการแบงประเภทงานหลอตามชนิดของแบบหลอ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


เปรียบเทียบการทําแบบหลอและกรรมวิธีการหลอประเภทตางๆ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


ความสําคัญของงานหลอโลหะ
งานหลอโลหะ คือ ชื้นงานโลหะไดจากการเทน้ําโลหะลงไปในโพรงแบบหลอ แลวปลอยใหเย็นตัว
และแข็งตัวจะไดรูปรางของชิ้นงานหลอเหมือนกับรูปรางของโพรงแบบ ซึ่งแตกตางจากขบวนการ
อื่นๆที่ขึ้นรูปเพื่อผลิตเปนชันงานโดยโลหะนั้นไมตองทําใหหลอมเหลว เชน การตีขึ้นรูป ( forging )
, การรีดขึ้นรูป ( rolling ) หรือการรีดดึงขึ้นรูป ซึ่งวิธีการดังกลาวมาจะตองใชวิธีการทางกล แตการ
หล อ ไม ต อ งอาศั ย วิ ธี ก ารทางกล ซึ่ ง แต ล ะวิ ธี ก ารจะมี ข อ ดี แ ละข อ เสี ย แตกต า งกั น ไป แต เ มื่ อ
เปรียบเทียบกันแลวงานหลอจะมีขอดี ดังตอไปนี้
1. สามารถผลิตงานที่มีรูปรางสลับซับซอนทั้งภายในและภายนอกได ซึ่งกรรมวิธี การตีขึ้น
รูปหรือการเชื่อมทําไมไดh
2. โลหะบางชนิดไมสามารถขึ้นรูปไดดวยวิธีอื่น เนื่องจากมีลักษณะธรรมชาติทางโลหะ
วิทยาที่แตกตางไปจากโลหะชนิดอื่น แตสามารถนํามาขึ้นรูปโดยวิธีการหลอได
3. ชิ้นสวนบางอยางถาผลิตดวยวิธีอื่นอาจจะตองผลิตเปนหลายชิ้นกอนนํามาประกอบเปน
ชิ้นงาน แตงานหลอสามารถหลอใหติดกันเปนชิ้นเดียวกันได
4. การขึ้นรูปโดยวิธีการหลอสามารถผลิตในปริมาณมากๆได ( mass production ) ซึ่งทํา
ใหตนทุนการผลิตต่ํากวา และ ไดผลดีกวา
5. การขึ้นรูปโดยวิธีการหลอสามารถผลิตชิ้นงานที่มีขนาดเล็กๆ ไปจนถึงขนาดใหญๆได
งายกวาวิธีอื่น เชน ปมน้ํา หรือ เครือ่ งยนตเรือเดินทะเลที่มีน้ําหนักขนาด 200 ตัน เปน
ตน ในขณะที่กรรมวิธีอนื่ จะทําไดยากกวา
6. คุณสมบัติบางอยาง ดีกวางานที่ไดจากการขึ้นรูปโดยกรรมวิธีอนื่ เชน
• งานหลอสามารถนําไปตกแตงดวยเครื่องมือกลไดงาย และมีคุณสมบัติดาน
การดูดกลืนแรงสั่นสะเทือนไดดี
• งานหลอมีคุณสมบัติสม่ําเสมอกันดีตลอดทั้งชิ้นงาน เมื่อเปรียบเทียบกับงาน
ตีขึ้นรูปจะมีคุณสมบัติที่ไมสม่ําเสมอ
• งานหลอกลุมโลหะเบา ที่ตองการความแข็งแรงสูงและมีน้ําหนักเบาสามารถ
ผลิตไดดวยกรรมวิธีการหลอเทานั้น
• สามารถผลิตงานหลอที่ใชทําชิ้นสวนที่ทําหนาที่เปนแบริ่ง ใหคุณสมบัติดาน
การหลอลื่นที่ดี
• การผลิตโดยวิธีการหลอสามารถควบคุมสวนผสมทางเคมีและคุณสมบัติได

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


บทที่ 2 พัฒนาการของระฆัง

ระฆัง เปนเครื่องดนตรีอยางงายชนิดหนึ่ง มีลักษณะเปนทอปลายเปดหนึ่งดาน มีตั้งแตขนาดเล็ก


เชนกระดิ่ง ไปจนถึงระฆังขนาดใหญ เชนระฆังบิกเบน ที่แขวนในหอนาฬิกา ซึ่งตั้งอยูที่
พระราชวังเวสตมินสเตอร ระฆังสามารถทําจากวัสดุ ตั้งแตแกว เซรามิค แตที่นิยมที่สุดคือโลหะ

ระฆัง มีลักษณะเปนทอปลายเปดขางเดียว แขวนดานที่เปดลงดานลาง อาจจะมีคอนแขวนไวขางใน


ตัวระฆัง หรืออาจจะเอาไวดานนอกก็ได แลวแตวาจะใชวิธีแกวงหรือตี เมื่อระฆังถูกตี พลังงาน
จากดการชนของคอนกับระฆังจะทําใหอากาศในระฆังเกิดการสั่นพองขึ้น ทําใหเกิดเสียงอันกองกัง
วานในโลกตะวันตก ระฆังมักมีคอนแขวนไวภายใน และแขวนไวกับแกนที่หมุนได แกนที่หมุนได
จะมีเชือกโยงลงไป เวลาจะลั่นก็จะกระตุกเชือก ทําใหระฆังแกวง และกระทบกับคอนเกิดเปนเสียง
ขึ้น บางทีระฆังอาจจะแขวนไวเปนราวก็ไดสวนในโลกตะวันออก ระฆังมักใชวิธีการกระแทกดวย
คอนหรือไมทอน แทนที่จะแกวง เทคนิคหลังนี้เปนที่นิยมสําหรับหอนาฬิกาและหอระฆังโดยทั่วไป
เพราะการแกวงอาจทําใหหอเสียหายไดระฆังมักทํามาจากโลหะผสมทองแดงและดีบุก (ทองเหลือง
) ในอัตราสวนที่เหมาะสม โดยมากมักเปน ทองแดง 3 : ดีบุก 1 หลังจากที่หลอเสร็จแลว ก็จะตอง
ถวงเสียง โดยการเพิ่มหรือลดเนื้อวัสดุภายในตัวระฆัง เทียบกับการเคาะสอมเสียงเพื่อใหไดเสียงที่
ตองการระฆังสันนิษฐานวามีพัฒนาการมาจากการใชวัตถุธาตุนานาชนิดกระทบกันเพื่อใหเกิดเปน
เสียงตางๆและกําหนดสัญลักษณของเสียงนั้นเปนการสื่อความหมายที่รับรูและเขาใจสัญญาณที่
เกิดขึ้นนั้น ทั้งนี้มีการเริ่มตนมาจากวัสดุใกลเคียงกับการดําเนินชีวิตของมนุษย อาจใชไม ดิน หิน แร
ธาตุ บางชนิด และพัฒนาไปสูการออกแบบสรางตามคตินิยมและการแปลความหมายจากหลัก
ของศาสนา ในประเทศไทยพบหลักฐานวามีการสรางระฆังมาเปนระยะเวลายาวนานและทํากันเปน
อาชีพเพราะความตองการในการประกอบการใชงาน การจัดเปนองคประกอบทางดสถาปตยกรรม
การตกแตงจัดวางเพื่อใหเกิดความสวยงามแลเพื่อประโยชนดานอื่น

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การสรางระฆังในภูมิภาคตางๆ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
ระฆังที่สรางขึ้นในทวีปเอเซียและประเทศจีน
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
บทที่ ๓
การสรางระฆังในประเทศไทย

การออกแบบสรางระฆังในประเทศไทย สันนิษฐานมีการพัฒนาและสืบทอดกัน
มาเปนเวลานาน และทํากันเปนการเฉพาะกลุมหรือสกุลชางมีเอกลักษณเฉพาตัวเปนกรอบและ
ลักษณะประจําของกลุมชางนั้นๆทั้งนี้จะมีความแตกตางกันในเรื่องของเสียง เนื่องดวยเสียงของ
ระฆังจะมีคาความแปรผันจากวัสดุที่ใชผสมสําหรับการหลอโดยจะวัดคาของระฆังดวยการตีและมี
ความดังกังวานมากนอยกวากันเพียงใด

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
ระฆังที่ปรากฏมีการใชงานศาสนกิจตางๆ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


บทที่ ๔
วัสดุ อุปกรณและเครื่องมือในการสรางระฆัง

วัสดุ อุปกรณและเครื่องมือ

วัสดุโลหะในการหลอระฆังประกอบดวย
๑ ทองแดง ๒ ดีบุก ๓ สังกะสี ๔ ตะกั่ว

ทองแดง
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
ดีบุก

ก.โดยมีอัตราสวนผสมของโลหะสําหรับหลอโกรงประกอบองคระฆังขนาด ๓ กํา ประกอบดวย


ทองแดงชนิด ๙๙ เปอรเซ็นต จํานวน ๘๕ เปอรเซ็นต จํานวนนําหนัก ๕๑ กิโลกรัม
สังกะสีชนิด ๙๙ เปอรเซ็นต จํานวน ๕ เปอรเซ็นต จํานวนนําหนัก ๓ กิโลกรัม
ตะกั่ว ๙๙ เปอรเซ็นต จํานวน ๕ เปอรเซ็นต จํานวนนําหนัก ๓ กิโลกรัม
ดีบุก ๙๙ เปอรเซ็นต จํานวน ๕ เปอรเซ็นต จํานวนนําหนัก ๓ กิโลกรัม

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


ข. อัตราสวนผสมของโลหะสําหรับหลอองคระฆัง ขนาด ๓ กํา ประกอบดวย
ทองแดงชนิด ๙๙ เปอรเซ็นต จํานวน ๘๐.๖๕ เปอรเซ็นต จํานวนนําหนัก ๕๐ กิโลกรัม
ดีบุก ๙๙ เปอรเซ็นต จํานวน ๑๖.๑๓ เปอรเซ็นต จํานวนนําหนัก ๑๐ กิโลกรัม
เงินเม็ดกลม ๑๐๐เปอรเซ็นต จํานวน ๓.๓ เปอรเซ็นต จํานวนนําหนัก ๒ กิโลกรัม

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


สังกะสี

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


วัสดุประกอบ
๑.ทราย ๒. ดินเหนียว ๓. มูลโค ๔. ขี้ผึ้ง ๕. เหล็ก

คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุตางๆ

สารหรือสสาร (Matter) หมายถึง สิ่งตางๆที่อยูรอบตัวของเรา ซึ่งเราสามารถสัมผัสไดดวย


ประสาททั้ง 5 มีมวล มีรูปราง มีปริมาตร ตองการที่อยู และมีการเปลี่ยนแปลง
จงยกตัวอยางสารหรือสสารที่อยูรอบๆตัวเราใหไดมากที่สุด
สารที่อยูรอบๆตัวเราและพบเห็นเปนประจํา เชน น้ํา เงิน ทองคํา ทองแดง เหล็ก น้ํามันเชื้อ
เพิง เกลือแกง น้ําปลา หิน ทราย คอนกรีต ปูนซีเมนต
2.1 สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวหรือลักษณะประจําตัวของสาร เชน สถานะ สี กลิ่น
รส การละลาย จุดเดือด การนําไฟฟา การเกิดสนิม การเผาไหม เปนตน
สมบัติตางๆของสาร แบงเปน 2 ประเภท คือ
ก. สมบัติทางกายภาพ หมายถึง สมบัติของสารที่สามารถสังเกตเห็นไดงายจากรูปรางลักษณะ
ภายนอก เชน สถานะ สี กลิ่น รส รูปราง ปริมาตร การนําไฟฟา การนําความรอน ความหนาแนน
ความถวงจําเพาะ จุดเดือด จุดหลอมเหลว การละลาย เปนตน
การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ จะไมมีการเปลี่ยนแปลงองคประกอบของสาร ไมมีสารใหม
เกิดขึ้น สวนใหญเปนการเปลี่ยนแปลงทางดานรูปลักษณภายนอกเทานั้น เชน การเปลี่ยนสถานะ
การเกิดสารละลาย การเปลี่ยนอุณหภูมิ การสึกกรอน เปนตน
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
ข. สมบัติทางเคมี หมายถึง สมบัติที่เกี่ยวของกับองคประกอบภายในของสาร และการเกิด
ปฏิกิริยาเคมี เชน การเผาไหม การเกิดสนิม การผุพัง การระเบิด เปนตน
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี จะตองมีสารใหมเกิดขึ้นเสมอ มีการเปลี่ยนแปลง
องคประกอบภายใน และมีผลทําใหมีการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพของสารดวย ทําใหสาร
ใหมที่เกิดขึ้น มีสมบัติแตกตางไปจากสารเดิม เชน การเกิดสนิมเหล็ก การเผาไหมของเชื้อเพลิง การ
สังเคราะหดวยแสง เปนตน
การเปลี่ยนแปลงตอไปนี้เปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือทางเคมี การระเหยของน้ํา
การตมน้ํา ขาวสารเปลี่ยนเปนขาวสุก เกลือละลายน้ํา ผลไมดิบเปลี่ยนเปนผลไมสุก การจุดเทียนไข
เนื้อดิบเปนเนื้อสุก
ใหนักเรียนยกตัวอยางการเปลี่ยนแปลงของสารทั้งทางกายภาพ และทางเคมี
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
1. มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางภายนอก
2. ไมมีการเปลี่ยนแปลงองคประกอบภายใน
3. ไมมีสารใหมเกิดขึ้น ภายหลังการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสารยังคง
เหมือนเดิม
4. สามารถทําใหกลับสูสภาพเดิมไดงาย
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
1. มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางภายนอก
2. มีการเปลี่ยนแปลงองคประกอบภายใน
3. มีสารใหมเกิดขึ้น ภายหลังการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสารแตกตางไป
จากเดิม
4. ทําใหกลับสูสภาพเดิมไดยาก
สมบัติตางๆของสารและการเปลี่ยนแปลงของสารสังเกตไดจากลักษณะภายนอกและจาก
การทดลอง
โดยวิธีตางๆ ทําใหนักเคมีนํามาใชเปนเกณฑในการจัดจําพวกสารออกเปนหมวดหมู เพื่อสะดวกใน
การศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของสาร
1. นําน้ําแข็ง 10 กรัม ใสลงในหลอดทดลอง สังเกตและวัดอุณหภูมิทุก 2 นาที จนกวาน้ําแข็ง
จะละลายหมด แลวนําไปตมจนเดือด สังเกตและวัดอุณหภูมิทุก 2 นาที จนน้ําเกือบแหง

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


2. นําลูกเหม็นใสลงบนแผนกระจก 2 แผนๆ ละ 1 ชอนเบอร 1 นํากระจกแผนแรกไปวาง ตากแดด
15 นาที สวนแผนที่ 2 วางไวในที่รม สังเกตและบันทึกผล
3. นําน้ําตาลทราย 10 กรัม เติมลงในน้ํา 20 cm3 คนจนกระทั่งน้ําตาลละลายหมด สังเกต
การเปลี่ยนแปลงและชิมสารละลาย
4. นําสารละลายโซเดียมคารบอเนต เขมขน 0.1 mol/cm3 จํานวน 5 cm3 เติมลงในสารละลาย
แคลเซียมคลอไรด เขมขน 0.1 mol/cm3 จํานวน 5 cm3 เขยาสารละลาย สังเกตและบันทึกผล การ
ทดลองในขอใดเปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและการทดลองในขอใดเปนการ เปลีย่ นแปลงทาง
เคมี
การทดลองในขอ 1 , 2, 3 และ 4 มีสารใหมเกิดขึ้นหรือไม

2.2 การจําแนกสาร
ในโลกของเรามีสารตางๆเปนจํานวนมาก ในปจจุบันมนุษยรูจักสารมากกวาสองลานชนิด
ซึ่งสาร
บางอยางก็มีสมบัติคลายกัน บางอยางก็มีสมบัติแตกตางกัน เพื่อสะดวกในการศึกษาคนควา จึงตอง
มีการจําแนก
หรือจัดหมวดหมูของสาร โดยอาศัยสมบัติตางๆของสารเปนเกณฑตางๆ เชน การนําไฟฟา สถานะ
องคประกอบทางเคมีของสาร การละลาย ลักษณะเนื้อของสาร ขนาดอนุภาค เปนตน
จงจัดหมวดหมูของสารตอไปนี้พรอมทั้งบอกเกณฑในการจัดหมวดหมูดวย น้ําตาลทราย
น้ําเชื่อม เกลือแกง น้ําสมสายชู ลูกเหม็น น้ํากลั่น น้ําแข็ง เหล็ก ทองแดง กระดาษ ปากกา น้ําหมึก สี
น้ํา อากาศ กาซหุงตม
ของสิ่งของเหลานั้นพรอมทั้งบอกเกณฑในการจัดหมวดหมูดวยเพื่อใหการจัดหมวดหมูของสาร
เปนไปใน แนวทางเดียวกัน และเปนสากล จึงใชลักษณะเนื้อของสารเปนเกณฑในการจัดหมวดหมู
ของสาร ซึ่งสามารถจัดไดดงนี้
1. สารเนื้อเดียว (Homogeneous substance) หมายถึง สารที่มีลักษณะเนื้อของสารและสมบัติ
เหมือนกันตลอดทั้งมวลของสารนั้น เชน น้ําเกลือ น้ํากลั่น ทองแดง ลูกเหม็น น้ําตาลทราย
แอลกอฮอล เปนตน
2. สารเนื้อผสม (Heterogeneous substance) หมายถึง สารที่มีลักษณะเนื้อของสารและสมบัติ
ไมเหมือนกันตลอดทั้งมวลของสารนั้น สามารถเห็นองคประกอบที่แตกตางกันได เชน ดินปน
พริกกับเกลือ น้ําโคลน น้าํ แปง คอนกรีต เปนตน

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


ใหนักเรียนยกตัวอยางสารที่พบในชีวติ ประจําวันวาสารใดเปนสารเนื้อเดียวและสารใดเปนสารเนื้อ
ผสม
2.3 สารเนื้อเดียว
การทดลองที่ 2 องคประกอบของสารเนื้อเดียว
1. สังเกตลักษณะเนื้อสารของน้ํากลั่น และสารละลายโซเดียมคลอไรด
2. หยดน้ํากลั่น 2 – 3 หยด ลงในถาดหลุมแลวนําไปตั้งไฟ สังเกตจนกระทั่งน้ําแหง
3.หยดสารละลายโซเดียมคลอไรด 2 – 3 หยด ลงในถาดหลุมแลวนําไปตั้งไฟ สังเกตจนกระทั่ง
สารละลายแหง
ลักษณะเนื้อสารของน้ํากลั่นและสารละลายโซเดียมคลอไรดเปนเนื้อเดียวหรือไมอยางไร
จงบอกจํานวนองคประกอบของน้ํากลั่นและสารละลายโซเดียมคลอไรด
สารเนื้อเดียวที่มีองคประกอบทางกายภาพเพียงอยางเดียว ไมสามารถแยกองคประกอบดวย
วิธีทาง
กายภาพไดอีก เรียกวา สารบริสุทธิ์ (Pure substance) สวนสารเนื้อเดียวที่มีองคประกอบมากกวา 1
อยางและสามารถแยกองคประกอบออกจากกันดวยวิธีทางกายภาพ เรียกวา ของผสมเนื้อเดียว
(Heterogeneous mixture) หรือ สารละลาย (Solution)
2.4 สารบริสทุ ธิ์
สารบริสุทธิ์ เปนสารเนื้อเดียวที่มีองคประกอบเดียวจริงหรือไม นักเรียนทําการทดลองตอไปนี้
การทดลองที่ 3 องคประกอบของสารบริสุทธิ์
1. ทดลองแยกน้ําดวยกระแสไฟฟา โดยเติมน้ํากลั่นลงในอุปกรณที่ใชแยกน้าํ ดวยกระแสไฟฟา
เติมโซเดียมคลอไรดลงไปเล็กนอยเพื่อชวยในการนําไฟฟา สังเกตที่ขั้วไฟฟาทั้งสอง
2. เก็บกาซที่ไดในหลอดทดลองและทดสอบสมบัติของกาซทั้งสองดวยความระมัดระวัง โดยครู
แนะนําวิธีการทดสอบที่ถูกตองและปลอดภัย
การแยกน้ําดวยกระแสไฟฟาเปนการเปลี่ยนแปลงกายภาพหรือทางเคมี
การทดลองจะเห็นวา สารบริสุทธิ์ มีองคประกอบมากกวา 1 ชนิด ได แตตองเปน
องคประกอบทางเคมีและสามารถแยกไดดวยวิธีการทางเคมีเทานั้น ไมสามารถแยกไดดวยวิธีทาง
กายภาพสารบริสุทธิ์ที่มีองคประกอบเพียงชนิดเดียว ไมสามารถแยกองคประกอบไดอีก เรียกวา
ธาตุ (Element)สวนสารบริสุทธิ์ที่มีองคประกอบมากกวา 1 ชนิดและสามารถแยกไดดวยวิธีทางเคมี
เรียกวา สารประกอบ(Compound)

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ เนื้อเดียว ที่มีองคประกอบเดียว คือ อะตอม (Atom) ของธาตุนั้นๆ เชน
ทองคํา ทองแดง เหล็ก ออกซิเจน ไฮโดรเจน คลอรีน แคลเซียม เปนตน นักเคมีแบงธาตุ ออกเปน
โลหะ อโลหะ และ กึ่งโลหะกึ่งอโลหะ โดยใชสมบัติตางๆเปนเกณฑ เชน การนําไฟฟา จุดเดือด
การนําความรอน การเกิดปฏิกิริยาเคมี ความเปนกรด – เบส เปนตน นักเรียนทําการทดลองเพื่อ
ตรวจสอบสมบัติของธาตุตามการทดลองตอไปนี้

การทดลองที่ 4 การศึกษาสมบัติของธาตุ
1. ศึกษาความแข็งและความเหนียว ของ ทองแดง สังกะสี ตะกั่ว ถาน แกรไฟต โดย
การสังเกต และตีดวยฆอน
2. ศึกษาการนําไฟฟาของ ทองแดง สังกะสี ตะกั่ว ถาน แกรไฟต
3. ศึกษาการนําความรอนของ ทองแดง สังกะสี ตะกั่ว ถาน แกรไฟต
โดยใช ความเหนียวและความแข็ง การนําไฟฟา และ การนําความรอน เปนเกณฑวาสารใดควรจัด
อยูในพวกเดียวกันมีสารใดเปน โลหะ อโลหะ และ กึ่งโลหะ
ธาตุโลหะ (Metal) เปนธาตุที่มีสมบัติ ดังนี้
1. มีสถานะเปนของแข็ง ยกเวนปรอทเปนของเหลว
2. แข็งเหนียว ดึงเปนเสนและตีเปนแผนได
3. เคาะมีเสียงดังกังวาน
4. มีผิวมันวาว สะทอนแสงไดดี
5. เปนตัวนําความรอนและไฟฟา
6. สวนใหญจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง

ธาตุอโลหะ (Non metal) เปนธาตุที่มีสมบัติดังนี้


1. มีทั้ง 3 สถานะ เชน คารบอน กํามะถัน เปนของแข็ง โบรมีน เปนของเหลว
ออกซิเจน ไฮโดรเจน เปนกาซ เปนตน
2. แข็งแตเปราะหักงาย ดึงเปนเสนหรือตีเปนแผนไมได
3. เคาะไมมีเสียงดังกังวาล
4. ผิวดานไมมันวาว สะทอนแสงไดไมดี
5. เปนฉนวนความรอนและไฟฟา
6. สวนใหญจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ํา
จากแหลงเรียนรูตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
ธาตุกึ่งโลหะกึ่งอโลหะหรือเมตัลลอยด (Metalloid) เปนธาตุที่มีสมบัติอยูระหวาโลหะกับอโลหะ
ธาตุซิลิคอน มีจุดเดือดสูง นําไฟฟาไดเหมือนโลหะ แตแข็งและเปราะ เหมือนอโลหะ เปนตน
สารประกอบ ( Compound) เปนสารบริสุทธิ์เนื้อเดียวที่มีองคประกอบเดียวคือ โมเลกุลของสาร
ซึ่งโมเลกุลของสารประกอบจะประกอบดวยอะตอมของธาตุตางๆมารวมตัวกันดวยวิธีทางเคมีใน
อัตราสวนของมวลและจํานวนอะตอมที่คงที่ เชน น้ํา ประกอบดวยธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม และ
ธาตุออกซิเจน 1 อะตอม คารบอนไดออกไซด ประกอบดวย ธาตุคารบอน 1 อะตอม และ ธาตุ
ออกซิเจน 2 อะตอม เปนตน
เมื่ออะตอมของธาตุมารวมตัวกันดวยวิธีทางเคมี จะเกิดสารประกอบที่มีสมบัติตางไปจากสารเดิม
ธาตุไฮโดรเจน ธาตุออกซิเจน น้ํา
1. มีสถานะเปนกาซ 1. มีสถานะเปนกาซ 1. เปนของเหลว
2. ติดไฟได 2. ไมติดไฟ แตชวยใหไฟติด 2. ใชสาํ หรับดับไฟ
3. จุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ํา 3. จุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ํา 3. จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง
อินเทอรเน็ต เปนตน
สัญลักษณทางเคมีของธาตุและสารประกอบ
สัญลักษณทางเคมีของธาตุ คือ ตัวอักษรในภาษาอังกฤษที่ใชเขียนแทนชื่อและอะตอมของธาตุนั้น
มีหลักในการเขียนดังนี้
1. ใชอักษรตัวแรกของชื่อธาตุ โดยเขียนเปนตัวพิมพใหญ
2. ถาอักษรตัวหนาซ้ํากันใหเขียนตามดวยอักษรตัวถัดไป โดยใชตัวพิมพเล็ก
3. สัญลักษณของธาตุบางชนิดเปนคําในภาษาลาติน จึงไมตรงกับคําในภาษาอังกฤษ
ตัวอยางเชน Hydrogen ใชสัญลักษณ H , Helium ใชสัญลักษณ He , เงิน(Silver) ใชสัญลักษณ Ag มา
จาก Argentum เปนตน

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


สัญลักษณของธาตุที่ควรรูจัก
ชื่อธาตุ สัญลักษณของธาตุ
1. ไฮโดรเจน H
2. ออกซิเจน O
3 . ไนโตรเจน N
4. ฟลูออรีน F
5. คลอรีน Cl
6. โบรมีน Br
7. ไอโอดีน I
8. ฟอสฟอรัส P
9. กํามะถัน S
10. คารบอน C
11. ทองคํา Au
12. ทองแดง Cu
13. ตะกั่ว Pb
14. ปรอท Hg
15. แคลเซียม Ca
16. แมกเนเซียม Mg
17. โซเดียม Na
18. เหล็ก Fe
19. มังกานีส Mn
20. ฮีเลียม He
สัญลักษณของสารประกอบหรือสูตรทางเคมีของสารประกอบ คือ หมูสัญลักษณของธาตุที่เขียน
เพื่อแสดงใหเห็นวาสารประกอบนั้น ประกอบดวยธาตุอะไรบาง พรอมทั้งระบุจํานวนอะตอมของ
ธาตุที่เปนองคประกอบเปนตัวเลขหอยไวที่ทายสัญลักษณของธาตุที่เปนองคประกอบนั้น เชน H2O
เปนสูตรทางเคมีของน้ํา ประกอบดวยธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม และ ธาตุออกซิเจน 1 อะตอม

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


สูตรเคมีของธาตุและสารประกอบบางชนิด
ชื่อสารประกอบ สูตรเคมี
น้ํา H2O กาซคารบอนไดออกไซด CO2 กาซไฮโดรเจน H2 กาซออกซิเจน O2 กาซไนโตรเจน N2
โซเดียมคลอไรด NaCl แคลเซียมคารบอเนต CaCO3 โซเดียมคารบอเนต NaCO3 แคลเซียมคลอ
ไรด CaCl2 กรดไฮโดรคลอริก HCl กรดซัลฟวริก H2SO4 กรดอะซิติก CH3COOH (ตัวเลขตอง
หอยอยูหลังตัวอักษรหนาตัวเลข)
2.5 สารละลาย (Solution)
สารละลาย เปนของผสมเนื้อเดียวที่ประกอบดวยสารบริสุทธิ์ตั้งแตสองชนิดขึ้นไปละลาย
รวมเปน เนื้อเดียวกัน มีสัดสวนนขององคประกอบเหมือนกันตลอดทั้งสารละลายนั้น สารละลายจะ
มีสมบัติ บางประการเหมือนสมบัติของสารบริสุทธิ์ที่เปนองคประกอบ เราสามารถแบง
องคประกอบของสารละลาย
ไดเปน 2 ชนิด คือ ตัวทําละลาย (Solvent) ตัวถูกละลาย (Solute) โดยมีเกณฑในการกําหนด ดังนี้
1. สารละลายมีสถานะเหมือนสารใด ใหสารนั้นเปนตัวทําละลาย เชน สารละลายโซเดียมคลอไรด
ประกอบดวย น้ํา กับ โซเดียมคลอไรด สารละลายมีสถานะเปนของเหลวเหมือนน้ํา ดังนั้น ดดน้ํา
เปนตัวทําละลาย โซเดียมคลอไรด เปนตัวถูกละลาย
2. ในกรณีทสี่ ารละลาย และสารบริสทุ ธิ์ที่เปนองคประกอบ มีสถานะเดียวกัน สารใดมีปริมาณมาก
ที่สุด สารนัน้ เปนตัวทําละลาย เชน นาก เปนสารละลายที่มสี ถานะเปนของแข็งเกิดจาก ทองคําผสม
กับทองแดง โดย นาก 40 เปอรเซ็นต ประกอบดวย ทองคํา รอยละ 40 ทองแดงรอยละ 60 ดังนั้น
ทองคําเปนตัวถูกละลาย ทองแดงเปนตัวทําละลาย ถานาก 60 เปอรเซ็นต จะประกอบดวย ทองคํา
รอยละ 60 ทองแดงรอยละ 40 ดังนั้น ทองคําเปนตัวทําละลายเปรียบเทียบสมบัติของสารละลายกับ
สมบัติขององคประกอบตัวทําละลาย ตัวถูกละลาย สารละลาย น้ํา เปนของเหลว ไมมีรส เกลือแกง
เปนของแข็ง มีรสเค็ม สารละลายเกลือ เปนของเหลว มีรสเค็มน้ํา เปนของเหลว ไมมีรสและกลิ่น
แอลกอฮอล เปนของเหลว มีกลิ่น สารละลายแอลกอฮอลเปนของเหลวมีกลิ่นแอลกอฮอล การบูร
เปนของแข็งสีขาว มีกลิ่นเฉพาะตัว พิมเสน เปนของแข็งสีขาว มีกลิ่นเฉพาะตัว สารละลายเปน
ของแข็งสีขาวมีกลิ่นของพิมเสนและการบูรจะเห็นวาสารละลายมีสมบัติของทั้งตัวทําละลายและตัว
ถูกละลายอยูดวยกัน
องคประกอบ
สารใดเปนตัวทําละลายและสารใดเปนตัวถูกละลาย
สารเนื้อผสมสารเนื้อผสมเปนของผสมที่ไดจากการนําสารตั้งแตสองชนิดขึ้นไปมารวมกันแลวสาร
เหลานั้น
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
ไมรวมเปนเนื้อเดียวกัน หรือแยกชั้นจากกัน สามารถมองเห็นและระบุชนิดขององคประกอบได
เชน พริกกับเกลือ สามารถบอกไดวาสวนไหนคือพริก สวนไหนคือเกลือ องคประกอบแตละสวน
ยังคงสมบัติเดิม ทุกประการ

เปรียบเทียบขนาดของอนุภาคในสารละลายกับสารเนื้อผสม
ชนิดของสาร เสนผาศูนยกลางของอนุภาค(cm)
1. สารละลาย นอยกวา 10-7
2. คอลลอยด 10-7– 10-4
3. สารแขวนลอย มากกวา 10-4
คอลลอยด (Colloid) เปนสารเนื้อผสมที่มีขนาดอนุภาคของตัวถูกละลายใหญกวาอนุภาคใน
สารละลายมีลักษณะขนคลายกาว เชน นมสด วุน เยลลี่ ฟองน้ํา สบู น้ําสลัด น้ําแปง เปนตน
องคประกอบของคอลลอยดจะไมรวมเปนเนื้อเดียวกัน จะแยกชั้นออกจากกัน จึงตองมีตัวประสาน (
Emulsifier) เชน น้ําสบูเปนตัวประสานใหน้ํากับน้ํามันไมแยกชั้นจากกัน โดยน้ํามันจะแตกเปนเม็ด
เล็กๆ แทรกอยูในน้ํา สมบัติอีกอยางหนึ่งของคอลลอยด คือ เมื่อแสงเดินทางผานคอลลอยด จะ
มองเห็นเปน ลําแสง เรียกปรากฏการณนี้วา ปรากฏการณทินดอลล(Tyndall effect) สารแขวนลอย
(Suspension) เปนสารเนื้อผสมที่มีขนาดอนุภาคใหญกวาอนุภาคในคอลลอยด สามารถ
มองเห็นสวยผสมไดชัดเจน เชน น้ําโคลน คอนกรีต น้ําพริก ดินปน เปนตน

ลักษณะทางกายภาพของเนื้อดิน (Soil Texture)


คุณสมบัติที่เรียกวาเนื้อดินนั้น ไดแก ความเหนียว ความหยาบ หรือละเอียดของดิน ที่
เรามีความรูสึกเมื่อเราหยิบเอาดินที่เปยกพอหมาดๆ ขึ้นมาบี้ดวยนิ้วหัวแมมือกับนิ้วชี้ ความรูสึกที่
เกิดขึ้นวาดินบางกอนเหนียว บางกอนหยาบและสากมือนั้น เนื่องจาก อนุภาคของแรหรืออนินท
รียสารที่เปนองคประกอบอยูในดินนั้นมีขนาดตางกัน อยูรวมกันทั้งหยาบ และละเอียดเปน
ปริมาณสัดสวนแตกตางกันออกไปในแตละเนื้อดิน เนื้อดินมีอยูทั้งหมด ๑๒ ชนิด แตก็สามารถ
แบงออกเปนกลุมเนื้อดินได ๔ กลุม ดังแสดงอยูในตารางขางลางนี้

ตารางแสดงเนื้อดินชนิดตางๆ ในแตละกลุมเนื้อดิน
ชนิดเนื้อดิน กลุมเนื้อดิน
๑. ดินเหนียว กลุมดินเหนียวที่มีอนุภาคดินเหนียวตั้งแต ๔๐% ขึ้นไป

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


๒. ดินเหนียวปนทราย
๓. ดินเหนียวปนตะกอน
๔. ดินรวนปนดินเหนียว
๕. ดินรวนเหนียวปน กลุมดินคอนขาวเหนียว หรือดินรวนเหนียวมีอนุภาคดินเหนียว
ตะกอน ตั้งแต ๒๐-๔๐% ขึ้นไป
๖. ดินรวนเหนียวปนทราย
๗. ดินรวน
๘. ดินรวนปนตะกอน กลุมดินรวนที่มีอนุภาคดินเหนียวต่ํากวา ๓๐%
๙.ดินตะกอน
๑๐. ดินรวนปนทราย กลุมดินทราย
๑๑. ดินทรายปนดินรวน มีอนุภาคดินเหนียวต่ํากวา ๒๐%
๑๒. ดินทราย มีอนุภาคดินทรายมากกวา ๔๐% ขึ้นไป

ความสํ า คั ญ ของเนื้ อ ดิ น ที่ มี ต อ ความเหมาะสมในการเพาะปลู ก


๑. ดานการเตรียมดิน กลุมดินเหนียวและกลุมดินคอนขางเหนียวจะไถพรวนลําบาก
กลาวคือ เมื่อเปยกจะเหนียวจัด ถาแหงก็จะแข็งจัดการเตรียมดินเพื่อการปลูกพืชทําไดลําบากกวา
ก ลุ ม ดิ น ร ว น แ ล ะ ก ลุ ม ดิ น ท ร า ย ซึ่ ง จ ะ ไ ถ พ ร ว น ง า ย ก ว า
๒. ดานความอุดมสมบูรณของดิน กลุมดินเหนียวและคอนขางเหนียวจะมีความสามารถ
อุมปุย หรือธาตุอาหารพืชและน้ําไวในดินไดมากกวากลุมดินรวนและดินทราย ดังนั้นถาเรา
สามารถทําใหดินเหนียวและดินคอนขางเหนียวมีสภาพไมแนนทึบ ดินมีความโปรงพอสมควร ดิน
พวกนี้จะปลูกพืชไดงามดี ไมตองการปุยมากนัก ตรงขามกับกลุมดินรวนและดินทรายซึ่งจะอุมน้ํา
และปุยไดนอย ถาดินไมไดรับปุย หรืออินทรียวัตถุในดินมีอยูนอย พืชที่ปลูกมักจะไมคอยงาม ตอง
ร ด น้ํ า บ อ ย ใ ส ปุ ย บ อ ย ๆ พื ช จึ ง จ ะ ง อ ก ง า ม ดี
๓. ความโปรงและรวนดซุย ดินในกลุมดินเหนียวมักจะแนนทึบ ตองพรวนบอยๆ หรือ
ตองจัดการเรื่องการระบายน้ําใหดี เพราะจะขังน้ําไดงาย ทําใหรากพืชเนาและไมสามารถดูดน้ําและ
ปุยไดอยางปกติ จึงตองหาวิธีทําใหดินพวกนี้โปรง เชน ใชปุยคอกและปุยหมักผสมดินตอนเตรียม
ดินใหมากๆ สวนดินรวนและดินทรายจะมีคุณสมบัติโปรง การระบายน้ําดี อากาศถายเทดี เหมาะ
กับการเจริญเติบโต และการดึงดูดปุยและน้ําในดินของราก แตบางครั้งดินที่มีทรายปนอยูมากจะ
โปรงจนเกินไป พืชขาดน้ํางายเพราะดินแหงเร็ว ตองรดน้ําบอยๆ ทําใหการดูแลลําบาก เรา
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
สามารถเพิ่มความอุมน้ําของดินรวนและดินทรายได โดยการใชปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมัก
หรืออินทรียวัตถุตางๆ ผสมกับดินใหมากๆ

ตะกั่ว (อังกฤษ: Lead) เปนธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 82 และสัญลักษณคือ Pb (ละติน:


Plumbum) ตะกั่วเปนธาตุโลหะ เนื้อออนนุมสามารถยืดได เมื่อตัดใหมๆ จะมีสีขาวอมน้ําเงิน
แตเมื่อถูกกับอากาศสีจะเปลี่ยนเปนสีเทา ตะกั่วเปนโลหะหนักที่มีพิษ ใชทําวัสดุกอสราง แบตเตอรี่
กระสุนปน โลหะผสม
1. แหลงแรปฐมภูมิซึ่งใหสินแรที่เปนสารประกอบซัลไฟด
เชน แรตะกั่ว-กาลีนา แหลงแรปฐมภูมิ ไดแก
1. แหลงแรสะสมตัวในชั้นหินอุมแร (stratabound-massive sulfide
deposit) เชน แหลงแรตะกั่ว-สังกะสี บานสองทอ อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
2. แหลงแรแบบสการน (skarn deposit) ซึ่งเกิดจากกระบวนการแปรสภาพโดยการ
แทนที่ ระหวางหินอัคนีแทรกซอน เชน หินไดออไรตพอฟรี กับหินคารบอเนต เชน
หินปูน ตัวอยางแหลงแรแบบนี้ คือ ที่แหลงตะกั่ว-สังกะสีซัลไฟด ภูขุม บานโคกมน
อําเภอเมือง จังหวัดเลย ที่บานเมืองกี๊ด อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม และที่เขาถ้ําทะลุ
อําเภอบันนังสตาร จังหวัดยะลา
3. แหลงแรแบบสายแร (vein-type deposit) สวนใหญเปนแรตะกั่ว-สังกะสีซัลไฟด
ซึ่งเกิดในสายแรที่น้ําแรแยกตัวออกจากหินอัคนี เชนที่ภูชาง บานโคกใหญ อําเภอทาลี่
จังหวัดเลย ที่บานแมกะใน บานดงหลวง อําเภอแมสะเรียง จังหวัดแมฮองสอน
2. แหลงแรทุติยภูมิ
เปนแหลงแรที่เกิดจากกระบวนการแปรสภาพของแรปฐมภูมิซึ่งสวนใหญเปนแรซัลไฟด เปน
แรที่เปนสารประกอบของออกไซด คารบอเนต และซิลิเกต เชนแหลงแรตะกั่วคารบอเนต-
เซรัสไซต ที่บานบองาม อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี และแหลงแรสังกะสีซิลิเกต-เฮมิ
มอรไฟต สังกะสีออกไซด-ซิงคไคต และสังกะสีคารบอเนต-สมิทซอไนต ที่ดอยผาแดง อําเภอ
แมสอด จังหวัดตาก สินแรตะกั่วถลุงไดโลหะตะกั่วีใชในอุตสาหกรรมตาง ๆ ภายในประเทศ
ดังนี้
โลหะตะกั่ว

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


เปนวัตถุดิบสําคัญในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ อุตสาหกรรมโลหะบัดกรี ซึ่งเปนโลหะผสมระหวาง
ดีบุกกับตะกั่วในอัตราสวนตาง ๆ กัน โลหะบัดกรีใชในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส
เครื่องใชไฟฟา หมอน้ํารถยนต สวนประกอบของคอมพิวเตอรและแผงวงจรไฟฟา นอกจากนี้ยังใช
โลหะตะกั่วในโรงชุบเคลือบเหล็กดวยสังกะสี ลูกแหลูกอวนที่ใชในอุตสาหกรรมประมง ใชในการ
ทํากระดาษตะกั่ว ทอน้ํา แผนตะกั่ว ตัวพิมพ กระสุนปน สะพานไฟฟา ทําผนังกั้นรังสีในเครื่อง
หรือหองปฏิบัติการเกี่ยวกับปฏิกรณปรมาณู ใชตะกั่วในการทําสี และทําผงตะกั่วแดงตะกั่วเหลือง
สําหรับเคลือบภาชนะตาง ๆ
โลหะและโลหะผสมสังกะสี
ใชในอุตสาหกรรมเหล็กชุบ โดยการใชโลหะสังกะสีเปนตัวเคลือบชุบเหล็กกลา เชน
อุตสาหกรรมแผนเหล็กชุบสังกะสี ขอตอทอเหล็กชุบสังกะสี ลวดเหล็กชุบสังกะสี เปนตน ใช
ในอุตสาหกรรมทองเหลืองซึ่งเปนโลหะผสมระหวางทองแดงกับสังกะสี เปนโลหะที่มคี วาม
แข็งแรงทนตอการผุกรอน ใชขึ้นรูปหรือหลอผลิตภัณฑตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการทํา
อุปกรณตกแตงบาน ภาชนะและเครื่องประดับตาง ๆ ใชในอุตสาหกรรมโลหะสังกะสีผสม
เชน ผสมอะลูมิเนียมและแมกนีเซียม ทําใหมีความแข็งแกรงและทนตอการผุกรอนไดดี นํามา
หลอเปนรูปตางๆ ไดงาย และคงขนาดแมนยํา จึงใชมากในอุตสาหกรรมหลอผลิตภัณฑ เชน
คารบูเรเตอร มือจับประตู บานพับประตู ของเด็กเลน เปนตน ใชในอุตสาหกรรมสังกะสี
ออกไซด ซึ่งเปนสารประกอบของสังกะสีที่มีสภาพเปนแปงหรือผง ใชในอุตสาหกรรมยาง สี
เซรามิก ยา เครื่องสําอาง และอาหารสัตว และใชในอุตสาหกรรมถานไฟฉาย

จังหวัดที่เคยมีการผลิตแรตะกั่ว ไดแก จังหวัดพัทลุง ยะลา ลําพูน และแพร จังหวัดกาญจนบุรีเปน


จังหวัดเดียวในปจจุบันที่ยังคงมีการผลิตแรตะกั่วคารบอเนต และตะกั่วซัลไฟดที่มีแรสังกะสีปนอยู
ดวย โดยแหลงผลิตที่สําคัญคือที่แหลงสองทอ บองาม บอใหญ และบอนอย อําเภอทองผาภูมิ
สินแรตะกั่วคารบอเนตจะสงไปถลุงยังบริษัทโลหะตะกั่วไทย ที่อําเภอลาดหญา จังหวัดกาญจนบุรี
ซึ่งเปนผูผลิตโลหะตะกั่วจากสินแรตะกั่วคารบอเนตเพียงรายเดียวของประเทศ
สินแรตะกั่วของประเทศในป 2539 – 2541 ผลิตได 49,243; 12,438 และ 15,146
เมตริกตัน คิดเปนมูลคา 346.4; 79.9; และ 108.1 ลานบาท ตามลําดับ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


จากทองแดง คือธาตุที่มเี ลขอะตอม 29 และสัญลักษณคือ Cu นิกเกิลอยูในตารางธาตุหมู 29 เปนที่
ทราบกันวามนุษยใชประโยชนจากทองแดงมาไมนอยกวา 10,000 ป พบหลักฐานวามนุษยสามารถ
หลอมสกัดทองแดงใหบริสุทธิ์ไดเมื่อประมาณ 5000 ปกอนคริศตกาล ซึ่งกอนที่มนุษยจะรูจักกับ
ทองคําคือมนุษยรูจักทองคํา เมื่อประมาณ 4000 ปกอนคริศตกาล

การถลุงทองแดง

การถลุงทองแดงจากแร ขั้นแรกคือการแยกแรที่ตองการออกจากสิ่งเจือปนหรือ กากแร อาจใช


วิธีการลอยตัว โดยนําแรที่บดละเอียดแลวผสมเขากับน้ํา น้ํามันและสารซักลางในถึงผสม จากนั้น
กวนและผานอากาศเขาไปในของเหลวที่อยูในถึงผสมตลอดเวลา เพื่อทําใหมีฟองเกิดขึ้น ซึ่งเปนผล
ใหฟองอากาศ และน้ํามันไปเกาะอยูกับอนุภาคของแรและลอยตัวอยูดานบน สวนกากแรจะจมลงอยู
ดานลาง เมื่อตักฟองที่ลอยอยูดานบนออกและทําใหแหง จะไดผลแรที่มีปริมาณทองแดงเพิ่มขึ้น
ประมาณรอยละ 15 โดยมวล ขั้นตอไปน้ําแรมาเผาในอากาศ เรียกกระบวนการนี้วา การยางแร ไอร
ออน(II)ซึลเฟดบางสวนจะถูกออกซิไดสเปนไอรออน(II)ออกไซด ดังสมการ

2CuFeS2(s) + 3O2(g) → 2CuS(s)+ 2FeO(s) + 2SO2(g)

กําจัดไอรออน(II)ออกไซดออกไป โดยนําผลิตภัณฑที่ไดไปเผารวมกับออกไซดของซิลิคอนใน
เตาถลุงอุณหภูมิประมาณ 1100 cํ ไอรออน(II)ออกไซดจะทําปฏิกิริยากับออกไซดของซิลิคอนได
กากตะกอนเหลวซึ่งแยกออกมาได ดังสมการ

FeO(s) + SiO2(s) → FeSiO3(l)

สวนคอบเปอร(II) ซัลไฟดเมื่ออยูในที่มีอุณภูมิสูงจะสลายตัวไดเปนคอบเปอร(I)ซัลไฟดใน
สถานะของเหลวซึ่งสามารถแยกออกได

ในขั้นตอนสุดทายเมื่อแยกคอปเปอร(I)ซัลไฟดในอากาศ บางสวนจะเปลี่ยนเปนคอปเปอร
(I)ออกไซดดังสมการ

2Cu2S(s) + 3O2(g) → 2Cu2O(s) + 2SO2(g)

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


และคอปเปอร(I)ออกไซดกับคอปเปอร(I)ซัลไฟดจะทําปฏิกิริยากันโดยมีซัลไฟดไอออนทํา
หนาที่เปตัวรีดิวซ ไดโลหะทองแดงและแกสซัลเฟอรไดออกไซด ดังสมการ

2Cu2O(s) + Cu2S(s) → 6Cu(l) + SO2(g)

ทองแดงที่ถลุงไดในขั้นนี้ยังมีสิ่งเจือปนจึงตองนําไปทําใหบริสุทธิ์กอน การทําทองแดงใหบริสุทธิ์
โดยทั่วไปจะใชวิธีแยกสารละลายดวยกระแสไฟฟา

ทองแดงสามารถดัดไดงาย จึงใชแพรหลายในผลิตภัณฑตาง ๆ เชน

• สายลวดทองแดง
• ทอน้ําทองแดง
• ลูกบิด และของอื่น ๆ ที่ติดตั้งในบาน
• รูปปน เชนเทพีเสรีภาพ (Statue of Liberty) ซึ่งมีทองแดงถึง 81.3 ตัน
• หลังคา รางน้ํา และทอระบายน้ําฝน
• แมเหล็กไฟฟา
• เครื่องจักรไฟฟา โดยเฉพาะมอเตอรแมเหล็กไฟฟาและเครื่องกําเนิดไฟฟา
• เครื่องยนตไอน้ํา ของ เจมส วัตต
• รีเลยไฟฟา และสวิตชไฟฟา
• รางน้ําบนหลังคาและทอระบายน้ํา
• หลอดสูญญากาศ หลอดรังสีคาโทด (cathode ray tube) และแมกนีตรอนในเตาอบ
ไมโครเวฟ
• หลอดนําคลื่นไฟฟา (Waveguide) สําหรับรังสีไมโครเวฟ
• มีการใชทองแดงเพิ่มขึ้นในวงจรไอซีแทนอะลูมิเนียมเนื่องจากนําไฟฟาไดดีกวา
• ผสมกับนิกเกิล เชนคิวโปรนิกเกิล (cupronickel) and โมเนล (Monel) ใชเปน
วัสดุที่ไมกรอนสําหรับสรางเรือ
• เปนเหรียญกษาปณ ในรูปของโลหะคิวโปรนิกเกิลสวนใหญ
• ในอุปกรณทาํ ครัว เชนกระทะ
• อุปกรณที่ใชบนโตะอาหารสวนใหญ (มีด สอม ชอน) มีทองแดงบางสวน (นิกเกิล ซิลเวอร)
• เงินสเตอรลิงจะตองผสมทองแดงเล็กนอย ถาทําเปนภาชนะสําหรับอาหาร
• เปนสวนประกอบของสารเคลือบเงาสําหรับเครื่องเซรามิก และเปนสีสําหรับกระจก

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


• เครื่องดนตรี โดยเฉพาะเครื่องดนตรีประเภทแตร
• เปนพื้นผิวไบโอสแตทิก (biostatic) ในโรงพยาบาล และใชบุชิ้นสวนเรือเพื่อปองกัน
เพรียงและหอยมาเกาะ เดิมใชบริสุทธิ์ ปจจุบันใชโลหะมันตส (Muntz Metal:
ทองแดง 60% + สังกะสี 40%) แทน แบคทีเรียจะไมเตริญเติบโตบนพื้นผิวทองแดงเนื่อง
ดวยตุณสมบัติไบโอสแตทิก ลูกบิดทองแดงใชในโรงพยาบาล เพื่อลดการแพรกระจายของ
โรค และโรคลีเจียนแนร (Legionnaire's Disease) สามารถหยุดไดดวยทอ
ทองแดงในระบบเครื่องปรับอากาศ
• สารประกอบ เชน สารละลายเฟหลิง (Fehling's solution) มีประโยชนใชในดาน
เคมี
• คอปเปอร (II) ซัลเฟต ใชเปนสารพิษและสารทําใหน้ําบริสุทธิ์ และใชในผลและสเปรยฆา
โรคราน้ําคาง (mildew)
• เปนวัสดุในการผลิตฮีตซิงกสําหรัยคอมพิวเตอร เนื่องจากระบายความรอนไดดีกวา
[อะลูมิเนียม]]
• ชาวอินูอิต (Inuit) ใชทองแดงเพื่อทําใบมีดสําหรับมีดอูลู (ulu) เปนครั้งคราว

บทที่๕ เทคนิคและวิการในการสรางระฆังแบบโบราณ
ขั้นตอนในการออกแบบ
1 ศึกษากําหนดรูปทรงของระฆัง
2 เขียนแบบรูปทรงของระฆัง 12. การเขาดินแก
3 ขึ้นรูปดวยดินเหนียว 13. การเขาเหล็ก
4. หมุนกลึงและขึ้นรูปตามแบบ 14. การเขาดินทับเหล็ก
5. ตกแตงผิวใหเรียบสะอาด 15. การขึ้นทน
6. ทาน้ํามูลโด 16. การกอเตาพิมพ
7. การทาขี้ผึ้ง 17. การเผาพิมพ
8. การเขาขี้ผึ้ง 18.การสํารอกขี้ผึ้ง
9. การติดดินชนวน 19.การสุมหุน
10 การทาขี้ผึ้ง 20.การเทน้ําโลหะ
11.การเขาดินออน 21 การแตงผิวโลหะ.

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การศึกษา สํารวจขอมูลหลักฐาน

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การเขียนแบบ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การสรางแบบจําลอง

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การกําหนดแบบที่จะสรางระฆัง

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การขึ้นหุนแกนทราย

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การเตรียมวัสดุหลัก
การเตรียมเม็ดทราย
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
กระบวนการของงานหลอระฆัง เม็ดทรายที่ใชในการปฏิบัติงานมี 2 แบบ คือ
1. เม็ดทรายละเอียด ทรายที่ใชจะตองเปนทรายเม็ดละเอียดที่ไดมาจากแมน้ํา นํามาตากแดดใหแหง
สนิทเสียกอนแลวนําไปรอนดวยแรง (แรงสําหรับรอนแปง) เพื่อใหไดเม็ดทรายที่มีขนาดเทา ๆ กัน
โดยเฉลี่ย
2. เม็ดทรายขนาดกลาง ทรายที่ใชจะตองเปนทรายเม็ดขนาดกลาง ที่มาจากแมน้ํา นํามาตากแดดให
แหงสนิทเสียกอน แลวนําไปรอนดวยแรงที่มีขนาดหางเทากับมุงลวด เพื่อใหไดเม็ดทรายที่มีขนาด
เทา ๆ กัน โดยเฉลี่ย
ดินนวล
ดินนวล คือ ดินที่มีลกั ษณะเนื้อละเอียดมีสีเทาขาวนาวล นําดินนวลไปตากแดดใหแหงสนิทแลว
นํามาทุบยอยใหมีขนาดเล็ดแลวนําไปแชในน้ํา การแชจะตองนําภาชนะที่จะแขใสน้ําเสียกอน แลว
จึงเทดินลงไปไมใหดินสูงกวาน้ํา ทิ้งไวจนดินละลายหมด
วิธีการกรองดินนวล
การกรองดินนวล ทําโดยการใชมือกวนดินนวล ทีล่ ะลายแลวใหผสมกับน้ํา แลวนํามาเทกรองลงบน
แรง (แรงสําหรับรอนแปง) ใสไวในภาชนะแลวทิ้งใหตกตะกอน
ดินเหนียว
ดินเหนียว คือ ดินที่มีเนื้อดินแนนและเหนียว เปนดินชนิดเดียวกับดินที่ใชปนรูปนํามาตากแดดให
แหงสนิทเสียกอน แลวทุบยอยใหมีขนาดเล็กกอน จึงนําไปเทลงในภาชนะที่ใสน้ําไว และตองระวัง
ไมใหดินสูงเกินน้ําขึ้นมาแชทิ้งไวจนกวาดินจะละลายหมด แตถาดินไมแหงสนิท หรือถาดินไมแหง
สนิทหรือใสดินกอนแลวเทน้ําลงไป จะทําใหดินละลายไมหมดอาจจะจับตัวเปนกอนบางดิน
ลักษณะเชนนี้เรียกวาดินเปนไต หากนํามาใชจะทําใหเกิดความยุงยาก เมื่อนํามาผสมนวดกับทราย
จะไมเขากันหรือเขากันยากมาก
ดินแก
ดินแกที่ใชในการปฏิบัติงานตามลําดับขั้นตอนจะมีสวนผสมตางกันดังนี้
1. ดินแก ประกอบดวย ทรายเม็ดขนาดกลาง 4 สวน + ดินเหนียว 1 สวน ใชสําหรับ
ขั้นตอนพอกทับดินออนและทําเปนไสแบบ (ดินใน)

2. ดินแก ประกอบดวย ทรายเม็ดขนาดกลาง 3 สวน + ดินเหนียว 1 สวน ใชสําหรับ


ขั้นตอนพอกทับเหล็ก (3:1)
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
3. ดินแก ประกอบดวย ทรายเม็ดขนาดกลาง 2 สวน + ดินเหนียว 1 สวน ใชสําหรับ
ขั้นตอนปนปากจอกรูเท ปนปากจอกรูลน ปนรูอากาศ ปนรูกระบอก สําหรับขี้ผึ้งไหล
ออก ใชยาแนวที่แตกราวของหุน ใชอุดรูลน รูอากาศ รูระบวนใชสําหรับจับเอ็น ทําตะ
กับเตาหลอม (2:1)
4. สอดิน ประกอบดวย ทรายเม็ดละเอียดจํานวน 2 สวน + ดินเหนียว 1 สวน ผสม
คลุกเคลาใหเขากันในลักษณะเหลว
วิธีการผสมดินแก
นําทรายเม็ดขนาดกลาง ตามสัดสวนที่ตองการจะใชตามขั้นตอน มาผสมกับดินเหนียว ดวย
การคลุกเคลาใหเขากันมี 3 แบบ คือ
1. ใชมือนวด โดยการใชฝา มือ และนิ้วมือบีบนวดสวนผสม ของดินเหนียวกับทราย ให
คลุกเคลาจนเขากัน วิธีนี้เหมาะสําหรับงานที่ใชปริมาณดินนอย
2. ใชเทาเยียบดิน โดยการนําดิน + ทราย มาผสมคลุกเคลาใหเขากันดวยมือกอน ใน
อัตราสวนที่กําหนด แลวก็ทํากองดินใหเปนกองรวมกัน ใหมีลักษณะคลายเจดียทราย
คือ ตรงฐานลาง มีความโตและเรียวเล็กไปเรื่อย ๆ จนถึงปลายตบดวยมือใหแนน ใชฝา
เทากดเหยียบลงไปบนกองดิน + ทราย ในลักษณะเหยียบลงไปบนดิน+ทรายใหหมุน
ปลายเทาดวย จนรอบและทั่วทั้งกอง ทําไปเรื่อย ๆ จนดิน+ทรายผสมเขากันเปนอยางดี
การทําแบบนี้ชางหลอจะเรียกการเหยียบดิน เหยียบดิน และดิน+ทราย จํานวนนี้จะเรียก
1 กระเบื้อง
3. ใชเครื่องนวด
วิธีการผสมดินออน
ดินออนประกอบดวย ทรายเม็ดละเอียด 3 สวน+ดินนวลกรองละเอียด 1 สวนนําทรายเม็ด
ละเอียดที่รอนแลวนําเนื้อดินนวลที่กรองแลว จํานวน 1 สวน มาเทสวนผสมรวมกับทรายเม็ด
ละเอียด ใชมือนวดผสมคลุกเคลาใหทั่วจนดินนวล และทรายเม็ดละเอียดเขากันอยางดี ใหมีลักษณะ
จับตัวรวมเปนกอน ทดสอบโดยการใชมือกําดินแลวบีบใหแนนอนโดยประมาณ ปลอยมือออก ดิน
ออนจะมีลักษณะเปนกอน

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การเตรียมมูลโค
มูลโคที่จะนํามาใชในการปฏิบัติงาน จะตองเปนมูลโคสด และโคตองกินหญาเปนอาหาร
อยางเดียว เพราะมูลโคที่กินหญา เมื่อนํามาคั้นจะมียางพิเศษบางอยาง ที่จะชวยทําใหเกาะยึดแนบ
แนนกับผิวชิ้นงาน เมื่อนํามาผสมกับดินจะสามารถทนความไดสูง ถาเปนมูลโคที่กินอาหาร
สําเร็จรูป เมื่อนํามาใชจะทําใหเกิดการแตกราว และจะเปนผลเสียตอผิวของชิ้นงาน และที่สําคัญอีก
อยางมูลโค ที่ใชจะตองไดจากการขับถายออกมาแบบปกติ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
วิธีการคั้นน้ํามูลโค
นํามูลโคที่ไดมาแลว ใสในกะละมัง แลวเอาน้ํามาเทใสลงไปในอัตราสวนที่พอเหมาะ ผสม
และคลุกเคลาใหเขากัน ใหมีลักษณะที่ไมเหลว หรือแหงจนเกินไป นํามาบีบคั้นดวยผาขาวบาง คั้น
เอาแตน้ํามูลโคสําหรับใชงาน สวนกากทิ้งไป

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การผสมน้ํามูลโค
นําน้ํามูลโคที่คั้นแลว มาผสมกับเนื้อดินนวลที่กรองแลว มาผสมกันในอัตราสวนน้ํามูลโค 5
สวน + เนื้อดินนวล 1 สวน นํามากวนผสมใหเขากัน เมื่อเขากันอยางดีแลว นํามากรองดวยแรงอีก
ครั้ง ก็จะไดนํามูลโค สําหรับใชในการปฏิบัติงาน

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


กรรมวิธีการกลึงไสแบบ (ดินใน) ของระฆัง ขนาด 3 กํา
นํากระดานหุน มาขีดเสน กําหนดขนาดเสนรอบวงของไสแบบ คือ ขนาดเสนผาศูนยกลาง 16.98
เซนติเมตร นําไมที่มีรูปทรงกระบอกขนาดเสนผาศูนยกลาง 7 เซนติเมตร สูง 60 เซนติเมตร มาตั้งลง
บนกระดานหุนใหอยูตรงจุดศูนยกลางของเสนรอบวง ของไสแบบที่กําหนดแลวนําดินแก 4 : 1 มา
วางกองพอกกดใหแนนจนทั่วรอบ ๆ ไมรูปทรงกระบอก ใหไดขนาดสัดสวน ที่จะทําเปนไสแบบ
แลวปลอยทิง้ ไวใหแหง ในขณะที่ไสแบบเริ่มแหง ใหดึงแกนไมรูปทรงกระบอกออก ในขั้นตอนนี้
เรียกวาขึ้นรูปแบบหยาบ และเมื่อทิ้งไวจนไสแบบแหงสนิทดีแลว นําไปวางสวมใสในกระสวยที่
เตรียมไว ลักษณะของกระสวยนี้จะหมุนไดรอบตัว จากนั้นก็ทําการหมุนไสแบบดวย ใชเครื่องมือที่

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


มีขนาดเล็กและรูปรางตาง ๆ กดจี้ลงไปบนผิวของไสแบบไปเรื่อย ๆ จนไดรูปรางขนาดตามแบบ
อยางประณีตและที่สําคัญผิวของไสแบบจะตองเรียบ ในขณะที่หมุนกลึงไสแบบใหพรมน้ําดวยนิด
หนอย เพื่อความสะดวกและงายสําหรับการกลึงแลวทิ้งไวใหแหง

ทาน้ํามูลโคลงบนไสแบบ (ดินใน)
ไสแบบที่คลึงไดขนาดสวนที่แหงดีแลว ผิวหนาของไสแบบยังเรียบไมพอ จําเปนที่จะตองทําให
เรียบโดยใชน้ํามูลโคแตะทาทับลงไปประมาณ 5 – 6 ครั้ง โดยใชแรปงทาสีจุมน้ํามูลโค ที่ผสมตาม
อัตราสวน แตะทาลงบนไสแบบใหทั่ว วิธีการแตะทาน้ํามูลโคใหใชแปรงทาสีจุมน้ํามูล ใหชุม
พอประมาณพอประมาณ แลวใชดานขางของขนแปรงคอย ๆ แตะลงบนผิวของไสแบบ และทุกครัง้
กอนที่จะแตะทาซ้ําพื้นผิวเดิม จะตองแหงสนิททุกครั้ง

การทาขี้ผึ้ง
นําขี้ผึ้งชัน ที่ตั้งไฟละลายได ที่แลวใชแปรงทาสีจุมแลว ทาทับลงไปบนผิวของน้ํามูลโค ใหไดความ
หนาประมาณ 1 มิลลิเมตร และที่สําคัญจะตองทาใหผิวเรียบ
เทคนิการทําน้ําขี้ผึ้งใหเรียบ
1. ขี้ผึ้งจะตองรอนพอเหมาะ
2. การทาจะตองทาไปทางเดียว
3. จุมน้ําขี้ผึ้งพอประมาณ
4. ขนแปรงจะตองไมสั้นจนเกินไป
การเขาขี้ผึ้ง
นําขี้ผึ้งขัน ที่ละลายเปนน้ํามาเทลงใสในกระปองที่ใสน้ําไว แลวใชมือบีบนวดขี้ผึ้งจน มีความ
เหนียวนุมแลว ทําใหเปนแผนเรียบใหมีขนาดความหนาขางหนึ่ง 1.5 เซนติเมตร คอย ๆ ลดขนาดลง
จนถึงอีกดานหนึ่งใหไดขนาดความหนา 1 เซนติเมตร และแผนขึ้ผึ้งจะมีความกวาง 35 เซนติเมตร
และมีความยาว 55 เซนติเมตร โดยการนําไมกระดานแฟนเรียบที่มีความกวาง 80 เซนติเมตร และมี
ความยาว 100 เซนติเมตร ปลายไมขางหนึ่งมีความหนา 2 เซนติเมตร และอีกขางหนึ่งมีความหนา 1
เซนติเมตร วางลงตรงริมขอบของแผนบนไมกระดาน แลวใชทอเหล็กกลมกลิ้งบดไปบนไมแบบ ที่
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
วางไวจนสุดปลายไมแบบอีกขางหนึ่ง ก็จะไดขี้ผึ้งแผนที่มีขนาดตามความตองการ นําเทือกมาทาลง
บนแผนขึ้นผึ้งนําปดกดทับใหแนบแนน บนขึ้ผุงที่ทาอยูบนไสแบบ (เทือก คือ น้ํายางเหนียวไดมา
จากสวนผสมของน้ํามันยาง กับชันผงผสมกันและนําไปตั้งไฟใหรอนกวนใหเขากันจนมีความ
เหนียว) นําไสแบบที่เขาขี้ผึ้งมาวางใสในกระสวยอันเดียวกัน กับตอนกึงไสแบบแลวหมุนกคลึงขึ้น
ผึ้ง ดวยเครื่องมือเหลกที่มีขนาดและรูปรางตาง ๆ จนกวาผิวของขี้ผึ้งจะเรียบ และไดรูปรางลักษณะ
ของรูประฆังตามแบบ แลวยกออกจากกระสวย นําโกงของระฆังที่ออกแบบไว ปนเสร็จเปนขี้ผึ้งมา
ติดประกอบ พรอมลวดลายตาง ๆ เสร็จจะไดรูปตนแบบรูประฆังที่พรอมที่จะดําเนินการตาม
ขั้นตอนของงานหลอโลหะ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การติดชนวน
นําขี้ผึ้งชัน ที่ละลายเปนน้ํามาเทลงในกระปองที่ใสน้ําไว แลวใชมือบีบนวดขี้ผึ้งจนมความเหนียว
นุม แลวกลึงขวั้นใหเปนเสนกลมขนาดเสนผาศูนยกลางขนาด 1.5 เซนติเมตร เพื่อทําเปนกานแยก
ทางไหลของน้ําโลหะ กลึงขวั้นใหเปนเสนกลมเรียว ใหดา นเล็กมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 2
เซนติเมตร และดานใหญมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 5 เซนติเมตร ยาว 50 เซนติเมตร สําหรับเปน
ชนวนเทน้ําโลหะ กลึงขวั้นใหเปนเสนกลมเรียวดานเล็ก มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 3 เซนติเมตร จะ
ดานใหญมีขนาดเสนกลางขนาด 4 เซนติเมตร ยาว 10 เซนติเมตร สําหรับทําเปนทางไหลออกของ
ขี้ผึ้งและรูลนของเนื้อโลหะที่เปนองคระฆัง นําชนวนสําหรับเทน้ําโลหะมาติด โดยใหดานเล็ก ติด
ตรงดานขางขององคระฆัง แลวใหดานใหญดานบนในลักษณะเปนแนวเสนตรง ใหสูงกวาหวง
แขวนของระฆัง 10 เซนติเมตร ชนวนสําหรับเทน้ําโลหะจะมี 2 ดาน คือดานซาย และดานขวาของ
รูประฆัง และตรงหวงแขวนติดดานชนวนเปนเสนตรงใหมีความสูง 10 เซนติเมตร เทกับชนวน
สําหรับเทน้ําโลหะ เพื่อทําเปน รูลนนําชวนสําหรับติด ทําเปนรูลนของเนื้อองคระฆัง ติดดานขางให
มีความสูงในระดับความสูงเทากับคอของระฆัง และนําชนวนสําหรับทําเปนทางไหลออก ของขี้ผึ้ง
ที่ดานลางตรงขอบของระฆัง 2 ดาน ตรงขามกัน

วิธีการทาน้ํามูลโค
กอนที่จะทาน้ํามูลโค ลงบนพื้นผิวงานหุนรูประฆัง ที่เปนรูปขี้ผึ้งตองทําความสะอาดกอนดวย น้ํา
ผสมผงซักฟอกแลว ไมตองลางออกดวยน้ําเปลา ปลอยทิ้งไวใหแหงสนิท นําน้ํามูลโคที่ผสมดิน
นวลแลว ตามอัตราสวนใสภาชนะ ใชแหรงทาสีจุมน้ํามูลโคทาลงบนพื้นผิวงานใหทั่ว แลวปลอยทิง้
ไวใหแหงสนิท ในขณะที่จุมแปรงทาน้ํามูลโคใหใชแปรงกวนน้ํามูลดวย เมื่อแหงแลว ทาทับลงไป
อีกใหไดความหนาประมาณหนาพอประมาณ หรือ 5-6 ครั้ง วิธีการทาใหใชดานขางของขนแปรง
แตะลงไปบนผิวงาน การทําเชนนี้ก็เพื่อไมใหผิวน้ํามูลโค ที่ทาไวกอนแลวลอนหลุดออกมาตาม
แปรง ขณะทาจึงใชวิธีการแตะ ประโยชนของน้ํามูลโคที่ทา ก็เพื่อจะทําหนาที่เก็บรายละเอียดความ
คมชัดของผิวงาน

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การเขาดินออน
การเขาดินออนทําโดยการนําน้ํามูลโค ทาลงบนพื้นผิวหุนรูประฆัง ที่เปนรูขึ้นผึ้งที่ทาน้ํามูลโค และ
มีความหนาพอแลว นําดินออนที่ผสมแลว มาทําการพอกทับลงบนผิวงานดวยมือ โดยการหยิบดิน
ออนมานวดใหเปนกอนพอประมาณ วางลงบนผิวงานแลวกดดวยปลายนิ้วมือ ใหดินแผไปตามผิว
ของงาน ใหไดความหนาประมาณ 1 เซนติเมตร จนทั่วรูปหุนเวนตรงชนวนที่ติดไวสําหรับเปนรูลบั
ของเนื้อระฆัง แลวทิ้งไวใหแหงสนิทดวยอากาศ การกดดินดวยปลายนิ้ว ในแตละครั้ง ปลายนิ้วมือ
จะตองหมั่นชุบน้ําใหมือสะอาดตลอดระยะเวลา ที่ใชนิ้วมือกดลงบนดินออน เพื่อมิใหดินออน
ติดตามนิ้วมือขึ้นมา และการกดตองใหไดน้ําหนักพอประมาณ และที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การวางดินบนผิวงานแตละครั้งพื้นผิวของน้ํามูลโคจะตองเปยกตลอดเวลา หามมิใหแหงเด็ดขาด
เพราะจะทําใหไมยึดติดชั้นดินออน การเขาดินออนนี้ถือวาเปนขั้นตอนที่จะตองใชความ
ละเอียดออนเปนอยางมาก

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การเขาดินแก
ดินแกที่ใชในการปฏิบัติงาน ประกอบดวย ทรายเม็ดกลมขนาดกลาง 4 สวน + ดินเหนียว 1 สวน
การเขาดินแก ทําโดยการใชแปรงทาสีหรือผาชุบน้ํา ทาลงบนผิวดินออนที่แหงใหเปยกชุม
พอประมาณ หยิบดินแกมาพอประมาณ ขนาดเทากําปนแลวนวดอีกครั้ง นํามาพอกทับลงบนดิน
ออนใหไดความหนาประมาณ 5 เซนติเมตร จนทั่วรูปหุนเวนตรงรูชนวนที่ติดไวสําหรับเปนรูลับ
ของเนื้อระฆัง แลวทิ้งไวใหแหงดวยอากาศ ในการพอกดินแกนั้นจะตองใชปลายนิ้วตบกดดิน ให
แนบแนนกับดินออน และขณะตบกดมือจะตองชุบน้ําใหสะอาดอยูตลอดเวลา เพื่อไมใหดินแกติด
มือขึ้นมา เมื่อแหงสนิทแลว ก็ทําการเขาดินแกทับอีกครั้ง ใหไดความหนาประมาณ 5 เซนติเมตร ทิ้ง
ไวใหแหง

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การเขาเหล็ก
การเขาเหล็ก เปนขั้นตอนการทําใหหุนมีความแข็งแรง การเลือกใชเหล็กเปนสิ่งที่สําคัญมาก ถา
เลือกใชเหล็กที่มีขนาดไมพอดีกับขนาดของหุน จะเกิดการแตกราวหักเสียหายได แตสําหรับระฆัง
ขนาด 3 กํา เลือกใชเหล็กเสนขนาดผาศูนยกลาง 3 หุน วิธีการเขาเหล็กรัดรูปหุน จะทําโดยการใช
ประแจดัดเหล็กในแนวตั้ง ใหแนบไปตามรูปจากดานลางขึ้นไปดานบน และครอมไปดานหลังและ
เหลือหางเหลกไว ใหพอที่จะดัดประสานกันได ใหมีระยะหางระหวางเสนประมาณ 7 เซนติเมตร
จนรอบหุนแลวใชเหล็กเสนกลม ขนาดเสนผาศูนยกลาง 3 หุน มาดัดรัดในแนวใหแนบไปกับ
เหล็กเสนกลมขนาด 3 หุน ในแนวตั้งใหมีระยะหางแตละเสนประมาณ 7 เซนติเมตร และมัดดวย
ลวดผูก
เหล็กใหแนน ตรงเสนเหลกที่ตักันกระหวางแนวตั้งและแนวนอน
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
การเขาดินทับเหล็ก
ดินแกที่ใชในการปฏิบัติงานเขาดินทับเหล็ก ประกอบดวย ทรายเม็ดกลม ขนาดกลาง 3 สวน + ดิน
เหนียว 1 สวนการเขาดินทับเหล็ก จะตองพอกทับใหมิดเหลก และตองใหติดกับดินแกดวย กอนจะ
ทําการเขาดินทับเหล็ก จะตองใชผาชุบน้ํา และสลัดน้ําใหเปยกพอประมาณ แลวจึงนําดินมาพอกกด
ทับตบใหแนนดวยปลายนิ้วมือ แลวทิ้งไวใหแหง เมื่อแหงแลวทําการลมนอนหุนลงแลวทําการดัด
เหล็ก ที่ทิ้งหางเหล็กไวใหประสานกัน ในลักษณะเปนตาราง ใหมีระยะหางกันประมาณ 7
เซนติเมตร แลวมัดดวยลวดผูกเหล็กใหแนนตรงที่เสนเหลกติดกัน แลวใชผาชุบน้ําแลวสลัดน้ําให
เปยกแลว นําดินแกสําหรับเขาดินทับเหล็กมาเขาพอกกดและตบใหแนนจนทั่ว และมิดเหล็กแลวทิ้ง
ไวใหแหงดวยอากาศในรม

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การขึ้นทน

ในการปฏิบตั ิงานขึ้นทน กอนอื่นตองวัดรอบหุนดานลาง ซึ่งมีลักษณะรูปทรงกลม นําอิฐ


มอญมาวางเรียงใหไดขนาด และความกลมเทากับดานลางหุนที่วัดไว ใชสอดินหรือปูนราดเททับน
อิฐมอญใหทั่ว แลววางอิฐมอญวางทับสอใหมีขนาดเทาเดิม มีขนาดความสูง 40-50 เซนติเมตร ซึ่ง
ชางจะเรียกวา “ตอหมอรับหุน” จากนั้นยกรูปหุนขึ้น ตั้งบนตอหมอ รับหุน แลวใชดินแก 3:1 พอก
ทับระหวางรอยตอของตอหมอหุนและหุนใหติดเปนเนื้อเดียวกัน เวนชองตรงที่ติดชวน เพื่อเปนทาง
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
ไหลของขี้ผึ้ง นําขี้ผึ้งที่ควั่นไวสําหรับทําเปนรูเททอง ที่มีลักษระเรียวดานบน มีเสนผาศูนยกลาง 5.5
เซนติเมตร และดานลางมีเสนผาศูนยกลาง 4.5 เซนติเมตร และมีความยาว 8 เซนติเมตร นํามาติดตอ
กับรูเท และรูอากาศแลวนําดินแก 3:1 มาทําการพอกปนทับเปนรู สําหรับเททองและรูอากาศ ซึ่งชาง
จะเรียกวา “ปากจอก” สวนชนวนที่ติดไวสําหรับเปนรูลับของเนื้อระฆัง ก็นําดินแก 3:1 มาพอกทํา
การปนใหเปนปากสําหรับเปนทางไหลชางจะเรียกวา “รูกระบวน”

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การกอเตาพิมพ
กอนที่จะวางอิฐมอญ สําหรับทําเปนฐานเตา ตองปรับพื้นที่ใหไดระดับเรียบเสียกอน เพื่อเวลากอ
เปนเตาแลว จะไมเอียงหรือลม เตาพิมพจะประกอบ 3 สวน คือ
1. ฐานเตาพิมพ ทําเปนฐานลางรองรับน้ําหนักของตัวเตาพิมพ
2. ตัวเตาพิมพ ใชกั้นเปลวไฟไมใหกระจายออกดานนอก
3. ปากเตาพิมพ มีไวสําหรับเปนชองสําหรับใสเชื้อเพลิง (ฟน)

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การกอฐานเตาพิมพ และปากเตาพิมพ
วางอิฐมอญ 2 กอน คูกันใหเรียงตอและซอนกัน ใหเปนแนวตรงและขนานกัน 2 ขาง ใหมีระยะหาง
จากหุน 25 เซนติเมตร ดานที่จะทําเปนปากเตาใหมีความยาวและมีระยะหางจากหุน 60 เซนติเมตร
ใหไดความสูงเลยตอหมอรับหุนหรือสูงกวารูกระบวน

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การกอตัวเตาพิมพ
เมื่อกอฐานเตาแลวนําเหล็กตัว C ที่มีขนาดความกวาง 15 เซนติเมตร มาวางใหขวางระหวางฐานเตา
ใหมีระยะหางจากหุน 25 เซนติเมตร แลวใชสอดินวางบนเหล็กตัว C นําอิฐมอญมาวางทับลงบนสอ
ดิน โดยวางเรียงตอซอนกัน ใหลอมรอบหุนและใหไดความสูงกวาหุนเล็กนอย แลวนําอิฐมอญมา
วางปดปากจอรูเท และรูอากาศทุกรู แลวใชแผนเหล็กขนาดความหนา 4 มิลลิเมตร มาวางปดตรง
สวนบนของเตา ซึ่งชางจะเรียกวาแผน “กระบาล” ใชสอดินทําการพอฉาบตัวเตาพิมพภายนอก เพื่อ
อุดรองหางของรอยตอ ของอิฐมอญและชวย ทําใหตัวเตาพิมพเกิดความแข็งแรง เมื่อขณะเผาพิมพ
สอ จะแหงและแข็งตัวชวยกั้นเปลวไฟมิใหความรอนกระจายออกนอกเตาพิมพ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การเผาพิมพ
การเผาพิมพหรือสุมหุนใชฟนเปนเชื้อเพลิง มี 2 ขัน้ ตอน
1. การสํารอกขึ้ผึ้ง
2. การเผาพิมพหรือสุมหุน

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การสํารอกขี้ผึ้ง
การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสํารอกขี้ผึ้ง จะใชการเผาหุนที่อุณหภูมิประมาณ 100 องศาเซลเซียส โดย
การนําฟนมากองที่ปากเตาพิมพแลว จุดไฟใหติด ควบคุมความรอนใหเพิ่มขึ้นทีละนอย โดยคอย ๆ
เติมฟนจนไดอุณหภูมิพอเหมาะหุนจะรอน ขี้ผึ้งที่อยูภายในหุนจะเริ่มไหลออกมาตรงรูกระบวนที่ทํา
ไว นํารางเหล็กมาวางรองขี้ผึ้งใหไหลลงใสภาชนะที่เตรียมไว ใหขี้ผึ้งไหลออกจนหมดในการ
สํารอกขี้ผึ้ง ตองระวังมิใหไฟแรงจนเกินไป เพราะจะทําใหขี้ผึ้งเดือด ถาขี้ผึ้งเดือด จะทําใหผิวหนาที่

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


เปนน้ํามูลโคหลุดออกมาดวย จะทําใหผิวของงานเสียหาย วิธีสังเกตวาขี้ผึ้งเดือด สามารถดูไดจาก
การไหลของขี้ผึ้ง คือ จะมีลักษณะเปนฟองเดือด

การเผาพิมพหรือสุมหุน
เมื่อขี้ผึ้งไหลออกมาหมด ใหคอย ๆ เพิ่มความรอนขึ้นทีละนอย จนถึงอุณหภูมิ 250 องศาเซลเซียส
เพื่อใหขี้ผึ้งที่เหลือตกคางอยูภายใน ตามซอกเล็กไหลออกจนแหง สังเกตที่รูกระบวน วามีขี้ผึ้งไหล
ออกมาอีกหรือไม ถาไมมีแสดงวาขี้ผึ้งไหลออกหมดแลว รักษาระดับความรอนไวที่ อุณหภูมิ 250
องศาเซลเซียสประมาณ 2 ชั่วโมง แลวเริ่มตนการเผาพิมพโดยการเติมเชื้อเพลิง (ฟน) ใหความรอน
เพิ่มขึ้นทีละนอยในแตละครั้ง ควบคุมใหอยูในระดับที่อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียสแลวปลอยให
อุณหภูมิลดลงเรื่อย ๆ จนถึงระดับความรอนที่อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส แลวคอยด ๆ เติม
เชื้อเพลิง(ฟน) อีกใหไดระดับความรอนที่ 600 องศาเซลเซียส ทําอยางนี้ไปเรื่อย ๆ จนหุนไดรับ
ความรอน พอเหมาะ จะมีเปลวไฟลุกขึ้นที่ปากจอกรูเทของหุน ชางเรียกวา “ลุกดวง” ใหลดอุณหภูมิ
ลง โดยไมตอ งเติมเชื้อเพลิง (ฟน) ใหอุณหภูมิอยูที่ระดับ 150 องศาเซลเซียส สังเกตที่ปากจอกรูเท

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


หรือรูอากาศกอนวา ถามีไอหรือควันพุงออกมาแสดงวาพิมพยังไมสุก ใหใสเชื้อเพลิง (ฟน) เพิ่ม
ความรอนอีกใหไดระดับความรอนใหไดระดับความรอนที่ 600 องศาเซลเซียส แลวปลอยให
อุณหภูมิลดลงที่150 องศาเซลเซียส จนกวาจะไมมีไอ หรือพุงออกมาจากปากรูเท หรือรูอากาศ แลว
ใชคีมคีบอิฐมอญที่วางไวบนปากจอกรูเทมาดู ถามีคราบเขมาสีดําจับติดที่อิฐแสดงวาพิมพยังไมสุก
ตองใสเชื้อเพลิง (ฟน) เพิ่มความรอนอีกจนกวาอิฐมอญที่วางอยูบนปากจอกรูเทและรูอากาศ จะไมมี
คราบเขมาสีดําจับติดอยูแสดงวาหุนสุกไดที่แลว
การกอเตาหลอมโลหะสําหรับ 2 เบา
การกอเตาสําหรับหลอมโลหะ สวนใหญนิยมใชอฐิ มอญมากอใหไดลักษณะ รูปสี่เหลี่ยมผืนผา ให
ไดขนาดภายในมีความกวาง 35 เซนติเมตร และมีความยาว 70 เซนติเมตร และมีความสูง 54
เซนติเมตร เวนชองสําหรับเปนทางเปาลม ใหอยูต รงกลางของดานกวาง ใหเวนเปดตั้งแตชั้นที่ 2

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


และ 3 ใหเปดชองรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสใหมีความกวาง 7 เซนติเมตร และมีความยาว 7 เซนติเมตร นํา
สอดินมาทาพอกทับอิฐมอญทั้งภายนอกและภายในดวยมือ เพื่อใหเตาหลอมเกิดความแข็งแรง และ
ยังปองกันมิใหความรอนแผกระจาย ออกนอกเตา ทําใหอุณหภูมิความรอนภายในเตาหลอมสูงพอ ที่
จะทําใหโลหะทองแดงละลาย (จุดหลอมของทองแดง 1,083.5 องศาเซลเซียส และจุดเดือดของ
ทองแดง 2,567 องศาเซลเซียส) นําอิฐมอญมาวางพื้นเตา เพื่อทําเปนตอหมอรับน้ําหนักของเบา
หลอม และชวยตัดจายลมไปใหทั่วเตาหลอม ใหมีลักษณะตะแคงอิฐแลวนําดินจับเอ็นที่เตรียมไวมา
พอดรอบ ๆ อิฐที่ทําเปน ตอหมอ ดานลางใหยึดติดกับพื้นเตา และวางดินจับเอ็ดตรงดานบนของอิฐ
มอญ ที่ทําเปนตอหมอใหมีความหนา 3 เซนติเมตร (ดินจับเอ็น คือ ดินที่มีสวนผสมระหวางทราย
เม็ดขนาดกลาง 1 สวน ดินเหนียว 2 สวน ผสมนวดใหเขากันอยางดี) นําแผนเหล็กชนิดเรียบที่มี
ความกวาง 24 เซนติเมตร ยาว 61 เซนติเมตร และมีความหนา 4 มิลลิเมตร มาวางทับลงบนดินจับ
เอ็นที่วางไวบนอิฐมอญที่ทําเปนตอหมอ ใหมีระยะหางจากผนังเตาเฉลี่ยเทา ๆ กัน

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


นําอิฐมอญครึ่งกอนวางลงบนแผนเหล็ก ใหปลายขางหนึ่งอยูบนแผนเหล็ก และปลายอีกขาง
หนึ่งอยูติดกับผนังเตาใหเอียงทํามุมประมาณ 45 องศา และใหมีระยะหางกันระหวางกอนประมาณ
7 เซนติเมตร แลวใชดนิ จับเอ็นพอกหุมอิฐ ใหทั่วทุกกอน และบนพื้นแผนเหล็กใหมีความหนา 3
เซนติเมตร เพื่อเปนตะกับเตาปองกันมิใหถานลวงหลนลงใตเตา จะทําใหไปปดขวางทางลมทุกครั้ง
กอนจะทําการหลอมโลหะ ภายในเตาจะตองแหงสนิท นําผงปูนปลาสเตอรไปวางกองลงบนพื้นเตา
หลอมที่แหงสนิทแลว ใหมีความหนาประมาณ 5 เซนตเมตร เพื่อปองกันมิใหขณะที่กําลังหลอม
โลหะ พื้นเตาที่เปนดินเหนียว + ทราย ละลายเกาะติดกับเบาหลอมจะทําใหการถอนเบาหลอมออก
จากเตาไมได นําเบาสําหรับหลอมโลหะ ขนาด 60 กิโลกรัม จํานวน 2 ใบ มาวางใสลงในเตาหลอม
และเฉลี่ยความกวางของปากเบาหลอมกับผนังเตาใหมีระยะหางเทา ๆ กันแลวนําเชื้อเพลิง (ถาน) ใส
ลงในเตาหลอมรอบ ๆ ขางเบาหลอมจนเต็มเตาและเสมอเทากับปากของเบาหลอม

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


สวนผสมโลหะของรูประฆัง
1. สําหรับหลอเปนโกงของระฆังประกอบดวย
1.1 ทองแดง 99 % จํานวน 85 % น้ําหนัก 51 กิโลกรัม
1.2 สังกะสี 99 % จํานวน 5 % น้ําหนัก 3 กิโลกรัม
1.3 ตะกั่ว 99 % จํานวน 5 % น้ําหนัก 3 กิโลกรัม
1.4 ดีบุก 99% จํานวน 5 % น้ําหนัก 3 กิโลกรัม

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


2. สําหรับหลอเปนตัวองคระฆังประกอบดวย
2.1 ทองแดง 99% จํานวน 80.65% น้ําหนัก 50 กิโลกรัม
2.2 ดีบุก 99% จํานวน 16.13% น้ําหนัก 10 กิโลกรัม
2.3 เงินเม็ดกลม 100% จํานวน 3.3% น้ําหนัก 2 กิโลกรัม

ในเตาหลอมจะมีเบาหลอ 2 ใบ ใบที่ 1 จะใชหลอมสําหรับหลอเปนโกงระฆัง ใบที่ 2 จะใช


หลอมสําหรับหลอเปนตัวองคระฆัง นําทองแดงใสในแตละเบาหลอมตามน้ําหนัก แลวจุดไฟ ในเตา
หลอมใหเชื้อเพลิง (ถาน) ติดไฟจนทั่วทั้งเตาไมตองใชลมเปา ชวยสุมไฟไปเรื่อย ๆ ไมนอยกวา 2
ชั่วโมง ใชแผนเหลกขนาดความหนา 4 มิลลิเมตร ปดปากเตาหลอม เมื่อไดระยะเวลาจึงเปด
มอเตอรเปาลม เพื่อชวยใหเชื้อเพลิง (ถาน) ลุกไหมความรอนจะคอย ๆ เพิ่มขึ้นและตองคอยสังเกต ดู
เปลวไฟและเชื้อเพลิง (ถาน) ในเตาหลอมลดลงใหปดมอเตอรหยุดเปาลม แลวใชคีมคีบแผนเหล็ก
เพื่อเปดเตาออกแลวเติมเชื้อเพลิง (ถาน) ลงไปใหเต็มเตาเทากับปากของเบาหลอม แลวใชถานโคก
เติมลงไปพอประมาณแลวใชเชื้อเพลิง (ถาน) เติมลงไปใหเต็มเทากับปากเตาหลอม แลว ใชแผน
เหล็กปดปากเตาหลอมเปดมอเตอรลม ทําแบบนี้ไปเรื่อย ๆ ในแตละครั้งกอนจะเติมเชื้อเพลิง (ถาน)
ประมาณ 45 นาที เมื่อหลอมไปไดประมาณ 3-4 ชั่วโมง ทองแดงแจะหลอมละลายเปนของเหลว นํา
ดีบุกใสลงไปในเบาที่จะใชหลอเปนองคระฆังตามอัตราสวน และอีกเบาที่จะใชหลอเปนโกงระฆัง
ใสตะกั่ว ดีบุก สังกะสี ตามอัตราสวน เมื่อละลายใหกวนน้ําโลหะใหผสมเขาดวยกันกระจาสําหรับ
ตักน้ํา โลหะแลวตักน้ําโลหะออกมาเล็กนอย ทิ้งไวใหแข็งตัว แลวใชฆอนทุบใหแตก แลว
ตรวจสอบดูที่เนื้อวาสวนผสมเขากันดีหรือไม ถายังไมผสมเขากันเปนอยางดีก็ทําการหลอมไปเรื่อย
ๆ และกวนใหผสมเขากัน ขอสังเกตในการตรวจสอบดูเนื้อของโลหะจะเปนเทาขาว เมื่อผสมเขากัน
ดีแลว เบาที่ใชหลอมทําเปนตัวองคระฆังใหเติมเงินเม็ดใสลงไปตามอัตราสวน และอีกเบาที่หลอม
สําหรับทําเปนโกงระฆัง ใหเติมสังกะสีตามอัตราสวนกวนผสมใหเขากันอีกครั้ง ตักออกมา
ตรวจสอบอีกจนไดเนื้อโลหะ สําหรับที่จะนําไปหลอเปนองคระฆัง เนื้อที่จะไดมีสีเทาขาวนวล และ
มีความวาวเพิ่มขึ้น เชนเดียวกับเนื้อโลหะ ที่จะนําไปหลอเปนโกงระฆัง จะมีสีเหลืองออน ๆ ขณะที่
หลอมโลหะ ก็จะทําการรื้ออิฐเก็บเตาออกใหเหลือแตหุน แลวใชดินพอกยาหุน ถามีการแตกราวดวย
ใชดินอุดรูกระบวนหรือไหลออกของขี้ผึ้งใหแนน เตรียมดินทําเปนกอนสําหรับอุดรูลนรูอากาศ
และสําหรับไวรับรั่ว (รับรั่ว หมายถึง การใชดินอุดน้ําโลหะที่รั่วไหลออกมาจการอยแตกราวของหุน
กอนใชดินอุดใหหยุดเทน้ําโลหะ เมือ่ อุดเสร็จจึงเทน้ําโลหะลงไปจนเต็มแบบ) จัดโตะสําหรับยืนเท
น้ําโลหะใหพรอม
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
รายการ จุดหลอมเหลว จุดเดือด
ทองแดง 1,083.5 องศาเซลเซียส 2,567 องศาเซลเซียส
สังกะสี 419.6 องศาเซลเซียส 907 องศาเซลเซียส
ดีบุก 231.9 องศาเซลเซียส 2,270 องศาเซลเซียส
ตะกั่ว 327.5 องศาเซลเซียส 1,740 องศาเซลเซียส
เงิน 961.9 องศาเซลเซียส 2,212 องศาเซลเซียส

การเทน้ําโลหะ
การเทน้ําโลหะลงในหุนสําหรับหลอ จะตองคํานึงถึงความสะดวกปลอดภัยในการปฏิบัติงานอยาง
มาก กอนลงมือปฏิบัติงาน จะตองมีการตรวจสอบเครื่องมือที่ใชในการปฏิบัติงาน ใหอยูในสภาพ
พรอมใชงาน ผูปฏิบัติงานจะตองมีสุขภาพรางกายที่แข็งแรงพรอม ทั้งมีความรูความสามารถ และ
ประสบการณในการปฏิบัติงาน เครื่องมือที่ใชงานในการปฏิบตั ิงานมี 2 ชนิด คือ
1. คีมเท (คีมสองหาง) คือ คีมที่ใชสําหรับยกเบาหลอมที่มีน้ําโลหะหลอมละลายอยูไปเอียง
เทลงในปากจอก (อางรูเท) ที่มีลกั ษระเปนดามเหล็กขางหนึ่ง มีดามเหล็กมีดามเดียวตรง
กลางเปนรูกลม เสนผาศูนยกลาง 28 เซนติเมตร อีกดานหนึ่งมีดามแยกออกเปน 2 ดาม
สําหรับจับยกความยาวของคีมเท 250 เซนติเมตร
2. คีมถอนเบา คือ คีมที่ใชสําหรับคีบยกเบาหลอม ที่มีน้ําโลหะหลอมละลายอยู ออกจาก
เตาหลอมนํามาวางใสลงตรงรูตรงกลางของคีมเท มีลกั ษณะเปนดามเหล็ก 2 ขาง เจาะรู
ยึดติดกันและขยับยกขึ้นลงไดที่ปลายของแตละขาง มีเหล็กรูปตัว C เพื่อใชเปนที่คีบจับ
ดานขางของเบาหลอมมีความยาวของคีมถอน 250 เซนติเมตร

เมื่อน้ําโลหะหลอมละลายไดที่ พรอมจะทําการเทน้ําโลหะลงในแบบ ใหนําคีมเทมาจัดวาง


ใหเรียบรอยที่ดานหนาเตาหลอม รื้ออิฐหนาเตาหลอมออกจากปากเตาดานบนลงมา 4-5 ชั้น ให
กวางพอประมาณ ปดสวิตซมอเตอรสําหรับเปาลม ใชคีมดามยาวคีบแผนเหล็กที่ปดเตาหลอมออก
ใชกระจาตักขี้เถาถานที่ลอยอยูในน้ําโลหะ ดานบนออกใหหมดทั้งสองเบาใชคีมถอนเบาหลอมออก
จากเตา โดยการยกคีมถอนใหปากคีมลงไป ในเตาหลอมคีบตรงกลางของขางเบาหลอม แลวยกคีม
ขึ้นพรอมกับใหเบาหลอมที่จะใชหลอเปนองคระฆัง ออกจากเตาหลอม นํามาวางลงในรูตรงกลาง
ของคีมเท แลวยกคีมถอนออกระวังมิใหเบาลมแลวยกคีมเททองไปเทน้ําโลหะลงในปากจอกรูเทให

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


น้ําโลหะไหลลงอยางสม่ําเสมอ จนน้ําโลหะลน ขึน้ มาตรงรูลนของเนื้อองคระฆัง ใชดินที่เตรียมไว
อุดรูใหแนนและหยุดเท ในระหวางที่กําลังเทน้ําโลหะ ที่เปนเนื้อองคระฆัง ผูปฏิบัติการถอนเบาก็จะ
ทําการถอนเบาที่มีน้ําโลหะ สําหรับเปนโกงของระฆังออกจากเตาหลอม ใสในคีมเทแลวยกขึ้นมาเท
ตรงอางรูเทอยางรวดเร็ว และตอเนื่องจนเต็มปากจอกรูเทและรูลนของหุน นําถานดิบกอน
พอประมาณเทากับอางรูเทและรูลนมาวาง เพื่อชวยใหน้ําโลหะที่รอนคอย ๆ เย็นตัวลง โดยที่ถาน
เมื่อนํามาวางไปวางที่ลุกติดไฟมีความรอน ก็จะลดลงขณะเดียวกันโลหะก็จะคอย ๆ เย็นตัวลง
เชนกัน ถาไมวางถานโลหะจะเย็นตัวอยางรวดเร็ว จากอากาศ จะทําใหผิวหนาของโลหะที่ปาจอกรู
เท และรูลนจะยุบตัวลงดานลาง และถายุบตัวลงมากจนถึงเนื้องานจริง จะทําใหเสียหายได (การนํา
ถานไปวางเปนความเชื่อของชางที่มีการบอกเลาตอ ๆ กันมา)

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


การแตงผิวโลหะ
เมื่อเททองเสร็จและทิ้งไวใหเย็นตัวลงประมาณ 3 วัน ใหใชฆอ น ๆ ทุบดินที่ทับเหล็กออกใหหมด
จากนั้นใชคีมตัดลวดมัดจําออกแลว แกะเหล็กที่เขาไวออกใหหมด ในการทุบและแกะเหล็กออก
ตองระฆังมิใหไปถูกเนื้อของงาน จะทําใหชิ้นงานบุบและเสียได ใชเครื่องตัดชนวนที่ติดไวออก ทํา
การขัดตกแตงชิ้นงานใหเรียบรอยใชตะไบ กระดาษทรายขัดใชสะกัดตอกตัดสวนเกินทีไมเกี่ยวของ
กับงานออก การขัดตกแตงตองระมัดระวังใหขัดกินผิวของงานลึกเกินไป จะทําใหเกิดผลเสียตอ
รูปทรงและเสียงของระฆังได เมื่อขัดแตงเสร็จนําระฆังไปแชในน้ํา เพื่อใหดินใน (ไสแบบ) ชุมน้ํา
เพื่อจะไดงายตอการนําเอาไสแบบออก และขัดตกแตงชิ้นงานอีกครั้ง ทั้งภายในและภายนอกให
เรียบรอย นําน้ํากรดดินประสิวมาทําการลางกัดผิวของชิ้นงาน เพื่อลางและทําความสะอาด (ลางผิว
ไฟ) นํามะขามเปยกแชน้ําผสมกับทรายละเอียดมา ขัดลางอีกครั้ง ลางออกดวยน้ําสะอาดแลว ลาง
ดวยน้ําผสมผงซักฟอกอีกครั้ง และลางออกดวยน้ําสะอาด ทิ้งไวใหแหงแลวนําระฆังที่เสร็จสมบูรณ
ไปแขวนใหแนนแลวใชเหงาไมไผตีลงตรงปุม ที่ทําไวตีฟงเสียงระฆัง ระฆังขนาด 3 กํา ใบนี้จะมี
เสียงดังแหลมเล็ก และกังวานดีมาก

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


บทที่๖ ผลผลิตจากกระบวนการกลึงระฆังแบบโบราณ

ระฆังโลหะขนาด ๓ กํา
ขณะชางกําลังทดสอบเสียง
การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ
ผลผลิตงานศิลปกรรม

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


บทที่๘ กิจกรรมขอเสนอแนะ การสัมภาษณชาง

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


บทที่๙ เอกสารอางอิง

การกลึงปนหลอระฆังแบบโบราณ กรมศิลปากร 2548

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


บทที่๑๐ เอกสารที่เกี่ยวของ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


บทที่ ๑๑ คณะทํางาน

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ


บทที่ ๑๒ กิตติกรรมประกาศ

การจัดทําองคความรูด านชางสิบหมู เรื่อง การหลอระฆังแบบโบราณ

Vous aimerez peut-être aussi