Vous êtes sur la page 1sur 46

อาจารย์ กริช สมกันธา

ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)


ประวัตผิ ู้สอน
 คุณวุฒิ
กำลังศึกษาต่อ ปริ ญญาเอก --> Phd. (Electrical Engineering) (CMU)
ปริ ญญาโท --> วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (KMITL)
ปริ ญญาโท --> วิทยาศาสตร ์ คอมพิวเตอร์ (KMITL)
ปริ ญญาตรี --> วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (RMUT)

 นักศึกษาทุนรัฐบาล (สกอ.) ระดับปริญญาเอก, นักศึกษาทุนมูลนิธิเพือ่ การศึกษา


คอมพิวเตอร์ ระดับปริญญาโท
 อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์มหาวิทยาลัยนอร์ท-
เชียงใหม่, อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยแม่โจ้, อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยขอนแก่น, อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัย
ราชภัฏเชียงใหม่

 งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


Artificial Intelligence, Digital Image Processing, Pattern Recognition,
Information Technology, Genetic Algorithm
เกณฑ์ การให้ คะแนน

 คะแนนเข้ าร่ วมกิจกรรมในการเรียนการสอน 10


 คะแนนสอบ Midterm 20
 คะแนนสอบย่ อย หรืองาน Homework 10
 คะแนนงานทีไ่ ด้ รับมอบหมาย (Programming)
25
 คะแนนสอบ Final 30
จุดประสงค์ ของการเรียนวิชาปัญญาประดิษฐ์
 นักศึกษาสามารถที่จะสร้างระบบปั ญญาประดิษฐ์ที่สามารถ
ทำงานแทนมนุษย์ และนำไปประยุกต์ใช้กบั งานต่างๆ ได้
อย่างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่งจะเป็ นประโยชน์เป็ นอย่างสู งใน
การนำไปทำโครงงาน ทำวิทยานิพนธ์ต่างๆ
การทำงานของเครื่ องคอมพิวเตอร์
 เนื่องจากคอมพิวเตอร์ ปัจจุบนั เป็ นคอมพิวเตอร์ แบบ von Neumen’s
Machine หรื อเป็ น Stored-Program Computer กล่าวคือเป็ นเครื่ องจักรที่
ทำงานตามขัน้ ตอนของคำสั่งหรื อโปรแกรมทีม่ นุษย์ คดิ ไว้ และนำโปรแกรม
นั้นไปเก็บในรู ปแบบของไฟล์ในดิสก์ คอมพิวเตอร์กอ็ ่านโปรแกรมไปเก็บ
ไว้ในหน่วยความจำเพื่อให้หน่วยประมวลผลกลางหรื อ CPU มาอ่านคำสัง่
ไปทำงานทีละคำสัง่ โดยเริ่ มตั้งแต่คำสัง่ แรกไปจนจบโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ กับการคำนวณ
 คอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนั เป็ นคอมพิวเตอร์ ในยุคที่สี่ซ่ ึ งเลียนแบบการทำงานของ
สมองมนุษย์เฉพาะในงานของการคำนวณดังแสดงการเปรี ยบเทียบในรู ป
ก ระดาษ
D a ta
ห น่ ว ย คำ น ว ณ ห น่ ว ย ค ว า ม จำ 5 + 6 = ?

ส ม อ ง ม นุ ษ ย์ ผ่ า น ต า แ ล ะ มื อ
ก. การทำงานของสมองมนุษย์
I n s tr u c tio n +
C e n tra l D a ta M e m o ry
In p u t/
P r o c e s in g U n it
O u t p u t U n it
U n it D a ta P ro g ra m

ข. การคำนวณของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั เป็ น von Neumann’s Machine


โครงสร้ างของระบบคอมพิวเตอร์ ในยุคที่ 4
 ประกอบด้วย 4 ส่ วนหลักๆ ดังนี้
M e m o ry In p u t/O u tp u t
CPU
U n it I n te r fa c e U n it

D a ta b u s
D a ta p a th A d d re s s b u s
C o n tro l b u s
High-level swap(int v[], int k)

การทำงานของการ
language {int temp;
program temp = v[k];
(in C) v[k] = v[k+1];
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ }
v[k+1] = temp;

C compiler

Assembly swap:
language muli $2, $5,4
program add $2, $4,$2
(for MIPS) lw $15, 0($2)
lw $16, 4($2)
sw $16, 0($2)
sw $15, 4($2)
jr $31

Assembler

Binary machine 00000000101000010000000000011000


language 00000000100011100001100000100001
program 10001100011000100000000000000000
(for MIPS) 10001100111100100000000000000100
10101100111100100000000000000000
10101100011000100000000000000100
00000011111000000000000000001000
ปํ ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

 เป็ นวิชาที่วา่ ด้วยการศึกษาเพื่อให้เข้าใจถึงความฉลาดและ


สร้างระบบคอมพิวเตอร์ทีชาญฉลาด และนำมาทำงานแทน
หรื อช่วยมนุษย์ทำงานที่ตอ้ งใช้ความฉลาดนั้นๆ
 การทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรี ยนรู ้ได้
ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ หรื อการพัฒนาให้ระบบ
คอมพิวเตอร์ตอบสนองการทำงานต่างๆ ในสภาพแวดล้อม
ต่างๆ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบตั ิงานได้แทนคน
เช่น Robot
AI

 ความพยามในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ให้มีพฤติกรรม
เรี ยนแบบคน ระบบต่างๆ จะต้องมีความสามารถเข้าใจภาษา
มนุษย์
 รู ปแบบการคำนวณทัว่ ๆ ไปเช่นการคำนวณโดยใช้
คอมพิวเตอร์ไม่ถือเป็ น AI เพราะ AI จะสามารถค้นพบวิธี
ในการแก้ปัญหานั้นด้วยตนเอง
 วัตถุประสงค์ คือให้สามารถทำงานได้เทียบเท่ากับระดับสติ
ปั ญญาของคน โดยสามารถแก้ปัญหาได้ดีหรื อใกล้เคียงกัน
กับคน โดย
วัตถุประสงค์ ของปัญญาประดิษฐ์

 เพื่อจำลองปั ญญาของมนุษย์และทำงานแทนมนุษย์
 เพื่อแก้ปัญหาที่ตอ้ งใช้ความรู ้จำนวนมาก
 เพื่อสร้างสื่ อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ กบั มนุษย์ให้เข้าใจกัน
ปัญญาประดิษฐ์ มพี นื้ ฐานมาจากสาขาต่ างๆ ดังนี้
 Philosophy ปรัชญา
 Logic ตรรกศาสตร์
 Computation การคำนวณ
 Psychology/Cognitive Science จิตวิทยา
 Biology/Neuroscience, ชีววิทยา/ประสาทวิทยา
 Evolution วิวฒ
ั นาการ
เราจะรู้ได้ อย่ างไรว่ าระบบนีส้ ามารถเรียกได้ ว่าเป็ นระบบ AI?

การทดสอบทัวริ ง (Alan Turing) เราจะทำการทดสอบระบบ


ว่าเป็ น AI หรื อไม่โดยจะมีคนทำการทดสอบกับระบบ AI และคน
ถ้าคนทดสอบไม่สามารถแยกแยะได้วา่ ระบบไหนคือ AI ระบบไหน
คือคน แสดงว่าระบบนั้นเป็ น AI
AI คน
สิ่ งที่นำมาทดสอบ

ผูท้ ดสอบ คน
ประโยชน์ ของปัญญาประดิษฐ์

1. ช่วยให้การใช้งานคอมพิวเตอร์เป็ นเรื่ องที่ง่ายขึ้นและช่วยให้มีการใช้


องค์ความรู ้กนั มากขึ้น
2. ช่วยให้กระบวนการในการแก้ไขปัญหามีความรวดเร็ วและมีความ
สอดคล้องกันมากขึ้น
3. ช่วยแก้ปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขเองได้ หรื อยากต่อการแก้ไขด้วย
การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจได้
4. ช่วยค้นหา วิเคราะห์ สรุ ปความหรื อแปลผลสารสนเทศที่มีจำนวน
มากได้
5. ช่วยเพิ่มผลิตผลในการทำงานให้มากขึ้น
6. ช่วยทำงานแทนมนุษย์ในสถานการณ์ที่เสี่ ยงภัย
ข้ อดีและข้ อจำกัดของปัญญาประดิษฐ์
ความสามารถทีใ่ ช้ เปรียบเทียบ มนุษย์ ปัญญาประดิษฐ์
ความคงทนถาวรขององค์ อาจสูญหายไปตามกาล จัดเก็บเป็ นองค์ความ
ความรู้ เวลาหรื อการตายของผู ้ รู้ได้คงทนถาวร
เป็ นเจ้าขององค์ความรู้
การคัดลอกและการเผยแพร่ ทำได้ยาก ต้องเสี ยค่าใช้ ทำได้ง่าย รวดเร็ ว
องค์ความรู้ จ่ายให้กบั ผูเ้ ชี่ยวชาญสูง และเสี ยค่าใช้จ่าย
และใช้เวลานาน น้อย

การจัดทำเป็ นเอกสารขององค์ ยุง่ ยาก ค่าใช้จ่ายสูง ค่อนข้างง่ายและค่า


ความรู้ ใช้จ่ายไม่สูงนัก
ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีความคิดริ เริ่ ม ไม่มี
สร้างสรรค์
ข้ อดีและข้ อจำกัดของปัญญาประดิษฐ์

ความสามารถทีใ่ ช้ เปรียบ ปัญญาธรรมชาติ ปัญญาประดิษฐ์


เทียบ
ต้นทุนขององค์ความรู้ สูงมากเมื่อคิดเป็ นช่วงเวลา ค่าใช้จ่ายต่ำกว่า
นาน เนื่องจากต้องจ่ายให้
กับผูเ้ ชี่ยวชาญเป็ นประจำ

ความละเอียดอ่อนและ อาจมีความลำเอียงได้ มีความละเอียด


ยุติธรรม เนื่องจากเหตุผลทางอารมณ์ รอบคอบและ
และบางเวลาอาจเกิดความ ยุติธรรมเสมอตามที่
ไม่รอบคอบได้ ถูกโปรแกรมไว้
การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในศาสตร์แขนงอื่น
พฤติกรรมทีแ่ สดงความฉลาด

 การเรี ยนรู ้และเข้าใจจากประสบการณ์


 การตอบสนองต่อข้อความที่คลุมเครื อหรื อขัดแย้งกัน
 ความสามารถในการที่จะตอบสนองต่อสถานการณ์ใหม่ๆ ได้อย่าง
รวดเร็ วและประสบผลสำเร็ จ
 ความสามารถในการจัดการและแก้ไขปั ญหาที่ซบั ซ้อนได้
 ความสามารถที่จะเข้าใจและทำงานได้ในทิศทางที่ถูกต้อง
 ความสามารถที่จะใช้ความรู ้เพื่อจัดการกับสภาพแวดล้อมได้
 ความสามารถที่จะหาความรู ้และใช้ความรู ้น้ นั ได้
 ความสามารถที่จะคิดและใช้เหตุผล

ประวัตขิ องปัญญาประดิษฐ์ AI
- ยุคก่อนกำเนิดปั ญญาประดิษฐ์ (คศ. 1943-1955)
เป็ นยุคก่อนที่จะเกิดคำว่า AI
- ยุคกำเนิดปั ญญาประดิษฐ์ (คศ. 1956)
เป็ นยุคที่เริ่ มกำหนดชื่อของสาขาวิชานี้วา่ “ปัญญาประดิษฐ์”
- ยุคตื่นตัว (คศ. 1952-1969)
ได้สร้างโปรแกรมภาษา Lisp ซึ่ งเป็ นโปรแกรมที่ใช้ในวงการ
ปั ญญาประดิษฐ์
ประวัตขิ องปัญญาประดิษฐ์ AI
- ยุคเผชิญปัญหาจริ ง (คศ. 1966-1973)
เป็ นยุคที่ไม่มีโปรแกรมใดที่เก็บองค์ความรู ้ในรู ปประโยคต่างๆ ได้อย่างชัดเจน ไม่มี
เครื่ องจักรที่แปลภาษาทาง AI ได้ ข้อจำกัดด้านพื้นฐานทาง Hardware ทำให้เกิดปัญหาใน
การพัฒนา AI
- ยุคระบบฐานความรู้ (คศ. 1969-1979)
จากยุคที่แล้ว วิธีการแก้ปัญหายังไม่สมบูรณ์เพียงพอที่จะนำไปใช้งาน จึงหันมาหาความรู ้
เฉพาะด้านซึ่งนำไปสู่ ข้นั ตอนที่สมเหตุสมผล และนำไปสู่ การแก้ปัญหา
- ยุคปัญญาประดิษฐ์เข้าสู่อุตสากรรม (คศ. 1980-ปัจจุบนั )
เป็ นยุคที่นำเอา AI ไปใช้ในงานอุตสากรรมต่างๆ
ข้ อเปรียบเทียบและข้ อจำกัดของปัญญาประดิษฐ์
 ระบบการคำนวณ
การคำนวณที่เกี่ยวข้องกับตัวเลขจำนวนมาก จะซับซ้อนเกินกว่าที่สมองของคนจะคำนวณ
ได้ แต่ AI สามารถคำนวณได้อย่างรวดเร็ ว
 ระบบการจัดเก็บข้อมูล
เมื่อระบบมีขอ้ มูลมากขึ้น การจดจำด้วยสมองคนจะไม่ใช่ทางเลือกที่ดีเนื่องจากสมองคน
จะมีการลืม แต่เครื่ องจักรกลสามารถเก็บข้อมูลได้จำนวนมากและนำไปใช้ได้โดยง่าย
 ระบบการทำงานแบบวนซ้ำ
การทำงานซ้ำในการคำนวณ อาจจะส่ งผลต่อการตัดสิ นใจของมนุษย์ เนื่องจากคนมีขอ้
จำกัดทางร่ างกาย เมื่อทำงานเดิมๆ แต่สำหรับ เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มี AI จะสามารถ
ทำงานแบบวนซ้ำได้อย่างไม่มีปัญหา
ข้ อเปรียบเทียบระหว่ างคอมพิวเตอร์ AI และ
คอมพิวเตอร์ ทวั่ ไป
ข้อเปรี ยบเทียบ AI Computer Computer ทัว่ ไป
การประมวลผล ประมวลผลด้วยการวิเคราะรู ปแบบ ประมวลผลตาม Algorithm ที่สร้าง
สัญลักษณ์ ไว้
ข้อมูลนำเข้า ข้อมูลนำเข้าไม่จำเป็ นต้องสมบูรณ์ ข้อมูลนำเข้าต้องมีความสมบูรณ์
วิธีการค้นหา ใช้วธิ ีที่ไม่อาศัยกฏเกณฑ์ตายตัว ใช้วกิ ารตามรู ปแบบ Algorithm
จุดมุ่งหมาย การได้มาซึ่งองค์ความรู ้ การได้มาซึ่งข้อมูลและสารสนเทศ
การให้เหตุผล สามารถให้เหตุผลได้ ไม่สามารถให้เหตุผลได้
การตัดสิ นใจ ตัดสิ นใจได้ดว้ ยตนเอง ต้องให้มนุษย์ช่วย หากอยูน่ อกวิธี
การวิเคราะห์ขอ้ มูล วิเคราะห์ขอ้ มูลอย่างสมเหตุผล วิเคราะห์ตาม Algorithm
การเรี ยนรู้ สามารถเรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง ไม่สามารถเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
AI ในปัจจุบัน
         แม้ A.I. จะทำอะไรได้มากมายแต่หากเทียบกับจุดมุ่งหมายเดิมที่ตอ้ งการสร้างสิ่ ง
ประดิษฐ์ที่มีความรู ้ความคิดเท่าทันมนุษย์แล้วนับได้วา่ A.I. ในปัจจุบนั ยังห่างไกลกับ
ความซับซ้อนของระบบความคิดของมนุษย์พอสมควร แต่ใช่วา่ จะเป็ นไปไม่ได้เอาเสี ย
เลย  สิ่ งที่ A.I. ยังขาดไปคือ จินตนาการ และแรงบันดานใจ ที่มีอยูใ่ นตัวของมนุษย์เราทุก
คนแล้วแต่จะมากน้อยแตกต่างกันไปตามวัยและประสบการณ์ รวมทั้งความรู้ จักคิดรู้ จัก
ตั้งคำถาม  หรือการพัฒนาองค์ ความรู้ จากประสบการณ์ ก็เป็ นอีกหนึ่งอย่างที่ A.I. ยังไม่
สามารถมีได้ ทดั เทียมกับมนุษย์ เรา  แต่หากเปรี ยบเทียบกันในเรื่ อง ความว่องไวแม่นยำใน
การคิดการประมวลผลแล้วแน่นอนว่า มนุษย์เราไม่สามารถทำได้เร็ วเท่า  ความว่องไว
แม่นยำเป็ นซึ่งเป็ นจุดเด่นของ สมองกลอยูแ่ ล้ว แถมซ้ำมนุษย์เรายิง่ แก่กย็ งิ่ หลงๆลืมๆ  ไป
ตามวัย
           ดังนั้นพอจะอนุมานได้วา่ A.I. เป็ นตัวเสริ มความรู ้ของมนุษย์เราในด้านที่บกพร้อง
ต่างๆ เป็ นการเติมเต็มในบ้างสิ่ งที่มนุษย์เราขาดหายไป หรื อ หลงลืมไปในบางรายละเอียด
ทั้งการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ยงั เป็ นการพิสูจน์ศกั ยภาพของมนุษย์วา่ จะสามารถพัฒนาสิ่ ง
ไม่มีชีวติ ให้กลับมา เป็ นสิ่ งซึ่งมีความรู ้สึกนึกคิดอย่างมนุษย์หรื อเข้าใกล้มนุษย์ได้มาก
น้อย เพียงใด ล้วนเป็ นคำถามที่น่าสงสัยและรอการไขสู่คำตอบอยูท่ ุกเมื่อ
งานประยุกต์ ทาง AI
 การเล่นเกมส์
AI ชนิดถูกพัฒนาขึ้นมาเป็ นอย่างแรกๆของ AI เลยทีเดียว ในการวิจยั เกี่ยวกับเกม
ของ AI จะเน้นไปในการเล่นเกมกระดาน เพราะเกมเหล่านี้จะมีกฎกติกาที่ตายตัว และ
ไม่มีความสลับซับช้อนมากในการเขียนโปรแกรมเพื่อประมวลผล มากนัก เช่นเกม หมาก
รุ ก ,puzzle เป็ นต้น
 การเข้าใจภาษาธรรมชาติและการสร้างรู ปแบบความหมาย
           A.I. ชนิดนี้ เน้นไปที่การสร้างโปรแกรมที่สามารถเข้าใจภาษามนุษย์ได้  มีการ
ตอบโต้กบั มนุษย์ได้  อาจจะเป็ นลักษณะการพูดตอบโต้หรื อการสื่ อความหมายในรู ปแบบ
อื่น แม้จะมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง แต่ A.I. ในลักษณะนีก้ ต็ ้ องถือว่ ายังไม่ ประสบความ
สำเร็จเท่ าทีควร ตัวอย่างเช่นแปลไทยเป็ นอังกฤษ อังกฤษเป็ นไทย
งานประยุกต์ ทาง AI
 การวางแผนและหุ่ นยนต์
เป็ นการสร้างและออกแบบหุ่นยนต์ เพื่อให้สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
อย่างมนุษย์เรา หุ่นยนต์อาจจะถูกสัง่ ให้เดินหน้าเลี้ยวซ้ายเลี้ยวขวาได้แต่เมื่อเจอสิ่ งกีดขวาง
บางทีมนั ก็ดนั ทุลงั ที่จะเดินหน้าต่อไป เพราะโปรแกรมเขียนมาอย่างนั้น แต่ในปัจจุบนั มี
หุ่นยนต์ที่ถูกสร้างมีพฒั นาการที่ดียงิ่ ขึ้น
 การทำเหมืองข้อมูล (Data Mining)
เป็ นการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์เพื่อค้นหาข้อมูลอย่างชาญฉลาดจากฐานข้อมูลขนาด
ใหญ่ ซึ่งจะทำหน้าที่ดึงข้อมูลที่เราต้องการออกจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เช่นข้อมูลการ
ขออนุมตั ิบตั รเครดิตของลูกค้า
งานประยุกต์ ทาง AI
 ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert System)
เป็ นการสร้างระบบ AI ให้ทำหน้าที่เหมือนผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่นผูเ้ ชี่ยวชาญในการ
รักษาโรค คือถ้าเป็ นโรคนี้ควรจะให้คำแนะนำอะไรและให้ยาอะไร

 การพิสูจน์ทฤษฎี (Theorem Proving)


เป็ นการพิสูจน์ทฤษฎีต่างๆ เช่นทฤษฎีทางคณิ ตศาสตร์ ทางฟิ สิ ก

 การโปรแกรมอัตโนมัต (Automatic Programming)


เป็ นการเขียนโปรแกรมโดยอัตโนมัติเช่นป้ อน Input กับ Output เข้าไป ระบบจะสามารถ
สร้างโปรแกรมให้โดยอัตโนมัติ
งานประยุกต์ ทาง AI
 ปั ญหาการจัดตาราง (Scheduling Problem)
เทคนิคทาง AI ที่ใช้ในการจัดการตารางงาน ตารางเวลาต่างๆ เช่นการจัดตารางสอนของ
อาจารย์ในมหาวิทยาลัยโดยใช้เทคโนโลยีทางปัญญาประดิษฐ์ การจัดตารางเวลาในสาย
การผลิตให้ได้ประสิ ทธิภาพสูงสุ ด หรื อการจัดตารางขึ้นลงของเครื่ องบิน

 ปั ญหาทางมโนทรรศน์ (Perception Problem)


เทคนิคทาง AI ที่นำไปใช้ในการมองเห็น การฟัง การได้ยนิ เช่นเมื่อหุ่นยนต์มองจะทราบ
ได้อย่างไรว่าอันนี้เป็ นคนหรื อเป็ นสัตว์

 ภาษาธรรมชาติกบั การประยุกต์ ใช้ ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์

– เป็ นการนำวิทยาการด้ านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีด้านการ


ประประมวลผลภาษาธรรมชาติมาพัฒนาโปรแกรมประมวลผลภาษาไทยบน
คอมพิวเตอร์ เพือ่ ให้ ใช้ งานได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ ประกอบด้ วย การประมวลผลตัวอักษร
(Character) คำ (Word) ข้ อความ (Text) ภาพ (Image) และความรู้ ด้านภาษาศาสตร์
(Linguistics)
ตัวอย่างหุ่นยนต์ในปัจจุบนั
ตัวอย่างหุ่นยนต์ในปัจจุบนั
ตัวอย่างหุ่นยนต์ในปัจจุบนั
งานประยุกต์ ทาง AI
 ทางด้านการแพทย์
มีการนำแขนกลเข้าไปช่วยการผ่าตัด ซึ่ง สามารถทำงานได้ละเอียดกว่า
มนุษย์มาก และข้อดีอีกประการคือการไม่มีความวิตกกังวล เกิดขึ้นในขณะ
ทำงานอย่างเช่นในมนุษย์ที่อาจจะก่อให้เกิดความผิดพลาดในการทำงานได้ 
การใช้แขนกลช่วยในการผ่าตัด เป็ นการทำงานที่มีความปลอดภัยสูง และอยู่
ภายใต้ความดูแลของแพทย์จึงเป็ นการร่ วมงานกันอย่างดีเยีย่ มระหว่างคนกับ
เครื่ องจักรกล

 ทางด้ านอุตสาหกรรม
          เป็ นการช่วยลดภาระทางต้นทุนการผลิตได้อย่างมาก  ทั้งในงานบาง
ประเภทที่อาจจะก่อให้เกิดอันตรายหรื อมีความเสี่ ยงสูง จนไม่ค่อยมีใครอยาก
ทำก็สามารถใช้ หุ่นยนต์หรื อปัญญาประดิษฐ์มาทำงานแทนได้
ตัวอย่างหุ่นยนต์ในด้านการแพทย์และอุตสาหกรรม
ตัวอย่างหุ่นยนต์ในด้านการแพทย์และอุตสาหกรรม
งานประยุกต์ ทาง AI
 ทางด้ านการบันเทิง
          มีการสร้างหุ่นยนต์ที่สามารถตอบโต้กบั มนุษย์ได้ เป็ นสัตว์
เลี้ยงเป็ นเพื่อนเล่น

 ด้ านทางการทหาร 
           A.I หรื อปั ญญาประดิษฐ์ในพวกนี้ถูกนำมาประยุกต์ใช้เป็ น
เครื่ องบินไร้คนขับ  รถถังไร้คนขับ โดยมีจุดประสงค์หลักในทาง
ด้านความมัน่ คง
ตัวอย่างหุ่นยนต์

หุน
่ ยนต์สนุ ัข AIBO ของ SONY ก็เป็ นสน ิ ค ้าทีไ่ ด ้รับความ
นิยมทีเดียว เนือ ่ งจากเป็ นหุน ่ ยนต์ทม
ี่ ี AI เลียนแบบ
พฤติกรรมของสุนัขได ้เหมือน จนคิดว่าเป็ นสุนัขจริงๆที
เดียว ข ้อดีคอื ไม่ต ้องยุง่ กับการอาบน้ำ ให ้อาหาร
 รองเท ้าวิง่ ของ Adidas ชอ ื่ รุน ่ ว่า Adidas_1
Intelligence Level 1.1 ทีม ่ ี AI คอยปรับความ
สามารถในการรับแรงกระแทกให ้เหมาะสมกับ
แรงกระแทกทีไ่ ด ้รับ โดยทีพ ่ นื้ รองเท ้าจะมี
เซนเซอร์ทรี่ องรับแรงกระแทก จากนั น ้ ข ้อมูลจะ
ถูกสง่ ไปยัง ชป ิ (Chip) เพือ ่ ประมวลผล และ
ปรับความสามารถในการรองรับแรงกระแทก
ของรองเท ้า เทคโนโลยีนีจ ้ ะชว่ ยให ้ รองเท ้า
ปรับสภาพเพือ ่ เหมาะกับแรงกระแทกของแต่ละ
Adidas_1 Intelligence Level 1.1
บุคคล ขณะวิง่
งานประยุกต์ ทาง AI
 ระบบประมวลผลภาพดิจิตอล(Digital image processing)
และ รู ปแบบการจดจำ (Pattern recognition)
         เทคนิคทาง AI ได้ถูกนำไปใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ
มองเห็นการฟัง การได้ยนิ เช่นเมื่อคนมองจะรู ้ได้อย่างไรว่า
สิ่ งนั้นคืออะไร สิ่ งนี้เป็ นคน หรื อสิ่ งนี้เป็ นสัตว์

         
ส่ วนประกอบใหญ่ที่สำคัญทาง AI
1. การรั บรู้ การนำข้ อมูลเข้ า (Perception = Input)
สิ่ งมีชีวติ ในระบบชีววิทยา มีการรับรู้ สภาพโดยรอบ ผ่านหู ตา จมูก ปาก (senses)
 รถยนต์ที่ขบั เคลื่อนด้วยตนเอง มีการรับข้อมูลผ่านทางกล้อง camera images และ
ข้อมูลเกี่ยวกับเส้นทาง
 ระบบวิเคราะห์หาสมมติฐานของโรค มีการรับข้อมูลจากอาการของคนไข้ และผลการ
ตรวจร่ างกาย
 Vision การรับรู้จากรู ปภาพ
 Speech processing การประมวลผลคำพูด
 Natural language processing การประมวลผลภาษา
 Signal processing การประมวลผลจากสัญญานต่าง ๆ เช่น เสี ยง แสง ความร้อน ความ
เย็น ลม
ส่ วนประกอบใหญ่ที่สำคัญทาง AI
2. 
หลักการใช้ เหตุและผล (Reasoning = Computation)
การใช้หลักการและเหตุผลเป็ นหัวใจของปั ญญาประดิษฐ์ เพราะการกระทำทุกอย่างที่มี
ความฉลาดต้องมีการวิเคราะห์ก่อน การดำเนินการ ตัวอย่างเช่น การสรุ ปจากเหตุ (inference
), การตัดสิ นใจ (decision-making), การจัดหมวดหมู่และประเภท (classification) ซึ่งการก
ระทำต้องได้มาจากการรับรู ้ และสถานะในปั จจุบนั ของระบบนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น
 Neural network การใช้เครื่ องข่ายประสาท
 Heuristic searching a problem space การหาคำตอบโดยการเลือกทางที่ดูเหมาะที่สุด
 Knn และ Bayes classification ระบบการจำแนกกลุ่มของข้อมูล
 Genetic algorithm ขั้นตอนวิธีทางพันธุ กรรม
ส่ วนประกอบใหญ่ที่สำคัญทาง AI
3. การแสดงการกระทำ (Action = Output)

สิ่ งมีชีวติ โต้ตอบกับสภาพรอบตัวโดย การเคลื่อนไหว เสี ยง
 รถยนต์ที่ขบ ั เคลื่อนด้วยตนเอง มีการแสดงการกระทำคือ การหมุนพวง
มาลัย การปรับระดับเครื่ องยนต์
 ระบบวิเคราะห์หาสมมติฐานของโรค มีการแสดงตัวยาที่สามารถช่วย
บรรเทาอาการ หรื อแนะนำ การทดสอบเพิ่มเติมในกรณี ที่จำเป็ น
 Robot actuation การเคลื่อนไหวของหุ่ นยนต์
 Natural language generation การส่ งภาษา
 Computer graphics การแสดงรู ปภาพ
 Sound synthesis อุปกรณ์สงั เคราะห์เสี ยง
ตัวอย่ างการสร้ างระบบ AI ทีส่ ามารถบ่ งบอกว่ าคนไหน
ร่ างกายปกติและไม่ ปกติ(ชาย)
1. หาลักษณะเด่น (Feature Extraction)
- Feature 1 คือ ส่ วนสูง
- Feature 2 คือ น้ำหนัก
2. ข้อมูลที่ใช้สำหรับการฝึ ก (Train)
- คือข้อมูลของคนปกติ 10 คน และ คนไม่ปกติ 10 คน
3. ข้อมูลที่ใช้สำหรับการทดสอบ (Test)
- ข้อมูลที่ไม่รู้วา่ ปกติหรื อไม่ปกติ
4. ทำการจำแนกกลุ่มของข้อมูล (Classification) โดยใช้ รู ปแบบการจดจำ (Pattern
Recognition)
      - สร้างสมการสำหรับการตัดสิ นใจ ซึ่งอาจจะใช้ทฤษฎี AI ที่มีอยูเ่ ช่น Bay,
Knn, Neural Network, SVM, Fuzzy    
F2 (Weight)

90

80 I
I
I
I
70
I
I
60
I I

50 I
I I Train
40
Test
30
F1 (Tall)
120 130 140 150 160 170 180 190
 แนวโน้มของการพัฒนา ปัญญาประดิษฐ์ที่เป็ นรู ปธรรมมีเพิม่ มากขึ้นเรื่ อยๆ
         
ในระยะเวลาอันใกล้เราอาจจะเห็นปัญญาประดิษฐ์รูปแบบใหม่ๆที่ คล้ายมนุษย์มาก
ขึ้นทุกวัน เพราะนับจากการปฎิวตั ิอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ กพ็ ฒั นาแบบก้าว
กระโดดเรื่ อยมา แต่ในขณะเดียวกันหากเราใช้วถิ ีชีวติ ที่ยดึ ติดกับเทคโนโลยีมากเกิน
ไป มนุษย์เราก็อาจจะถูกลดทอนความสำคัญลงเพราะคนไม่ตอ้ งสนใจในผูค้ นรอบ
ข้างมากนักไม่ตอ้ งกังวลว่าจะกลายเป็ นคนไม่มีเพื่อนเมื่อเหงาก็สามารถพูดคุยกับ หุ่น
ยนต์ได้ เหมือนอย่างเช่นเทคโนโลยีหลายๆอย่างที่ทำให้คนห่างไกลกัน แต่ถึง
กระนั้นหากมนุษย์รู้จกั ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีที่ตวั เองสร้าง อย่างเท่าทันก็คง
ไม่ใช่เรื่ องแปลกที่ เราจะมีส่ิ งประดิษฐ์ที่มีความคล้ายคลึงกับมนุษย์และมีความฉลาด
ที่เกือบจะทัดเทียมกัน ..ปัญญาประดิษฐ์ นับได้ ว่าศาสตร์ แห่ งชีวติ
คำถาม
1. ปัญญาประดิษฐ์คืออะไร ?
2. บอกประโยชน์ของปัญญาประดิษฐ์มา 3 ข้อ ?
3. บอกข้อจำกัดของปัญญาประดิษฐ์ในปัจจุบนั 3 ข้อ ?
4. จงบอกถึงพฤติกรรมที่แสดงความฉลาดของปัญญาประดิษฐ์มา 5 ข้อ (ห้ามซ้ำกับที่สอน) ?
5. จงบอกตัวอย่างของการประยุกต์งานทางปัญญาประดิษฐ์มา 5 ข้อ ที่นกั ศึกษาสังเกตเห็นใน
ปัจจุบนั (ห้ามซ้ำกับที่สอน) ?
6. อธิบายความแตกต่างระหว่างระบบที่มีปัญญาประดิษฐ์ กับระบบที่ไม่มีปัญญาประดิษฐ์มา 3
ข้อ ?
7. ถ้าต้องการสร้างระบบปัญญาประดิษฐ์ที่ทำการแยกว่าอันไหนคือ ส้ม อันไหนคือ มะพร้าว จะ
สร้างระบบยังไง ?

Vous aimerez peut-être aussi