Vous êtes sur la page 1sur 48

ไซแอนโทโลยี

สร างโลกให ดี ขึ้ น


จากการกอตั้งและคิดคนพัฒนาขึน้ โดย แอล รอน ฮับบารด ไซแอนโทโลยีเปนปรัชญาศาสนาเพื่อการประยุกตใช ซึง่
เสนอหนทางอันแมนยํ า ที่จะทําใหผูคนสามารถไดความเปนจริงและความเรียบงายแหงจิตวิญญาณของตนเองกลับคืนมา
อีกครั้ง
ไซแอนโทโลยีประกอบไปดวยสัจพจนจําเพาะตางๆ ที่อธิบายมูลเหตุพื้นฐาน และหลักการตางๆ ที่เกี่ยวของกับการ
ดํารงชีวิต ตลอดจนขอสังเกตซึ่งครอบคลุมเนื้อหากวางไกลเกี่ยวกับความเปนไปของมนุษย เปนองคความรูเชิงปรัชญา
ที่สามารถนําไปใชไดกับทุกดานของชีวิตอยางแทจริง
องคความรูอันไพศาลนี้ กอใหเกิดประโยชน 2 ดานคือ หนึ่ง เทคโนโลยีที่ชวยเพิ่มพูนการรับรูทางจิตวิญญาณ และ
นําใหเราไปพบสภาวะที่เปนอิสระ ดังทีห่ ลักคําสอนเชิงปรัชญาตางๆเพียรพยายามบรรลุใหถงึ และสอง หลักความรูส ําคัญๆ
มากมายที่มนุษยเราสามารถนําไปใชเพื่อปรับปรุงชีวิตของตนใหดีขนึ้ สําหรับในขอสองนี้ ไซแอนโทโลยีเสนอวิธีการที่ลวน
ปฏิบัติใชไดจริงเพื่อปรับปรุงชีวิตในทุกๆ ดาน ซึ่งหมายถึงการสรางหนทางใหมในการดําเนินและดํารงชีวิต และนี่คือที่มา
ของเรื่องราวที่คุณกําลังจะอานตอไปในหนังสือเลมนี้
ขอมูลในหนังสือเลมนี้ เปนเพียงหนึ่งในเครื่องมือตางๆ ที่บรรจุอยูในหนังสือคูมือไซแอนโทโลยี (The Scientology
Handbook) ซึ่งเรียบเรียงขึ้นจากงานเขียนของแอล รอน ฮับบารด เปนคูมือที่อัดแนนไปดวยเนื้อหา และรวบรวมวิธีการ
ประยุกตใชจํานวนมากมายของไซแอนโทโลยีเอาไว และสามารถนําไปใชเพื่อปรับปรุงชีวิตในอีกหลายๆ ดานใหดีขึ้น
ในหนังสือเลมนี้ คณะบรรณาธิการไดเพิ่มเติมเนื้อหา โดยจัดทําคํานําสั้นๆ แบบฝกหัดภาคปฏิบัติ และใหตัวอยาง
ของผูที่นําไปปฏิบัติใชอยางไดผล
คุณสามารถเรียนหลั กสู ตรที่ ชวยเพิ่ มพูนขอมูลความรู ความเขาใจใหแกตัวคุณเองได ที่ องคกรไซแอนโทโลยีหรือ
มิชชั่นที่อยูใกลคณ
ุ ที่สุดตามรายชื่อที่ปรากฎอยูทายหนังสือเลมนี้
ไซแอนโทโลยีอธิบายถึงปรากฏการณหรือขอเท็จจริงใหมๆ หลายประการเกี่ยวกับชีวิตและมนุษย ดวยเหตุนี้ คุณ
อาจจะพบคําศัพทใหมๆ ที่ คุณไมคุนเคย แตก็จะมีคําอธิบายไว เมื่อคําศัพทนั้นปรากฏเปนครั้งแรกและในอภิธานศัพท
ดานหลังของหนังสือ
ไซแอนโทโลยีเปนสิ่งที่มีไวใหใช เปนปรัชญาที่ปฏิบัติใชไดจริงและมีไวใหนําไปปฏิบัติ เมื่อนําขอมูลนี้ ไปใช คุณจะ
สามารถเปลี่ยนแปลงสภาพการณตางๆ ได
คนหลายลานคนที่อยากจะทําอะไรสักอยางกับสภาพที่พวกเขาพบเห็นอยูรอบตัว ไดนําความรูนี้ไปประยุกตใช พวก
เขาไดรวู าชีวิตสามารถปรับปรุงใหดขี ึ้นได และรูว าไซแอนโทโลยีคือวิธีการที่ไดผล
ใชสิ่งที่คุณอานชวยตัวคุณเองและผูอื่น แลวคุณก็จะรูเชนนั้นไดเชนกัน
องคการไซแอนโทโลยีนานาชาติ
ม าพิจารณากันสักนิดวาตลอดเวลาที่คุณเรียนในโรงเรียนเคยมีใครสอนคุณถึงวิธีใน
การเรียนอะไรสักอยางบางไหม
ทุกวั นนี้ คนเราเรียนจบแตกลับไม สามารถอานเขียนไดในระดับที่พอจะรักษางาน
หรือจัดการกับชีวิตได นี่คือปญหาใหญ ไมใชเพราะวาไมสามารถเรียนวิชาตางๆ นั้นได
แตสงิ่ ที่ไมไดสอนคือวิธีการเรียนรู และนัน่ คือขั้นตอนที่ขาดหายไปในกระบวนการศึกษา
ทั้งหมด
แอล รอน ฮับบารดเติมเต็มชองวางนี้โดยการใหเทคโนโลยีแรกและเทคโนโลยีเดียว
เกี่ยวกับวิธกี ารเรียนรู เขาคนพบกฎอันเปนพื้นฐานของการเรียนรู และคิดคนวิธีการตางๆ
ที่ใชไดผลสําหรับทุกคนที่นําไปประยุกตใช เขาเรียกวิชานี้วา "เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
(Study Technology)"

เทคโนโลยีนี้ใหความเขาใจเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานตางๆ ในการเรียน และยังใหวิธี


ที่ถูกตองแมนยําในการเอาชนะอุปสรรคทุกอยางที่เราอาจประสบในระหวางเรียน
เทคโนโลยี เพื่ อการศึ กษาไม ใช การอ านอย างรวดเร็วหรือเคล็ดลับในการท องจํา
ไมเคยมีการพิสูจนวาสองสิ่งนี้ชวยเพิ่มความสามารถในการที่จะเขาใจสิ่งที่เรียน หรือ
เพิ่มความสามารถในการอานออกเขียนได เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแสดงใหเห็นถึงวิธี
การเรียนรูเพือ่ ใหเขาใจในเนื้อหาวิชา แลวสามารถประยุกตใชเนือ้ หานัน้ ได
หนังสือเลมนี้เปนเพียงสวนยอยสวนหนึ่งของเนื้อหาทั้งหมดที่มิสเตอรฮับบารดได
คิดคนขึ้นเกีย่ วกับเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา ถึงกระนั้นเนือ้ หาโดยยอนีก้ ็ครอบคลุมหลักการ
พื้ นฐานสําคั ญๆ ซึ่ งคุณสามารถนําไปใช เพื่อใหการเรียนเปนไปอย างมี ประสิทธิภาพ
มากขึ้น เทคโนโลยีนี้ชวยใหคนทุกคนสามารถเรียนรูไดไมวาจะวิชาใดก็ตาม ■

2
เหตุใดจึงตองศึกษา (WHY STUDY?)
งๆ ที่สงั คมของเราใหความสําคัญอยางมากในเรื่องการศึกษา แตกลับเปน
ที่นาแปลกใจวาไมเคยมีเทคโนโลยีของการเรียนหรือเทคโนโลยีของการ
ศึกษาที่แทจริงเลย ฟงดูเหมือนเปนการกลาวเกินความจริง แตนั่นก็เปน

ทั้ เรื่องจริง เรามีเทคโนโลยีเกี่ยวกับโรงเรียน แตก็ไมเกี่ยวของมากนักกับ


การศึ กษา เทคโนโลยี เกี่ ยวกั บโรงเรี ยนดั งกล าวนั้ นประกอบไปด วย
เทคโนโลยีเกี่ ยวกั บเรื่องระบบการเรียนในโรงเรียน วิธีการสอนและวิธี
ทดสอบนั กเรี ยน แต ไม มี เทคโนโลยี ที่ แท จริงเกี่ ยวกั บการศึ กษาหรื อ
การเรียนอยูเลย การขาดแคลนเทคโนโลยีในเรื่องนี้ทําใหผูคนพบวาการที่จะบรรลุถึงเปาหมาย
ของพวกเขานั้นเปนเรื่องยาก การรูวิธีการเรียนจึงเปนเรื่องที่สําคัญอยางยิ่งสําหรับทุกๆ คน
ความเต็มใจที่จะรูคือประตูเล็กๆ บานแรกที่จะตองเปดออกเพื่อเริ่มตนการเรียนรู ถาประตู
นี้ยังคงปดอยู เราก็มีแนวโนมที่จะเขาสูระบบการศึกษาแบบทองจําคําตอคํา ซึ่งจะไมกอใหเกิด
ความรูใดๆ เพิ่มพูนขึ้นมา ระบบการเรียนเชนนั้นทําไดเพียงผลิตผูสําเร็จการศึกษา ซึ่งอาจทําได
แคนําขอเท็จจริงตางๆ มาเลาใหฟงเหมือนนกแกวนกขุนทองโดยปราศจากความเขาใจที่แทจริง
หรือปราศจากความสามารถที่จะทําสิ่งใดๆ กับสิ่งที่ไดเรียนรูมานั้น
ถาเชนนั้นเราเรียนเพื่อวัตถุประสงคอะไร คุณจะไมสามารถทํากิจกรรมเกี่ยวกับการศึกษาได
อยางชาญฉลาดจนกวาคุณจะตอบคําถามนี้ไดอยางกระจางชัด
นักเรียนบางคนเรียนเพื่อสอบใหผาน นักเรียนจะบอกกับตัวเองวา "เมื่อฉันถูกถามคําถาม
แบบนี้ ฉันจะตอบกลับไปใหเหมือนในหนังสือไดอยางไร" หรือ "ฉันจะสอบผานไดอยางไร" การ
กระทําเชนนี้เปนเรื่องที่เขลาอยางยิ่ง แตก็เปนสิง่ ที่นักศึกษามหาวิทยาลัยจํานวนมากทํากัน
ลองมาดูตัวอยางของชายผูหนึ่งซึ่งมีอาชีพรับสรางบานมานาน วันหนึ่งชายผูนี้ไดผูชวยซึ่ง
เพิ่งรับการฝกอบรมเกี่ยวกับเรื่องการสรางบานมาจากมหาวิ ทยาลัย เขาแทบจะเปนบาไปเลย
ทีเดียว! ชายหนุมนักทฤษฎี ได รับการฝกฝนและใชเวลาเลาเรียนในมหาวิทยาลัยอยูหลายป แต
กลับไมรูอะไรเลยเกี่ยวกับการสรางบาน และชายนักปฏิบัตกิ ็ไมรูวาเหตุใดจึงเปนเชนนั้น
เหตุผลก็คือบัณฑิตที่เพิง่ จบจากมหาวิทยาลัยผูนี้เรียนเนื้อหาวิชาตางๆ ทั้งหมดเพียงเพื่อที่จะ
สอบผาน เขาไมไดเรียนดวยวัตถุประสงคที่จะนําความรูไปสรางบานจริงๆ ทั้งนี้ไมไดหมายความวา
ชายผูปฏิบัติจริงนอกรั้วมหาวิทยาลัยจะตองสรางบานไดเกงกวาเสมอ แตแนนอนวาเขาสามารถ
สรางบานแต ละหลังๆ ใหเสร็จสมบูรณได เพราะการเรียนรู ทั้งหมดของเขาอยู บนพื้นฐานที่ วา
3
"ฉันจะนําสิ่งนี้ไปใชในการสรางบานไดอยางไร" ทุกครั้งที่เขาหยิบคําโฆษณาหรือบทความหรือ
อะไรก็ตามขึน้ มาอาน เขาก็จะถามตนเองตลอดเวลาที่อา นวา "ฉันจะสามารถนําสิ่งนีไ้ ปใชกับสิ่ งที่
ฉันกําลังทําอยู ได อยางไร"
นั่นคือขอแตกตางพื้นฐานที่สําคัญระหวางการเรียนเพื่อนําไปปฏิบัติกับการเรียนเชิงวิชาการ
นี่ก็คือเหตุผลวา ทําไมบางคนจึงลมเหลวในทางปฏิบัติหลังจากที่เขาจบจากมหาวิทยาลัยแลว
แทนที่จะมองดูที่เนื้อหาและคิดวา "เรื่องนี้จะออกสอบไหม" จะดีกวามากหากเราถามตัวเอง
วา "ฉันจะสามารถประยุกตใชเนื้อหานี้ไดอยางไร" หรือ " ฉันจะสามารถนําเนื้อหานี้ไปใชงานจริง
ไดอยางไร"
การทําเชนนี้จะทําใหเราไดรับประโยชนจากสิ่งที่เราเรียนเพิ่มขึ้นอยางมาก และจะสามารถ
นําสิ่งที่เรียนนั้นไปปฏิบัติใชไดจริง

นักเรียนประเภท “รูห มดทุกอยางแลว”


ในเรื่องเกี่ยวกับการเรียนรูนั้น ขอมูลแรกที่ตองเรียนรูและเปนสิ่งกีดขวางความสําเร็จอันดับ
แรกสุดที่จะตองผานพนไปใหไดก็คือ คุณจะไมสามารถเรียนวิชาใดไดเลย ถาตั้งแตเริม่ ตนคุณคิด
วาคุณรูทุกสิง่ ทุกอยางเกี่ยวกับวิชานั้นแลว
นักเรียนที่คิดวาเขารูหมดทุกอยางเกี่ยวกับวิชาใดวิชาหนึ่งแลว จะไมสามารถเรียนรูสิ่งใดใน
วิชานั้นไดเลย
บุคคลหนึ่งอาจจะคุนเคยกับวิชาใดวิชาหนึง่ จากประสบการณที่ผา นมา และเมื่อประสบความ
สําเร็จในสาขาวิชานั้นมาแลว จึงคิดไปวาเขารูเกี่ยวกับวิชานั้นหมดแลว เมื่อเปนเชนนั้นหากเขา
ลงเรียนสักหลักสูตรหนึ่งในวิชาดังกลาว เขาก็จะเรียนผานฉากกั้นทางความคิดที่วา "ฉันรูเกี่ยวกับ
วิชานี้หมดแลว"
เมื่อมีความคิดเชนนี้ขวางกั้นอยู การเรียนวิชานั้นของเขาก็อาจจะหยุดชะงักอยูกับที่และไม
กาวหนาไปไหนเลย
นี่คือความจริงที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในการเรียนทุกๆ วิชา
ถาคนๆ หนึ่งสามารถเล็งเห็นไดวาเขาไมไดรูเกี่ยวกับวิชานั้นไปเสียทุกอยาง และอาจบอกกับ
ตัวเองวา "ตรงนี้มอี ะไรใหเรียนใหศึกษา ฉันจะเรียนสิง่ นี"้ เขาก็จะสามารถเอาชนะสิ่งกีดขวางความ
สําเร็จทางการศึกษาในขอนี้ และสามารถเรียนรูได
นี่คือขอมูลที่สําคัญอยางยิ่งสําหรับนักเรียนทุกคน ถาเขาเขาใจในสิง่ นี้และนําไปประยุกตใช
ประตูสูความรูก ็จะเปดกวางสําหรับเขา

4
อุปสรรคตางๆ ตอการศึกษา
(BARRIERS TO STUDY)
อยางไรก็ตามการเปนนักเรียนที่ประสบความสําเร็จนั้นตองมีมากกวาความเต็มใจที่จะเรียน
หลุมพรางตางๆ นั้นมีอยู และนักเรียนต องรู วิธีที่จะเรียนอยางมี ประสิทธิภาพเพื่อที่จะเอาชนะ
หลุมพรางเหลานั้น
ไดมีการคนพบวามีอุปสรรคที่แนนอนและชัดเจนอยูสามประการ ซึ่งขัดขวางความสามารถ
ในการเรียน รวมทั้ งปดกั้นความสามารถของเขาที่จะไดรับความรู ความเขาใจ อุปสรรคเหลานี้
กอใหเกิดปฏิกิริยาทางรางกายและจิตใจที่แตกตางกันออกไป
ถาเรารูและเขาใจวาอุ ปสรรคเหลานี้ คื ออะไร และทราบวิ ธีที่ จะจัดการกั บอุ ปสรรคเหลานี้
ความสามารถในการศึกษาและเรียนรูของเราก็จะเพิ่มขึ้นเปนอยางมาก

อุปสรรคประการที่หนึ่ง: การขาดแมส
ในเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เรากลาวถึง แมส (mass) และ ซิกนิฟแคนซ (significance)
ของวิชาหนึ่งๆ โดย แมส หมายถึงวัตถุสิ่งของตางๆ ที่มีอยูจริง สิ่งตางๆ ที่มีอยูจริงในชีวิต สวน
ซิ กนิฟแคนซ ของวิชาใดวิ ชาหนึ่งนั้ น หมายถึ ง ความหมายหรือความคิ ดตางๆ หรือทฤษฎีของ
วิชานั้น
การพยายามศึกษาโดยไมมีแมสที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีนั้นๆ จะทําใหการเรียนรูข องนักเรียน
เปนไปอยางยากลําบาก
ถาคุณกําลังเรียนเกี่ยวกับรถแทรกเตอร แมสก็คือรถแทรกเตอร คุณอาจจะอานหนังสือสักเลม
ซึ่งมีเนื้อหาทั้งหมดเกี่ยวกับรถแทรกเตอร วิธีการใชงานและควบคุมอุปกรณเสริมชนิดตางๆ ที่อาจ
นํามาติดตั้งได หรืออีกนัยหนึ่งก็คือซิกนิฟแคนซทั้งหมดเกี่ยวกับรถแทรคเตอร แตคุณนึกออกไหม
วาคุณจะเขาใจไดนอยขนาดไหนหากคุณไมเคยเห็นรถแทรกเตอรมากอนเลย
การขาดแมสลักษณะนั้นสามารถทําใหนักเรียนรูสกึ เหมือนถูกบีบไดจริงๆ และอาจทําใหเขา
ตัวงอ รูสึกหัวหมุน ไมมีชีวิตชีวา เบื่อหนาย และโกรธ
ภาพถายหรือภาพยนตรก็สามารถชวยได เพราะสิ่งเหลานี้แสดงใหเราเห็นถึงสิ่งที่เปนแมส
แตถาคนๆ หนึ่งกําลังเรียนเกี่ยวกับรถแทรกเตอร คําบรรยายทีพ่ ิมพเปนตัวอักษรและการบอกเลา
ดวยคําพูดนั้นไมอาจทดแทนรถแทรกเตอรของจริงได!

5
การไมมีแมสเกี่ยวกับ
สิ่งที่กําลังศึกษาอยู
อาจทําใหผูเรียนตัวงอ
รูส ึกหัวหมุน ไมมชี ีวิตชีวา
เบื่อหนายและโกรธ
คําบรรยายที่พิมพเปน
ตัวอักษรนั้น ไมอาจ
ทดแทนแมสที่เปน
ของจริงได

ซิกนิฟแ คนซ
แมส

6
การใหความรูใครสักคนในเรื่องที่เขาไมมีแมสและไมอาจจัดหาแมสใหกับเขาได สามารถทํา
ใหเกิดปฏิกิรยิ าทางรางกายบางอยางที่กอใหเกิดความอึดอัดและรบกวนสมาธิในการเรียน
ถาคุณพยายามทีจ่ ะสอนใครสักคนเกี่ยวกับรถแทรกเตอร แตคุณไมใหเขาดูรถแทรกเตอรหรือ
ไมปลอยใหเขาไดสัมผัสกับสิ่งที่จับตองไดเกี่ยวกับรถแทรกเตอร ในที่สดุ แลว ใบหนาของเขาก็จะ
ดูเหมือนถูกบีบ เขาจะมีอาการปวดศีรษะและทองไสปนปวน เขาจะรูสกึ มึนงงเปนระยะๆ และบอย
ครั้งเขาจะรูสึกเจ็บตา
นักเรียนไมวาจะอายุเทาใดก็อาจประสบกับอุปสรรคนี้ ได สมมุติวาหนูนอยจอหนนี่ กําลังมี
ปญหาอยางมากกับวิชาบวกลบคูณหารตัวเลขที่โรงเรียน คุณพบวาเขามีโจทยเลขที่เกี่ยวกับลูก
แอปเปล แตบนโตะเรียนของเขาไมเคยมีลูกแอปเปลไวใหนับจํานวน เมื่อนําแอปเปลหลายๆ ลูก
มาใหเขาและทําเครื่องหมายตัวเลขบนแตละลูก คราวนี้เขาก็จะมีลูกแอปเปลจํานวนหนึ่งอยูตรง
หนา จํานวนลูกแอปเปลก็จะไมเปนเพียงทฤษฎีอีกตอไป
ประเด็นก็คือ คุณสามารถยอนกลับไปคนหาปญหาของหนูนอยจอหนนีไ่ ดวาเกิดจากการไมมี
แมส และแกไขไดโดยการจัดหาแมสใหกับเขา หรือคุณอาจจะจัดหาวัตถุสิ่งของหรือสิง่ ทีใ่ ชทดแทน
แมสไดอยางเหมาะสมใหกบั เขาแทนก็ได
อุปสรรคตอการศึกษาขอนี้ คือการเรียนเกี่ยวกับบางสิ่งบางอยางโดยไมมีแมสของสิ่งที่กําลัง
เรียนอยูใกลๆ จะกอใหเกิดปฏิกิริยาตางๆ เหลานี้ ซึ่งสามารถมองเห็นและบงชี้ไดอยางชัดเจน

การแก ไขการขาดแมส
เนื่องจากในการเรียนบางครั้ง เราก็ไมอาจหาแมสของจริงมาดูได จึงไดมีการพัฒนาเครื่องมือ
ที่มีประโยชนขนึ้ มาเพื่อชวยแกไขปญหาการขาดแมส สิง่ เหลานีจ้ ัดอยูภายใตหัวขอเรื่องการสาธิต
คําวา "การสาธิต" (Demonstration) มาจากคําวา Demonstrare ในภาษาละติน แปลวา
"ชี้ใหเห็น แสดง พิสูจน"
พจนานุกรม Chambers 20th Century ไดใหคําจํากัดความของคําวา Demonstrate ไววา
หมายถึง "สอน อธิบาย หรือแสดงใหเห็นโดยวิธีปฏิบตั ิตางๆ"
เราสามารถทําการสาธิตเพือ่ ทีจ่ ะใหมีแมสเกิดขึ้น วิธหี นึง่ ทีใ่ ชไดผลก็คือ การใช "อุปกรณสาธิต"
หรือที่เรียกวา "เดโมคิท (demo kit)" ซึ่งประกอบไปดวยสิ่งของเล็กๆ ชนิดตางๆ เชน จุกไมกอก
ฝาขวด ลวดหนีบกระดาษ ปลอกปากกา ยางรัดของ เปนตน นักเรียนสามารถใชเดโมคิทแทนสิ่ง
ตางๆ ที่เขากําลังเรียนอยู และการทําเชนนี้จะชวยใหเขาเขาใจแนวคิดตางๆ ได

7
การสาธิตแนวคิดดวยอุปกรณชิ้นเล็กๆ หลากหลายชนิดเปนการเพิ่มแมสใหกับสิง่ ที่บคุ คลกําลังเรียนอยู ซึง่ จะชวย
ใหเกิดความเขาใจไดมากยิ่งขึน้

ถานักเรียนพบอะไรทีเ่ ขาไมสามารถเขาใจได การสาธิตความคิดดวยเดโมคิทจะชวยทําใหเขา


เขาใจสิง่ นัน้ ได
ทุกสิ่งทุกอยางสามารถสาธิตไดดวยเดโมคิท ไมวาจะเปนความคิด สิ่งของ ความเกี่ ยวของ
สัมพันธกัน หรือวิธีการทํางานของบางสิ่งบางอยาง เราเพียงแตใชสิ่งของชิ้นเล็กๆ เหลานั้นแทน
สวนตางๆ ที่หลากหลายของสิง่ ที่เรากําลังเรียนอยู เราสามารถเคลื่อนที่สิ่งของชิ้นเล็กๆ นั้นไปมา
ตามความสัมพันธระหวางของแตละชิ้นเพื่อที่จะไดเห็นถึงกลไกและการกระทําตางๆ ที่เกี่ยวของ
กับแนวคิดนั้นๆ
อีกวิธีการหนึง่ ในการสาธิตอะไรสักอยางก็คือ การรางภาพ
ผูท ี่นั่งทํางานอยูที่โตะและกําลังพยายามทําความเขาใจหรือคิดหาวิธีเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยู
สามารถใชกระดาษกับดินสอรางภาพหรือวาดแผนภูมิเกี่ยวกับสิง่ ที่เขากําลังคิด เพื่อใหเกิดความ
เขาใจในสิง่ นั้นขึ้นมาได
มีกฎอยูขอ หนึง่ วา ถาคุณไมสามารถสาธิตสิ่งใดออกมาเปนภาพสองมิติได แสดงวาคุณยังไม
เขาใจสิ่งนั้นอยางถูกตอง กฎนี้ตั้งขึ้นโดยไมไดอิงหลักการใด กลาวคือยึดเอาตามความเห็นหรือ
ดุลยพินิจโดยปราศจากหลักเกณฑ แตก็ใชไดผลจริง

8
?

การรางภาพชวยใหบุคคลสามารถคิดหาวิธตี า งๆ ออกมาได

กฎขอนี้นํามาใชกนั ในงานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม หากไมสามารถแสดงสิง่ ใดออกมาเปน


ภาพสองมิติไดอยางงายดายและชัดเจน แสดงวาตองมีอะไรผิดพลาดและจะไมสามารถสรางสิ่ง
นั้นขึ้นมาได
การรางภาพและการแสดงภาพสองมิติลว นเปนสวนหนึง่ ของการสาธิตและการคิดหาวิธีตางๆ
ออกมา
วิธีที่สามในการทําใหเกิ ดแมสเพื่อจะไดเขาใจหลักการตางๆ ได ชัดเจนขึ้นก็คือ การใชแบบ
จําลองดินน้ํามันเพือ่ ทําการสาธิตดวยดินน้ํามัน (clay demonstration) หรือทีเ่ รียกวา "เคลเดโม"
(clay demo) เกี่ยวกับหลักการหรือแนวคิดนั้นๆ

จุดประสงคของการสาธิตดวยดินน้ํามัน คือ
1. ทําใหสงิ่ ที่กําลังเรียนอยูเปนจริงสําหรับนักเรียน
2. ทําใหเกิดสมดุลที่เหมาะสมระหวางแมส (mass) กับซิกนิฟแคนซ (significance)
3. สอนใหนักเรียนประยุกตใช
ทฤษฎีทั้งหมดเกี่ยวกับการสาธิตดวยดินน้ํามันก็คือ การเพิ่มแมสใหกับนักเรียน

9
บิล
โจ
บิล
ลูก
บอ

ลูก

บอ

ลูกศร
ควา
มค
ิด

สิ่งของ การกระทํา ความคิด ขอคิดเห็น ความเกีย่ วของสัมพันธ หรือสิ่งอื่นใดก็ตาม สามารถสาธิต


ไดดว ยดินน้ํามัน
นักเรียนจําเปนตองมีแมสเพื่อที่จะเขาใจเรื่องบางอย าง หากปราศจากแมสเขาก็จะมีเพียง
ความคิดหรือแนวคิดอยูในใจ เมื่อมีแมส นักเรียนจะสามารถแยะแยะความคิดนั้นๆ ได เพราะวา
เขามีแมสและได พื้นที่หรือเนื้ อที่ที่จะทําใหเขามองเห็นภาพของสิ่งที่เขากําลังเรียนอยู
การสาธิตดวยเดโมคิทก็ใชไดผลดวยหลักการเดียวกันนี้ เพียงแตการสาธิตดวยดินน้ํามันจะ
แทนสิ่งที่กําลังสาธิตไดใกลเคียงกวาและใหแมสไดมากกวา
นักเรียนทุกคนสามารถใชดินน้ํามันเพือ่ สาธิตการกระทํา คําจํากัดความ สิ่งของ หรือหลักการ
ตางๆ ได นักเรียนจะนั่งที่โตะซึ่งมีดินน้ํามันสีตางๆ จัดเตรียมไวให เขาสาธิตสิง่ ของหรือหลักการ
ที่เรียนอยูนนั้ โดยใชดินน้ํามันพรอมทั้งติดปายชื่อลงบนแตละชิ้นที่ปน ดินน้ํามันเปนตัวที่แสดงให
เห็นถึงสิง่ นั้นๆ มันไมไดเปนเพียงดินน้ํามันกอนหนึ่งที่มีปา ยชื่อติดอยู เราจะใชแถบกระดาษเล็กๆ
สําหรับทําเปนปาย
ตัวอยางเชน สมมุติวานักเรียนตองการสาธิตใหเห็นดินสอแทงหนึ่ง เขาก็จะปนดินน้ํามันเปน
แทงกลมบางๆ ซึ่งพันรอบดวยดินน้ํามันอีกชั้นหนึง่ โดยดินน้ํามันแทงกลมบางๆ มีปลายยื่นออกมา
ดานหนึ่ง สวนปลายอีกดานหนึ่งนั้นก็ติดดวยดินน้ํามันที่ปนเปนทรงกระบอกกลม ดินน้ํามันแทง

10
กลมยาวติดปายวา "ไสดินสอ" ดินน้ํามันชั้นนอกติดปายวา "ไม" ดินน้ํามันทรงกระบอกกลมติด
ปายวา "ยางลบ"
ความเรียบงายและชัดเจน คือสิ่งสําคัญ
เราสามารถใชดนิ น้ํามันสาธิตทุกๆ สิง่ ไดหากเราคิดหาวิธีและตั้งใจทําจริงๆ เพียงแคการคิดหา
วิธที จี่ ะสาธิตสิง่ นั้น หรือใชดนิ น้าํ มันปน สิง่ นัน้ ขึ้นมาแลวติดปายชื่อ ก็สามารถเพิม่ พูนความเขาใจได
ประโยคที่วา "ฉันจะแสดงสิง่ นั้นออกมาใหเห็นดวยดินน้ํามันไดอยางไร" ประโยคนีเ้ ปนเคล็ดลับ
ในการสอน ถาคนๆ หนึง่ สามารถแสดงสิง่ นั้นออกมาใหเห็นไดดวยดินน้ํามัน ก็แสดงวาเขามีความ
เขาใจในสิ่งนั้น หากเขาไมสามารถทําไดก็แสดงวาเขายังไมเขาใจวาสิ่งนั้นคืออะไรอยางแทจริง
ดังนั้นดินน้ํามันและปายชื่อตางๆ จะใชไดผลก็ตอเมื่อคําจํากัดความหรือสิ่งตางๆ นั้นเปนที่เขาใจ
อยางถองแทแลว และการคิดหาวิธปี นสิ่งเหลานั้นขึ้นมาดวยดินน้ํามันก็จะกอใหเกิดความเขาใจใน
สิ่งเหลานั้นได
ศิลปะความงามไมใชจุดประสงคของการพยายามทําเคลเดโม รูปแบบที่ทําเพียงหยาบๆ ก็
ถือวาใชได
แตละสิ่งที่ปนออกมาในเคลเดโมจะตองติดปายบอกวาสิง่ นั้นคืออะไร ไมสําคัญวาปายนั้นจะ
สวยงามหรือไม โดยปกติแลวนักเรียนจะทําปายตางๆ ดวยเศษกระดาษหรือกระดาษแข็งบางๆ
แลวเขียนดวยปากกาลูกลืน่ ในการทําปายใหทําปลายแหลมทีด่ านหนึง่ เพือ่ ใหงา ยที่จะปกปายนั้น
ลงบนดินน้ํามัน
วิธี การทําเคลเดโมควรเป นไปดั งนี้ เมื่ อนักเรียนป นดินน้ํามั นชิ้ นหนึ่ งเสร็จแลวใหติ ดปาย
จากนั้นปนอีกชิ้นหนึ่งแลวติดปาย เสร็จแลวปนชิ้นถัดไปแลวติดปาย ทําเชนนี้เรื่อยไปตามลําดับ
วิธกี ารนีม้ าจากขอมูลทีว่ าการเรียนรูทไี่ ดผลดีทสี่ ดุ จะตองมีความสมดุลระหวางแมสกับซิกนิฟแ คนซ
การมีอยางใดอยางหนึ่งมากเกินไปอาจจะทําใหนักเรียนรูส ึกไมดี ถานักเรียนปน แมสตางๆ ทีเ่ ปน
สวนประกอบในการสาธิตของเขาครบหมดทุกชิ้นภายในครั้งเดียวโดยไมมีการติดปายสิ่งที่ปนแต
ละชิน้ ไวเลย เขาจะนัง่ อยูต รงนัน้ พรอมกับทฤษฎี (ซิกนิฟแ คนซ) ทัง้ หลายกองกันอยูใ นหัวเต็มไปหมด
แทนที่จะคอยๆ ปลอยแตละความคิดลงไปในแตละชิ้นที่เขาปน (โดยการติดปาย) ดังนั้นวิธีการที่
ถูกตองก็คือติดปายลงบนแมสที่เขาปนเมื่อเขาปนเสร็จแตละชิ้น
สิง่ ของ หลักการ หรือการกระทําใดๆ ก็ตามสามารถแทนไดดวยดินน้ํามันและปาย ดินน้ํามัน
จะแสดงสวนตางๆ ของแมส และปายแสดงถึงซิกนิฟแคนซ (significances) หรือความคิด
โดยปกติเราจะใชลูกศรเล็กๆ เพื่อแสดงถึงทิศทางของการเคลื่อนไหวหรือการดําเนินไปของ
บางสิง่ บางอยาง เราอาจจะทําลูกศรดวยดินน้ํามันหรือใชปา ยทําก็ได สิง่ นีเ้ ปนสิง่ สําคัญ การสาธิต
ที่ขาดความชัดเจนในเรือ่ งเสนทางวาเปนไปอยางไรหรืออะไรกําลังดําเนินจากจุดไหนไปยังจุดไหน
ทําใหเรามองไมออกหรือไมเขาใจวาเคลเดโมนัน้ คืออะไร

11
การนําสิง่ ที่กําลัง
คิดหาหนทางอยู
มาทําใหเปนรูปธรรม ?
ที่จบั ตองได จะชวย
ใหบุคคลเขาใจ
ในสิ่งนั้นไดดขี ึ้น
เปนอยางมาก

ภาพยนตร

กลอง

ส
เลน
คลืน แสง
รูปภ

คลืน แสง
าพ

รถยนตร
คลืน แสง

คลืนแสง

เคลเดโมตองมีขนาดใหญ วัตถุประสงคหนึ่งของการสาธิตดวยดินน้ํามันก็คือเพื่อทําใหสงิ่ ที่


กําลังเรียนอยูเปนจริงสําหรับนักเรียน ถาเคลเดโมของนักเรียนมีขนาดเล็ก (ทําใหมีแมสนอยลง)
เรื่องที่ เรียนอยู ก็อาจจะไมเปนจริงพอสําหรับนักเรียนคนนั้ น เคลเดโมขนาดใหญจะเพิ่มความ
เขาใจใหกับนักเรียนได มากกวา
เคลเดโมที่แสดงใหเห็นถึงสิ่งที่ ตองการไดเปนอยางดีจะทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในตัว
นักเรียนไดอยางนาอัศจรรย อีกทั้งนักเรียนจะจดจําขอมูลนั้นไดอยางแมนยํา
การแกไขการขาดแมสทั้งสามวิธี คือการใชเดโมคิท การรางภาพ และการสาธิตดวยดินน้ํามัน
นั้น ควรจะมีการนําไปใชกันโดยทั่วไปในกิจกรรมเกี่ยวกับการศึกษาทุกรูปแบบ สิง่ เหลานี้จะทําให
ความสามารถในการเรียนรูแ ละนําสิ่งที่เรียนไปประยุกตใชดีขึ้นอยางเห็นไดชัด

12
อุปสรรคประการที่สอง: การขามขั้นตอน
เกรเดียนท (gradient) คือวิธกี ารแบบคอยเปนคอยไปในการทําบางสิง่ บางอยาง โดยทําทีละขัน้
ทีละระดับ และแตละขั้นหรือแตละระดับนั้นไมยากจนเกินไป สามารถทําใหสําเร็จไดอยางงายดาย
เพื่อที่วาทายที่ สุดแลวจะสามารถทําสิ่งที่ยากและซับซอนใหสําเร็จไดงายขึ้น นอกจากนี้คําว า
เกรเดียนทยังใชเรียกแตละลําดับขั้นที่ตองปฏิบัติในวิธีการดังกลาวดวย
ในการศึกษาวิชาใดวิชาหนึ่ง เมือ่ เราประสบกับขั้นตอนทีย่ ากเกินไป ผลทีจ่ ะเกิดขึน้ ก็คอื อาการ
สับสนหรือมึนงง (ความรูสึกนึกคิดหมุนวนไปมา หรือสภาพที่ไมมั่นคง โซเซเหมือนจะลม) นี่คือ
อุปสรรคตอการศึกษาประการที่สอง
วิธีแกไขปญหาเกี่ยวกับขั้นตอนที่ยากเกินไปก็คือ การยอนกลับไปยังเกรเดียนทกอนหนานั้น
ใหคนหาวาตอนไหนที่เขาไมสบั สนเกีย่ วกับเรื่องทีก่ ําลังศึกษา จากนัน้ ใหหาวาสิง่ ใหม (หลังจากนัน้ )
ที่เขาทําคืออะไร ดูวาตรงจุดไหนที่เขารูส ึกวาเขาใจเปนอยางดี กอนที่จะเริ่มสับสนไปหมด

การเรียนขีจ่ ักรยานสองลอมักจะเปนขัน้ ตอนที่ยากเกินไป การหัดโดยมีลอคูเล็กเสริมที่ลอหลังจะทําใหเขาขับขี่


สําหรับเด็ก ไปได และนี่คือขัน้ ตอนที่ถูกตอง

คุณจะพบวามีบางสิง่ ในจุดนั้น (จุดที่เขาคิดวาเขาเขาใจดีแลว) ที่เขายังไมเขาใจอยางแทจริง


เมื่อเขาทําความเขาใจกับสิ่งนั้นเปนอยางดีแลว เขาก็จะสามารถเรียนตอไปได
เมื่ อคนๆ หนึ่ งรู สึกสับสนอย างมากในขั้ นตอนที่ สองที่ เขาควรต องรู หรื อทํา เราก็ สามารถ
สันนิษฐานไดวาเขายังไมเขาใจขั้นตอนแรกอยางแทจริง
อุปสรรคเกี่ยวกับขัน้ ตอนทีย่ ากเกินไปนีจ้ ะเห็นไดชดั เจนทีส่ ดุ และเกีย่ วของกับสภาวะแหงการทํา
(doingness) มากที่สุด กลาวคือการลงมือกระทําบางสิ่งหรือบางกิจกรรม ซึ่งมิใชการศึกษาใน
เชิงทฤษฎีหรือที่ตองใชความเขาใจในเหตุผลเทานั้น

13
อุปสรรคประการที่สามและเปนอุปสรรคที่สําคัญมากที่สุด:
คําศัพทที่ ไมเขาใจ
อุปสรรคต อการศึ กษาประการที่ สามซึ่ งเปนอุ ปสรรคที่ สําคั ญที่ สุด คือคําศั พท ที่ ไม เขาใจ
(misunderstood word) คําศัพทที่ ไมเขาใจหมายถึง คําศั พทที่เราไม ทราบความหมายหรือ
เขาใจความหมายอยางผิดๆ
เมือ่ คนๆ หนึง่ อานขามคําศัพททเี่ ขาไมเขาใจ เขาอาจจะประสบกับปฏิกิรยิ าทางรางกายหลายๆ
อยาง ซึ่งแตกตางโดยสิน้ เชิงกับปฏิกิรยิ าที่เกิดขึ้นจากอุปสรรคสองประการแรก การอานขามคํา-
ศัพทที่ไมเขาใจจะทําใหรูสึกวางเปลาหรือรูสึกเหนื่อยอยางเห็นไดชัด
ความรูสึก "ใจลอย" และอาการวิตกกังวลมากจนเกินควร (nervous hysteria) อาจเกิดขึ้น
ตามมา
ความสับสนหรือความไมสามารถที่จะเขาใจหรือเรียนรู เกิดขึ้นหลังจากคําศัพทที่ผูเรียนไมรู
ความหมายและไมเขาใจ
คําศัพทที่ไมเขาใจเปนอุปสรรคที่สําคัญกวาอุปสรรคสองประการแรกอยางมาก เนื่องจาก
คําศั พทที่ ไม เขาใจเปนสิ่ งที่กําหนดความถนัด หรือความชาเร็วในการเรียนรู และนี่ เองคื อสิ่ งที่
นักจิตวิทยาพยายามทดสอบมาเปนเวลาหลายปโดยไมสามารถระบุไดชัดเจนวาสิ่งนี้คืออะไร
นี่คือที่มาทั้งหมดของความยุงยากมากมายที่เกิดขึ้นในการศึกษา การเรียนโดยขามคําศัพท
ที่ไมเขาใจไปจะกอใหเกิดผลตางๆ ทางจิตใจอยางมากมาย และคําศัพทที่ไมเขาใจนี้เองคือปจจัย
หลักที่เกี่ยวโยงถึงความโงเขลา และสภาวะที่ไมพึงประสงคอื่นๆ อีกนานัปการ
หากคนๆ หนึ่ งเขาใจคําศั พท ทุกคําในเรื่ องที่เรียน ความสามารถพิเศษของเขาในเรื่องนั้ น
อาจจะปรากฏหรือไมก็ได แต สภาวะแหงการทําหรือความสามารถของเขาที่จะลงมือปฏิบัติใน
สิ่งที่เรียนจะปรากฏใหเห็น
คําศัพทที่ไมเขาใจกอใหเกิดปรากฏการณที่แนชัดสองอยางดวยกัน
ปรากฏการณที่หนึ่ง
เมื่ อนั กเรียนไม เข าใจคําๆ หนึ่ ง เนื้ อหาสวนที่ ตามมาหลังจากคําๆ นั้ นจะกลายเปนความ
ว างเปลา (ไมเขาใจหรือจําอะไรไมไดเลย)
คุณสามารถยอนกลับไปยังคําศัพทกอนหนาที่คุณจะรูสึกวางเปลา ทําความเขาใจคําๆ นั้น
แลวคุณจะพบดวยความประหลาดใจวาสิ่งที่คุณเคยรูสึกวางเปลาในเรื่องที่กําลังศึกษากอนหนา
นี้จะไมเปนความวางเปลาอีกตอไป
นี่คือความอัศจรรยอยางแทจริง

14
เครือ่ งยนตจะทํางานได
ไมดี ถาหากถังเชือ้ เพลิง
ไมไดรับการดูแล
เชื้อเพลิง?
อยางเหมาะสม

เมื่อใครสักคนอานหนังสือ... ... แลวขามคําศัพทซงึ่ เขาไมรู ...เนื้อหาที่ตามมาหลังจากคําศัพทที่


ความหมาย... ไมเขาใจ จะวางเปลาในความทรงจํา
ของเขา คําศัพทที่ไมเขาใจนั้นเปน
อุปสรรคที่สําคัญที่สุดตอความสําเร็จ
ในการศึกษา

คุณเคยอานหนังสือไปจนจบหนาแลวพบวาคุณไมรูวาคุณไดอานอะไรไปบางไหม นั่นเปน
เพราะ ณ จุดใดจุดหนึ่งกอนหนานั้น คุณไดอานขามคําศัพทที่คุณไมทราบคําจํากัดความหรือมี
คําจํากัดความที่ไมถูกตองสําหรับศัพทคํานั้น
ตัวอยางเชน "จะพบวาเมื่ออัสดงมาถึง เด็กๆ ก็เงียบลง และเมื่ออัสดงจากไปแลวเด็กๆ ก็มี
ชีวิตชีวาขึ้น" สิง่ ที่เกิดขึ้นคือคุณคิดวาคุณไมเขาใจใจความทั้งหมด แตความไมสามารถที่จะเขาใจ
ประโยคนี้มาจากคําๆ เดียวที่คุณไมรูความหมาย นั่นก็คือคําวา อัสดง ซึ่งหมายถึงเวลาโพลเพล
หรือความมืด
ปรากฏการณที่สอง
การเขาใจคําจํากัดความแบบผิดๆ หรือการไมเขาใจคําจํากัดความเลย หรือการที่ไมไดหาคํา
จํากัดความของคําศัพท สามารถสงผลใหคนๆ หนึ่งลมเลิกการศึกษาในเรื่องๆ หนึ่ง และละทิ้ง
วิชาที่กําลังเรียนหรือชั้นเรียนที่กําลังศึกษาอยูไดเลยทีเดียว เราเรียกการลมเลิกการศึกษากลางคัน
แบบนี้วา โบลว (blow)
เราตางก็เคยรูจักคนที่เริ่มตนเรียนอะไรสักอยางดวยความกระตือรือรน แลวพบในเวลาตอมา
วาบุคคลนั้นเลิกเรียนกลางคันดวยเหตุผลทีว่ าวิชานั้น "นาเบือ่ " หรือ "ไมไดเปนอยางทีพ่ วกเขาคิดไว"

15
พวกเขาตั้งใจวาจะเรียนรูทักษะอะไรสักอยางหรือไปโรงเรียนภาคค่ําเพื่อใหไดปริญญา แตกลับ
ไมเคยเรียนจนจบ ไมวาขออางตางๆ ของพวกเขาจะดูมีเหตุผลเพียงใด ความจริงก็คือพวกเขาได
เลิกเรียนหรือละทิ้งหลักสูตรนั้นซึ่งเปนการโบลว คนๆ หนึ่งจะโบลวก็ดวยเหตุผลหลักเพียงอยาง
เดียวคือ คําศัพทที่ไมเขาใจ
คนๆ หนึ่งไมจําเปนตองโบลวเนื่องจากอุปสรรคอื่นๆ อีกสองประการของการศึกษา คือการ
ขาดแมสหรือขัน้ ตอนที่ยากเกินไป อุปสรรคเหลานีเ้ พียงแคทําใหเกิดอาการทางรางกาย แตคําศัพท
ที่ไมเขาใจสามารถเปนสาเหตุใหนักเรียนโบลวได
การกระทําตางๆ ที่จะเกิดขึ้นตามลําดับที่แนชัดหลังจากผานคําศัพทที่ไมเขาใจ มีดังนี้
เมื่อนักเรียนไมเขาใจคําๆ หนึ่งอยางถองแท เขาก็จะไมเขาใจ (รูสึกวางเปลา) เกี่ยวกับสิ่งที่
อานหรือเรียน ซึ่งอยูถัดจากคําๆ นั้นทันที สิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาก็คือนักเรียนจะหาทางออกจาก
สภาวะที่เขารูสึกวางเปลาในสิง่ ที่เขาเรียนโดยการปลีกตัวเอง (individuate) ออกจากสภาวะนั้น
ซึ่งนั่นหมายถึง การแยกตัวและถอนตัวจากการเขาไปเกี่ยวของกับสิ่งนั้น
ในขณะที่ นักเรียนแยกตั วออกจากสิ่งที่ เขากําลังเรียนอยู เขาจะไม สนใจนักในสิ่งที่ เขาทํา
เกี่ยวกับวิชานั้น หรือสิง่ ตางๆ หรือกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับวิชานั้น การแยกตัวหรือแปลกแยก
ออกจากสิ่งที่เรียนนี้เปนทัศนคติและพฤติกรรมที่จะเกิดขึ้นกอนที่เขาจะทําอันตรายตอบางสิ่งหรือ
ตอบางคน
ตัวอยางเชน เด็กนักเรียนที่ไดขามคําศัพททเี่ ขาไมเขาใจความหมายในวิชาหนึ่ง จะไมสนใจวา
อะไรจะเกิดขึ้นในชั้นเรียน เขาอาจจะพูดจาไมดีเกี่ยวกับวิชานั้นใหเพื่อนๆ ฟง และอาจทําลาย
อุปกรณในหองเรียนหรือทําหนังสือเรียนของตนเองหาย
อยางไรก็ตามโดยพื้นฐานแลวคนทุกคนเปนคนดี เมื่อคนๆ หนึ่งกระทําในสิ่งที่เปนอันตราย
หรือสงผลเสียตอผูอื่น เขาจะพยายามหยุดยั้งตัวเองไมใหสรางความเสียหายมากขึ้นไปอีก สิ่งที่
ตามมาก็คือเขาจะมองหาสารพัดวิธีที่ผูอื่น "ทําไมดี" กับเขา เพื่อเปนขออางใหกับการกระทําของ
ตัวเอง และตามดวยการบนวาต างๆ นานา การจับผิดคนอื่นและทัศนคติที่วา "ดูสิเธอทําอะไร
กับฉัน" ปจจัยเหลานี้เปนขออาง (ในใจของนักเรียน) ทีเ่ ขาใชในการละทิง้ การเรียนหรือโบลวนั่นเอง
แตระบบการศึกษาสวนใหญซึ่งไมเห็นชอบกับการโบลวของนักเรียน กลับเปนสาเหตุที่ทําให
นั กเรียนถอนตั วอย างแท จริงออกจากสิ่ งที่ เรียนอยู (อะไรก็ ตามที่ เขากําลังเรียนอยู ) และสราง
เครื่องจักรซึ่งสามารถรับประโยคและกลุม คําตางๆ แลวสงกลับไปเหมือนเดิมขึ้นมาในจิตใจ บุคคล
สามารถสรางเครื่องจักรในจิตใจนี้ขึ้นมาได เมื่อเขาหมดความสนใจในสิ่งที่เขากําลังเรียนอยู แต
รูสึกวาเขายังตองเรียนสิ่งนั้นตอไป

16
ระดับความสูง?
เข็มทิศ?
ใบพัด? âçàÃÕ¹
¡ÒúԹ

คนๆ หนึ่งมักจะเริ่มเรียนวิชาใหม แตวาถาเขาสะสมคําศัพทที่ไมเขาใจ ถาเขาไมคน หาความหมายของคําศัพทที่


ดวยความกระตือรือรนอยางมาก ไวหลายๆ คํา ความสนใจของเขาก็จะ ไมเขาใจเหลานั้นแลว เขาจะหมดความ
คอยๆ เลือนหายไป สนใจไปอยางสิ้นเชิง และลมเลิกการ
เรียนวิชานั้น ซึง่ เราเรียกวา โบลว

ตอนนีเ้ ราก็จะได "นักเรียนที่เรียนเร็ว แตไมเคยนําสิ่งที่เรียนไปประยุกตใชเลย" หรือทีเ่ รียกวา


นักเรียนที่กลิบ๊ (glib student)
ปรากฏการณที่จะเกิดขึ้นอยางแนนอนหลังจากนั้นก็คือ การที่นักเรียนสามารถศึกษาคําศัพท
บางคําและสงกลับไปไดโดยอัตโนมัติโดยที่เขาไมมีสวนรวมอยางแทจริงในการทําสิง่ นั้น นักเรียน
อาจสอบไดเกรด A+ แตกลับไมสามารถนําขอมูลที่เรียนนั้นไปใชไดเลย
นักเรียนที่เรียนชามากๆ (โง) นั้นก็เปนเพียงเพราะเขายังติดอยูกับอาการวางเปลาที่เกิดขึ้น
หลังคําที่ เขาไม เขาใจ เขาจะไม สามารถสาธิตเนื้ อหาของเขาด วยเดโมคิ ทหรื อดินน้ํามั น และ
ความยากลําบากเชนนั้นก็เปนสัญญาณที่แนชัดวาตองมีคําศัพทที่ไมเขาใจอยู
นักเรียนที่ "แสนฉลาด" แตไมสามารถนําขอมูลมาใชประโยชนได แทจริงแลวเขาไมไดอยูตรง
นั้น (not there) เลยแมแตนอ ย เขาหยุดเผชิญหนา (อยูตรงนั้นโดยไมถอยหนีหรือหลบหลีก) กับ
เนื้อหาหรือวิชานั้นไปตั้งนานแลว
สิง่ ทีจ่ ะแกไขสภาวะของ "นักเรียนทีเ่ รียนเร็วแตไมเขาใจ" หรือ "นักเรียนทีเ่ รียนชา" ก็คือ ใหเขา
คนหาคําศัพทที่เขาไมเขาใจ
การค นพบความสําคัญของคําศั พทที่ผูเรียนไมเขาใจความหมายนี้เปนการเปดประตูสูการ
ศึกษาโดยแท และถึงแมวาอุปสรรคขอนี้จะกลาวถึงเปนเรือ่ งสุดทาย แตนคี่ ืออุปสรรคตอการศึกษา
ที่สําคัญที่สดุ

17
การเคลียรคําศัพท
(CLEARING WORDS)
คําศัพททไี่ มเขาใจจะยังคงเปนคําทีไ่ มเขาใจจนกระทั่งเราเคลียร (ทําความเขาใจอยางกระจาง
แจงเกี่ยวกับ) ความหมายของคําศัพทคํานั้น ทันทีที่บคุ คลเขาใจคําศัพทคํานั้นอยางสมบูรณแลว
เราเรียกคําศัพทนนั้ วาเปนคําทีเ่ ขาไดเคลียรแลว
วิธีการที่ใชในการคนหาและเคลียรคําศัพทตางๆ ที่นักเรียนไมเขาใจในสิ่งที่เขาเรียน เรียกวา
การเคลียรคําศัพท (Word Clearing) สิ่งแรกที่จะตองเรียนคือ วิธีการที่ถูกตองแมนยําในการ
เคลียรคําศัพทหรือเครื่องหมายตางๆ ที่เราพบในการอานหรือเรียนแลวเราไมเขาใจ เทคโนโลยี
ทั้งหมดของ "การเคลียรคําศัพท" ใชวิธีการดังตอไปนี้
ขั้นตอนการเคลียรคําศัพท
1. ขณะอานหนังสือคุณควรจะมีพจนานุกรมไวใกลมือเสมอ เพื่อที่จะสามารถเคลียรคําศัพท
หรือเครื่องหมายที่คุณไมเขาใจได คุณอาจจะหาพจนานุกรมที่ไมซับซอนแตมีคุณภาพดีสักเลม
หนึ่ ง ซึ่ งให คําจํากั ดความของแต ละคําศัพท ด วยคําที่ เข าใจงาย และไม มี คํายากๆ ซ อนอยู ใน
คําจํากั ดความของคําศัพทที่คุณกําลังทําความเขาใจ
2. เมื่ อคุ ณพบคําหรื อเครื่ องหมายที่ คุ ณไม เข าใจ สิ่ งแรกที่ จะต องทําคื อเปดพจนานุ กรม
หาคําๆ นั้น และดูคําจํากัดความทั้งหมดอยางคราวๆ เพื่อหาวาคําจํากัดความใดเขากับเนื้อหาที่
กําลังกลาวถึง เมื่อพบแลวใหอานคําจํากัดความนั้นและใชคํานัน้ แตงประโยคจนกระทั่งคุณเขาใจ
แนวคิด (concept) ของคําๆ นั้นในความหมายดังกลาว ทั้งนี้คุณอาจจะตองแตงประโยคถึงสิบ
ประโยคหรือมากกวานัน้ ก็ได
3. จากนั้นใหทําความเขาใจกับทุกคําจํากัดความที่เหลือของคําศัพทนั้น โดยแตงประโยค
สำหรับแตละคําจํากัดความจนกระทั่งคุณเขาใจแตละคําจํากัดความอยางถองแท
เมื่อใดที่คําๆ หนึ่งมีหลายคําจํากัดความ คุณไมอาจจํากัดความเขาใจของตัวคุณเองเกี่ยวกับ
คําๆ นั้นไวเพียงแคคําจํากัดความเดียว แลวพูดวาคุณ "เขาใจ" คําๆ นั้นแลว แตคุณจะตองสามารถ
เขาใจคําๆ นั้นเมื่อมันถูกใชตางออกไปในภายหลัง
อยางไรก็ตามอยาเคลียรคําจํากัดความดานเทคนิคหรือคําจํากัดความเฉพาะดาน (เชน คณิต-
ศาสตร ชีววิทยา ฯลฯ) หรือคําจํากัดความทีล่ าสมัย (คําที่ไมใชแลว) หรือโบราณ (เกาแกและไมใช
กั นโดยทั่ วไปแลว) นอกเสียจากว าคําศั พทที่ คุณไม เขาใจนั้ นกําลังถู กใช อยู ในความหมายนั้ น
การทําเชนนั้นอาจจะทําใหเราตองเคลียรคําศัพทที่ไมเขาใจคําอื่นๆ อีกหลายคําที่อยูในคําจํากัด
ความหรือคําอธิบายความหมายของคําเหลานั้น และจะทําใหการเรียนของเราชาลงอยางมาก

18
ถาคนๆ หนึ่งกําลังอานอะไร
สักอยางอยู แลวไมเขาใจ...

...จะตองมีคําศัพทที่เขาไมเขาใจ
Felis
domesticus? กอนหนานั้นในหนังสือ เขาจะตอง
ยอนกลับไปและหาคําศัพทคํานั้น
ใหพบ

เมื่อเขาคนหาคําศัพทนั้นใน
พจนานุกรม และเขาใจ
ความหมายของคําศัพทแลว...
สัตวเลี้ยง
ตระกูลแมว

...ความไมเขาใจจะหายไป
และเขาก็สามารถเรียนคืบหนา
ตอไปได

19
ตัวอยางการเคลียรคําศัพท
ยทำมาหลาย ศ ห ร ื อ ก าซ 2. ช อ งทา
ฉันรูวาเขาเค วามสะอาด ปลองไฟ อา ก า
ณ ะ เด ี ย วกัน 3. ทอ
โด ย
ำค ั ก ษ
งาน เขาเคยท ียงปากทอง นันไมใช ห ร ื อส ิ  ง อื  น ๆ

r. fl uie, a
flow in g]
) เพือเล กับเขา ญ  F
ในวัยเดียวกัน าดให [O
(chimney
ย ส ำ ห ร ั บ ค น เฉพาะ ทีม ีขน  แก น
เรืองธรรมดา
เล ในศ ตวรรษ อ งเ ครือ งอ อร
 งวีเพอะอย ำ ั ท  อ เส ี ย ง ข
■ สมมติวา คุณกําลังอานประโยค "เขาเคยทําความสะอาดปลองไฟ ■ ตอจากนัน้ ใหอา นรากศัพทของคําวา "flue" ที่พจนานุกรมอธิบาย
(chimney) เพือ่ เลี้ยงปากทอง"
แลวคุณไมแนใจวา "chimneys" ไว เมื่อถึงตรงนี้กลับไปที่คําวา "chimney" ตอนนี้คณ ุ จะสามารถ
หมายความวาอะไร เขาใจคําจํากัดความที่วา "ทอ (flue) สําหรับใหควันหรือกาซจาก
เปลวเพลิงลอยขึน้ " แลวอันดับตอไปก็ใหคณ ุ ใชคาํ วา chimney แตง
ประโยค จนกระทัง่ คุณไดแนวคิดและภาพของคําๆ นี้
(ชม -น) 1.
นาการ chimney
ยขึน 2. ฝาคร
อบ
ไมจริง, จินต อ
 (f lue) สำ
หรบั ใหควัน ล วเ พ ล ง
ิ ล อ
(ชิม-น )
ี 1 . ท รอบ หรือกาซจากเป ิดตามหนาผา
สูง
chimney
ว เพ ล ง
ิ ล อ ยขึน 2. ฝาค า งนำม น
ั 3. ช อ
 งเ ป
เป ล
หรือกาซจาก ำมัน 3. ชองเปิดตามหนา
ผ กระจกตะเกีย ata, เตาผิง
r . LL camin
งน าไฟ F
หรือปลองภูเข
[O
กระ จกตะ เกยี ื ปลองภเขาไฟ ace]
■ คุณหาความหมายในพจนานุกรม แลวดูคําจํากัดความตางๆ ■ ตอไปใหคณ
ุ เคลียรคาํ จํากัดความอืน่ ๆ ของคําวา chimney
เพื่อหาคําจํากัดความที่เหมาะสม พจนานุกรมอธิบายไววา ถาพจนานุกรมที่คุณใชอยูมีคําจํากัดความเฉพาะดานหรือ
"ทอ (flue) สําหรับใหควันหรือกาซจากเปลวเพลิงลอยขึน้ ” คําจํากัดความทีเ่ ลิกใชแลว ใหคณ
ุ ขามคําจํากัดความเหลานัน้ ไป
เพราะวาคําจํากัดความเหลานั้นไมไดมกี ารใชกันโดยทั่วไป

หรอกาซ าสู
n (นาม) ควัน ม น
ั 3 . ช อ
 งเปิดตามหนาผ
fluctuatio รือทางระบาย าซ งนำ ผิง
าม 1 . ช  อ งห กระจกตะเกีย r . LL cam
inata, เตา
flue (ฟล ู)
น ากาศ ก ไฟ F
ชองทางเดินอ อ โดย หรือปลองภูเข
า [O
ร อ
ื ก า
 ซ 2. ลอม]
อ า กา ศ ห 3. ท inos, เตาห
ิ  ง อ ื  น ๆ ล ั ก ษ ณ ะ เด ียวกัน L. caminu
s G r. ka m
ส ถานทีซึงอยูใก
ลไฟ
ห ร ื อส ี ีขน าดใหญ

 างข องเ ต าผ ง

■ คุณไมแนใจวา "flue" หมายความวาอะไร คุณจึงคนหาความ- ■ ถึงตอนนี้ใหเคลียรรากศัพทดว ย คุณพบวา "chimney" นั้น
หมาย พจนานุกรมอธิบายไววา "ชองหรือทางระบายควัน อากาศ มาจากภาษากรีก คําวา "kaminos" ซึง่ หมายถึง "เตาหลอม" หาก
หรือกาซ" ซึง่ เปนความหมายที่เขากันกับประโยคและอานแลวได คําศัพทคาํ นัน้ มีหมายเหตุใดๆ เกีย่ วกับวิธีการใช คําทีม่ คี วามหมาย
ใจความ คุณจึงใชคาํ วา "flue" แตงประโยคสักจํานวนหนึง่ จน- ใกลเคียงกันหรือสํานวน ก็ใหคุณเคลียรสิ่งเหลานั้นทั้งหมดดวย
กระทั่งคุณไดแนวคิดและภาพ (concept)ทีช่ ดั เจนเกีย่ วกับคําๆ นี้ นั่นคือขัน้ ตอนสุดทายของการเคลียรคําวา "chimney"
flue (ฟลู) นาม 1. ช
งทางเดินอากาศ กาซ
อากาศ หรือกาซ 2. ชอ
ียวกัน 3. ทอ โดย
หรือสิงอืนๆ ลักษณะเด ] ที่กลาวมาขางตนคือ วิธีที่ควรใชในการเคลียรคําศัพท
Fr. fluie, a flowing
เฉพาะทีมีขนาดใหญ [O เมื่อคําศัพทตางๆ เปนที่เขาใจแลว การสื่อสารก็จะเกิดขึ้นได
■ คําวา "flue" ในพจนานุกรมนี้ยังมีคําจํากัดความอื่นๆ อีก และดวยการสื่อสาร ไมวา วิชาใดๆ ก็สามารถเปนที่เขาใจได
ซึ่งคุณจะตองเคลียรแตละคําจํากัดความ และแตงประโยคดวย

20
4. อันดับตอไปคือ ทําความเขาใจรากศัพทซึ่งเปนการอธิบายถึงทีม่ าของคําๆ นั้น สิ่งนี้จะชวย
ใหคุณไดความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับคําๆ นั้น
5. พจนานุกรมสวนใหญจะใหสํานวนของคําๆ นั้น สํานวนก็คือวลีหรือคําพูดที่ไมไดมีความ
หมายตรงตามความหมายทั่วๆ ไปของคําๆ นั้น ตัวอยางเชน "ปลูกเรือนครอมตอ" เปนสํานวน
หมายถึง "กระทําสิ่งซึ่งลวงล้ํา กาวกาย หรือทับสิทธิของผูอื่น จะโดยรูเทาถึงการณหรือไมก็ตาม"
มีคําไมนอ ยทีเดียวทีม่ ีการใชในรูปของสํานวน และพจนานุกรมมักจะอธิบายความหมายของสํานวน
เหลานี้ตอทายคําจํากัดความของคําๆ นั้น ถาคําศัพทที่คุณกําลังเคลียรอยูนั้นมีสํานวนอยู ก็ให
คุณเคลียรสํานวนเหลานั้นดวย
6. ใหทําความเขาใจขอมูลอื่นๆ ที่ใหไวเกี่ยวกับคํานั้น เชน วิธีการใชคําที่มีความหมายคลาย
หรือใกลเคียงกัน (synonyms) ฯลฯ เพื่อที่คุณจะไดเขาใจคําๆ นัน้ อยางถองแท (synonym คือ
คําศัพทที่มคี วามหมายคลายกัน แตไมไดมีความหมายเหมือนกับอีกคําหนึ่ง ดังตัวอยางเชน "ผอม"
และ "ซูบซีด" )
7. ถาคุณพบคําศัพทหรือเครื่องหมายที่คุณไมเขาใจในคําจํากัดความของคําศัพทที่คุณกําลัง
เคลียรอยู คุณจะตองทําความเขาใจคําศัพทหรือเครือ่ งหมายนั้นทันทีโดยใชวิธีการเดียวกันนี้ แลว
จึ งคอยกลับไปยังคําจํากัดความของคําศั พท เดิ มที่คุ ณเคลียรค างไว (โดยปกติ แลวคําอธิบาย
เครื่องหมายและตัวยอตางๆ ที่ใชในพจนานุกรมเลมหนึง่ ๆ มักจะระบุไวทดี่ านหนาของพจนานุกรม
เลมนั้น) อยางไรก็ตามถาคุณพบวาตัวคุณเองกําลังใชเวลาไปกับการเคลียรคําศัพทที่อยูในคํา
อธิบายความหมายของคําศัพทตางๆ มากจนเกินไป คุณควรจะเปลี่ยนไปใชพจนานุกรมที่งาย
กวานัน้ พจนานุกรมทีด่ ีจะชวยใหคณุ เคลียรคําศัพทไดโดยไมตองทําการคนหาคําศัพทอนื่ ๆ มากนัก

คําศัพทงายๆ
คุณอาจจะคิดขึ้นมาทันทีวา คําศัพทสวนใหญที่เรามักจะไมเขาใจหรือเขาใจผิดจะตองเปน
คำยาวๆ ยากๆ หรือคําศัพทเทคนิค
แตจริงๆ แลว ไมไดเปนเชนนั้น
เวลาที่ทําการเคลียรคําศัพทใหกับนักเรียน เรามักจะพบอยู บอยครั้งวา คําศัพทตางๆ เช น
"ก็" "นั้น" "อยู" "จึง" และคําศัพทอื่นๆ ประเภท "ใครๆ ก็ร"ู นัน้ มักจะเปนคําที่นักเรียนเขาใจผิด
เรื่องแปลกก็คือตองเปนพจนานุกรมเลมใหญจึงจะอธิบายคํางายๆ เหลานี้ไวอยางสมบูรณ
เพราะพจนานุกรมเลมเล็กทั้งหลายก็คิดวา "ใครๆ ก็รูวาคําศัพทคํานั้นหมายความวาอะไร" เชน
เดียวกัน
แทบเปนเรื่องไมนาเชื่อเลย เมื่อพบวาผูที่จบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยผูหนึ่งซึ่งใชเวลาป
แลวปเลาศึกษาวิชาที่ซับซอนตางๆ หลายวิชา แตไมรูวา "และ" หรือ "โดย" หรือ "อัน" หมายความ

21
วาอะไร เรื่องแบบนี้เราคงตองเห็นดวยตนเองจึงจะเชื่อ กระนั้นก็ตามเมื่อทําความเขาใจคําเหลา
นั้นแลว ความไมเขาใจที่ทับถมมาตลอดการศึกษาของเขาก็เปลีย่ นไปเปนภาพที่ชัดเจนและเปน
ประโยชน
การทดสอบเด็กนักเรียนในเมืองโยฮันเนสเบิรก ประเทศแอฟริกาใต ครั้งหนึ่งแสดงใหเห็นวา
สติปญญาของนักเรียนลดนอยถอยลงในทุกปการศึกษาใหม!
คําตอบงายๆ ของความนาฉงนนี้ก็คอื ในแตละปการศึกษาใหมจะมีการเพิม่ คําศัพททไี่ มเขาใจ
ซึ่งมีผลกระทบขั้นรุนแรงตอเด็กอีกมากมายหลายคํา เขาไปทับถมกับคําศัพทบางคําที่เด็กๆ สับสน
อยูกอนหนานี้แลว โดยทีไ่ มเคยมีใครสนใจใหพวกเขาคนหาความหมายของคําเหลานั้น
ความโงเขลาเปนผลที่ เกิ ดขึ้ นจากคําศัพทที่ ไม เขาใจ คุ ณจะพบว าในสาขาวิ ชาหรือเรื่ องที่
คนเรามีปญหามากที่สุดนั้น จะมีการเปลี่ยนแปลงขอเท็จจริงไปมากที่สุด มีแนวคิดที่สับสนและ
ขัดแยงกันอยูมากที่สุด และแนนอนวามีจํานวนคําศัพทที่ไมเขาใจอยูมากที่สดุ เชนกัน
คําศัพทแรกสุดที่ไมเขาใจในวิชาหนึ่งๆ เปนกุญแจสําคัญในการแกปญหา
คําศัพทที่ไมเขาใจคําอื่นๆ ที่ตามมาในวิชานั้น
ในการศึกษาภาษาตางประเทศ บอยครั้งพบวาคําศัพทไวยากรณตางๆ ที่แปลจากภาษาตาง
ประเทศมาเปนภาษาแมของผูเรียน ซึ่งอธิบายถึงหลักไวยากรณของภาษาตางประเทศภาษานัน้
คือสาเหตุพนื้ ฐานที่ทําใหการเรียนรูภาษานั้นไมประสบผลสําเร็จ
เปนเรื่องสําคัญที่เราจะตองเคลียรคําศัพททไี่ มเขาใจเหลานี้

22
วิธตี า งๆ ในการเคลียรคาํ ศัพท
(METHODS OF WORD CLEARING)
ในไซแอนโทโลยี ไดมีการคิดคนวิธกี ารตางๆ ขึน้ เกาวิธี เพือ่ ใชในการเคลียรความหมายของคํา
ทั้งเก าวิธีนี้ ครอบคลุมหลากหลายรูปแบบในการคนหาคําศัพทที่ ไมเขาใจ ซึ่ งเปนที่มาของ
ความยุงยากนานาประการของบุคคล โดยมีตั้งแตการคนหาคําศัพทที่ไมเขาใจในหนังสือที่ผูเรียน
กําลังเรี ยนอยู ไปจนถึ งการเคลียรคําศัพท สําคัญที่ เกี่ ยวเนื่ องกั บงานของคนๆ นั้ น รวมไปถึ ง
กระทั่งการไลยอนกลับไปยังคําศัพทตางๆ ที่ไมเขาใจหรือที่เขาใจผิดในวิชาตางๆ ซึ่งผูเรียนเคย
เรียนมาในช วงหลายปกอนหนานี้!
สามวิธีของการเคลียรคําศัพทที่นําไปประยุกตใชไดเปนอยางดีในชีวิตประจําวัน ไดอธิบายไว
ตอจากนี้

การเคลียรคําศั พท ขั้นพื้นฐาน


การเคลียรคําศัพทขนั้ พืน้ ฐานคือ วิธีการคนหาคําศัพททไี่ มเขาใจโดยการยอนกลับไปยังเนื้อหา
กอนหนาจุดที่ผูเรียนกําลังมีปญหา เพื่อค นหาคําศัพทที่ ไม เขาใจ นี่คือวิธีพื้นฐานที่ สุดของการ
เคลียรคําศัพทที่ใชอยูในไซแอนโทโลยี
นักเรี ยนต องรู วิธี ที่ ทําให ตั วเขาเองศึ กษาได อย างรวดเร็วและประสบความสําเร็จ เขาควร
สามารถที่จะจัดการกับอะไรก็ตามที่ทําใหเขาเรียนไดชาลง หรือขัดขวางความกาวหนาในการเรียน
ของเขา เขาควรจะนําเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไปประยุกตใชเพื่อชวยเหลือตัวเขาเอง
นักเรียนที่ใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจะคนหาคําศัพททุกคําที่เขาพบวาเขายังไมเขาใจ และ
จะไมปลอยคําศัพทที่เขาไมรูความหมายนั้นไว
ถานักเรียนพบความยุงยากในการเรียน ตัวนักเรียนเอง เพื่อนที่เรียนดวยกัน หรือครูผูสอน
(ในไซแอนโทโลยีเรียกวา ซุปเปอรไวเซอร) จะใชการเคลียรคําศัพทขั้นพื้นฐานจัดการกับสิ่งตางๆ
ที่ทําใหเขาเรียนชาลง หรือที่เขามาขัดขวางความกาวหนาในการเรียนของเขา
การจับสังเกตวานักเรียนมีคําที่ไมเขาใจหรือไม โดยดูจากอาการออนระโหยโรยแรง คิดอะไร
ไมออก หรืออาการ "สะลึมสะลือ" (dope off: รูสกึ เหนื่อย งวงนอน ความคิดสับสนไมชัดเจน ราว
กับถูกวางยาหรือติดยามา) เพียงอยางเดียว แลวจึงคอยจัดการแกไขเปนเรื่องที่ชาเกินไป ถาคุณ
เคยเห็นนักเรียนนอนหลับคาหนังสือ นั่นแหละคุณไดเห็นอาการของนักเรียนที่สะลึมสะลือแลว

23
ใครสักคนควรจะใหเขาค นหาคําศั พท ที่ เขาไม เข าใจก อนหน าที่ เขาจะมีอาการนั้ นตั้ งนานแลว
เวลาที่นักเรียนควรหาคําศัพทที่ ไมเขาใจก็คือทันทีที่นักเรียนเรียนไดชาลง หรือมีทาทางไมคอย
"แจมใส" เหมือนเมื่อสิบหานาทีที่แลว สิ่งที่เขาไมเขาใจนั้นไมใชวลี ความคิด หรือแนวคิด แตเปน
คําศัพทซึ่งเขาไมเขาใจ สิง่ นี้เกิดขึ้นกอนที่จะมีความไมเขาใจในวิชานั้นเกิดขึ้นเสมอ
การเคลียรคําศัพทขั้นพื้นฐานจะตองปฏิบัติดังนี้

1. เมื่อนักเรียนเรียนชาลงและไม "แจมใส" เหมือนกอนหนานี้ หรือไมคอยกระตือรือรนอยาง


เห็นไดชัด หรือใชเวลาเรียนนานเกินไป หรือหาวนอน หรือไมสนใจเรียน หรือนั่งขีดเขียนเลน หรือ
ฝนกลางวัน ฯลฯ
2. เมื่อเปนเชนนี้ นักเรียนตองหาคําศัพทที่ไมเขาใจในเนื้อหากอนหนานั้น จะตองมีสักคําหนึ่ง
เสมอโดยไมมีขอยกเวน คําศัพทที่ไมเขาใจอาจจะอยู ในเนื้อหาที่อานผานมาแลวสองหนาหรือ
มากกวานั้น แตมันจะตองอยูกอนหนาสิ่งที่นักเรียนกําลังอานอยูในขณะนั้นเสมอ
3. นักเรียนจะพบคํานั้ นโดยการย อนกลับไปหา หรือถานักเรียนหาไมพบ ก็ ใหใครคนหนึ่ ง
เลือกคําตางๆ ซึ่งอาจเปนคําที่นักเรียนไมเขาใจในบทเรียนที่เขากําลังเรียนอยูนั้น แลวถามเขาวา
"คําวา_____หมายถึงอะไร" เพื่อจะดูวานักเรียนใหคําจํากัดความที่ถูกตองของคําๆ นั้นไดหรือไม

4. ใหนักเรียนหาความหมายของคําศัพทที่ไมเขาใจในพจนานุกรม และทําความเขาใจคําๆ
นั้นตามขั้นตอนของการเคลียรคําศัพทที่อธิบายไวขางต น จากนั้นใหนักเรียนพูดประโยคตางๆ
ที่ เขาแต งขึ้ นมาเองโดยใช คําๆ นั้ นหลายๆ ครั้ ง จนกระทั่ งเขาแสดงให เห็นอย างชั ดเจนว าเขา
เข าใจคําๆ นั้นอยางถองแทแลวดวยประโยคตางๆ ที่เขาแตงขึ้นมา

5. อันดับตอไป ใหนักเรียนอานเนื้อหาที่เขาพบคําศัพทที่ไมเขาใจนั้นใหมอีกครั้ง ถาเขายัง


ไม "แจมใส" หรือกระตือรือรนที่จะอานตอไป ยังไมมีความสุขที่จะเรียน ฯลฯ แสดงวายังมีคําอื่น
อีกในเนื้อหากอนหนานั้นที่เขาไมเขาใจ ใหนักเรียนหาคํานั้นโดยการทําขั้นตอนที่ 2-5 ซ้ําอีกครั้ง

6. เมื่อนักเรียนแจมใสมี ความสุขที่ จะเรียนตอไปแลว ใหเขาศึกษาเนื้อหานั้ นตอไปโดยเริ่ม


จากจุดที่พบคําศัพทที่ไมเขาใจไปจนถึงเนื้อหาตรงที่เขาไมเขาใจ (จุดที่เขามีปญหาตามขอที่ 1)

ตอนนี้ นักเรียนจะรูสึกกระตือรือรนที่จะศึกษาวิชานั้น และนั่นคือผลลัพธสุดทายของ “การ


เคลียรคําศัพทขั้นพื้นฐาน” (ผลลัพธนี้จะไมเกิดขึ้นหากคําศัพทที่ไมเขาใจคําใดคําหนึ่งถูกขามไป
หรือยังมี คําศั พทที่ไมเขาใจในเนื้ อหาที่เขาเรียนกอนหนานั้น หากเปนเชนนั้น ใหทําซ้ําขั้นตอน
ที่ 2-5) เมื่อนักเรียนกระตือรือรนแลวก็ใหเขาศึกษาตอไป

24
วิธีเคลียรคําศัพทที่ดีก็คือ การใชระบบของการยอนกลับไปหาสาเหตุ คุณตองมองยอนกลับ
ไปยังเนื้อหากอนหนาจุดที่นักเรียนเขาใจไดชาหรือสับสน แลวคุณจะพบวามีคําศัพททเี่ ขาไมเขาใจ
ที่ใดที่หนึ่งกอนที่ปญหานั้นจะเกิดขึ้น เมื่อพบและทําความเขาใจคํานั้นแลวแตเขายังไมแจมใสขึ้น
แสดงวาเขายังมีคําที่ไมเขาใจอยูกอนหนาคําๆ นั้นอีก
คุณจะเขาใจสิ่งที่กลาวมานี้ไดอยางกระจางชัด ถาคุณเขาใจวาหากสิ่งที่ดูเหมือนวาจะเปน
ปญหาของนักเรียนในขณะนั้นยังคงแกไมได นั่นแสดงวามันไมใชปญหาที่แทจริงของเขา ไมเชน
นั้นปญหาก็นาจะแกไขไดแลว จริงหรือไม ถาเขารูว าอะไรคือสิ่งที่เขาไมเขาใจ เขาก็จะสามารถ
แกปญ หาไดดวยตัวเอง ดังนั้นการพูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่เขาคิดวาเขาไมเขาใจนั้น ไมไดชวยอะไรเลย
เพราะปญหาที่แทจริงไดเกิดขึ้นกอนหนานั้น
ใน “การเคลียรคําศัพท
ขัน้ พื้นฐาน” นักเรียน
จะตองดูในเนื้อหา
กอนหนานั้น เพื่อคนหา
คําศัพทที่ไมเขาใจ
คําศัพทที่ไมเขาใจ
จะอยูในเนื้อหา
กอนหนาที่นักเรียน
อานอยูในขณะนั้น
เสมอ

การคนหาตําแหนงคําศัพทที่ไมเขาใจ
สูตรคือ หาดูวาตรงจุดไหนที่นักเรียนเรียนไดอยางไมมีปญหา และตรงจุดไหนที่นักเรียนกําลัง
มีปญ หาอยูในขณะนั้น คําศัพททไี่ มเขาใจจะอยูระหวางจุดสองจุดนั้น มันจะอยูที่สว นทายสุดของ
บริเวณที่เขาเรียนไดอยางไมมีปญหา
การเคลียรคําศัพทขั้นพื้นฐานจะมีประสิทธิภาพอยางยิ่ง ถาทําตามขั้นตอนทีอ่ ธิบายไวในที่นี้

25
การเคลียรคําศัพทโดยวิธีอานออกเสียง
วิธีทมี่ ีประสิทธิภาพมากๆ วิธีหนึ่ง ในการคนหาคําศัพทที่ผเู รียนไมเขาใจในหนังสือหรือเอกสาร
อื่นๆ คือวิธีที่เรียกวา “การเคลียรคําศัพทโดยวิธีอานออกเสียง”
เมื่อนักเรียนอานหนังสือดวยตัวเขาเอง บอยครั้งทีเดียวที่เขาไมรูวาเขาไดอานขามคําศัพทที่
เขาไมเขาใจไป แตเมื่อใดก็ตามที่เขาขามคําศัพทตางๆ ที่เขาไมเขาใจไป เขาก็จะมีปญหากับสิ่ง
ที่เขากําลังอานในขณะนัน้
ในการเคลียรคําศัพทโดยวิธีอานออกเสียง เราจะตองใหผูรับการเคลียรคําศัพทอานออกเสียง
เนื้อหาที่เขาเรียน บุคคลที่ ฟงนักเรียนอานออกเสียงจะชวยนักเรียนคนหาและเคลียรคําศัพทที่
ไม เขาใจ เราเรียกเขาอย างเหมาะสมตามหนาที่ นี้ วา เวิ รดเคลียเรอร (word clearer: ผูชวย
เคลียรคําศัพท)
โดยทั่วไปแลวนักเรียนสองคนจะผลัดกันทําการเคลียรคําศัพทดวยวิธีอานออกเสียง กลาวคือ
นักเรียนคนแรกทําหนาที่เปนเวิรดเคลียเรอร และเคลียรคําศัพทใหกับนักเรียนอีกคนหนึ่ง จากนั้น
ก็สลับกัน โดยนักเรียนที่ไดรับการเคลียรคําศัพทเรียบรอยแลวเปลี่ยนไปเปนเวิรดเคลียเรอรบาง
และเคลียรคําศัพทใหกับเพื่อนของเขา
คําศัพทที่ไมเขาใจนั้นมีหลายลักษณะ ถือเปนเรื่องสําคัญสําหรับบุคคลที่กําลังทําการเคลียร
คําศัพทโดยวิธีอานออกเสียงที่จะตองรูจักประเภทตางๆ ของคําศัพทที่ไมเขาใจ เราอาจไมเขาใจ
หรือเขาใจคําๆ หนึ่งผิด เนื่องจากเหตุผลดังตอไปนี้
1. คําจํากัดความทีผ่ ดิ (ผิดโดยสิ้นเชิง) เชน เมื่ออานหรือไดยินคําวา "แมว" และคิดวา "แมว"
หมายถึง "กลอง" คุณไมสามารถจะแปลความหมายผิดไดมากไปกวานี้อีกแลว
2. คําจํากัดความที่คิดขึ้นมาเอง เช น คนที่สมัยเปนวัยรุนมักถูกเพื่อนเรียกวา "เด็กผูหญิง"
ทุกครั้งที่เขาปฏิเสธที่จะทําสิ่งที่ ทาทาย เขาจึงคิดวาคําจํากัดความของคําวา "เด็ กผูหญิง" คือ
"คนขี้ขลาด"
3. คําจํากัดความที่ ไม ถูกตอง เชน เมื่ ออานหรื อได ยินคําว า "คอมพิ วเตอร" แลวคิดว าเปน
"เครื่องพิมพดีด" นี่คือความหมายที่ไมถูกตองสําหรับ "คอมพิวเตอร" ถึงแมวาทั้งเครื่องพิมพดีด
และคอมพิวเตอรจะเปนประเภทของเครื่องกลเหมือนกัน
4. คําจํากัดความที่ไมสมบู รณ เช น เมื่ ออ านคําวา "สํานักงาน" แลวคิดว าหมายถึ ง "หอง"
แตคําวา "สํานักงาน" หมายถึง "อาคาร หอง หรือหองชุด ซึ่งเปนที่ประกอบการของธุรกิจหนึ่งๆ
ของผูประกอบวิชาชีพหรือหนวยงานของรัฐบาล ฯลฯ " การใหความหมายของคําวา "สํานักงาน"
เชนนี้ จึงถือวาไมสมบูรณ
5. คําจํากัดความทีไ่ มเหมาะสม เชน เมือ่ เห็นเสนขีดเล็กๆ (-) ในประโยค "ฉันทําขอ 3-7 เสร็จ
แลววันนี"้ แลวคิดวาเสนขีดเล็กๆ นัน้ เปนเครือ่ งหมายลบ แตกร็ ูวา เราไมสามารถลบ 7 ออกจาก 3 ได
จึงไมสามารถเขาใจประโยคนี้ได
26
การเขียนแบบ? ¡ÒÃà¢Õ¹Ẻ
ÁÕ¤ÇÒÁÊÓ¤Ñ−µèÍ
ʶһ¹Ô¡

คําศัพทที่ไมเขาใจสามารถขัดขวางความเขาใจในบางสิ่ง ผลก็คอื เขาอาจดูเหมือนไมมคี วามถนัดในการทําบางสิ่ง


บางอยางของผูเรียนได ซึง่ ทําใหเขารูสกึ ผิดหวังและไมมีความสุขอยางมาก

การเขียนแบบ!

พจนานุกรม

แตการคนหาวาคําใดบางที่เขาไมเขาใจในวิชานั้น และ การเคลียรคําศัพทที่ไมเขาใจ เปนหัวใจสําคัญในการ


เคลียรคําศัพทเหลานั้นอยางสมบูรณ จะชวยฟนคืน ขจัดปญหาความยุง ยากในทุกๆ วิชาที่คนๆ นั้นเรียนอยู
ความสามารถที่จะลงมือปฏิบัตใิ นสาขาวิชานั้นได

6. คําจํากัดความประเภทพองรูป หรือพองเสียง (เสียงหนึ่งเสียงหรือสัญลักษณหนึ่งอยางที่มี


สองความหมายหรือมากกว าที่แตกต างกั นโดยสิ้นเชิง) เช น เมื่ อได ยินคําว า "จุ ด" ในประโยค
“มันเปนจุดจบของความยุ งเหยิง" และรูเพียง "จุด" ที่หมายถึ ง รอยหรือแตมที่มีลักษณะกลมๆ
ปรากฏที่พื้นผิว จึงคิดไปวาประโยคนี้หมายถึง มีรอยแตมกลมๆ อยู ในความยุ งเหยิง
7. คําจํากัดความประเภทคําแทน (คําทีม่ ีความหมายใกลเคียงกัน) เชน เมื่ออานคําวา "ทวม"
แลวคิดวาแปลวา "อวน" คําวา "อวน" เปนเพียงคําที่ใกลเคียงกับคําวา "ทวม" เมื่ออานแลวจึงไม
เขาใจ เพราะจริงๆ แลวคําวา "ทวม" หมายถึง "มีรูปรางสันทัดอวนนอยๆ และไมสงู ใหญ"
27
8. คําจํากัดความที่ถูกละเลย (หายไป) เชน เมื่อไดยินประโยค "The food here is too rich"
แตรูจักเพียงสองความหมายของคําวา "rich" คือ "การมีเงินทอง ที่ดินและทรัพยสนิ มากมาย" กับ
"คนรวย" ความหมายทั้งสองนี้ไมสามารถทําใหเขาเขาใจประโยคนี้ได เขาไมสามารถเขาใจไดวา
อาหารจะเกี่ ยวของกับเงินทองอันมากมายไดอยางไร เขาไมรูวาจริงๆ แลว "rich" ในประโยคนี้
หมายถึง "มีเนย ไข เครือ่ งปรุงอื่นๆ อยูเยอะ"
9. ไมมีคําจํากัดความ ไมมีคําจํากัดความหมายถึง คําหรือเครื่องหมายที่เห็นแลว "ไมเขาใจ"
เชน เมื่ออานประโยค "มีอยูไมกี่อัฐ" แลวเกิดความไมเขาใจ เพราะไมมีคําจํากัดความสําหรับคําวา
"อัฐ" ซึ่งหมายถึง "เงินตรา เปนคําศัพทโบราณ ใชเรียกเงินปลีกสมัยกอน เชนประโยคทีว่ า คนมีอฐั "
10. คําจํากั ดความที่ ถู กปฏิ เ สธ เช น ปฏิ เสธที่ จะค นหาคําจํากั ด ความของเครื่ องหมาย
ดอกจันทร (*) จากการพูดคุยกับคนเชนนี้ พบวาทุกครั้งที่เขาเห็นเครื่องหมายดอกจันทรบนหนา
หนังสือ เขาคิดวาเนื้อหานั้นจะตอง "อานยากมากๆ" และเปน "เชิงวรรณคดี" "ยาก" และ "ตอง
ใชสติปญญามาก"
ถาบุคคลอานหรือเรียนโดยขามคําศัพทที่ไมเขาใจบอยๆ จนกลายเปนนิสัย (ซึ่งคนสวนมาก
ทํากันในวัฒนธรรมปจจุบันนี้) ไมเพียงแคความสามารถในการอานของเขาจะลดลงเทานั้น แต
สติปญญาของเขาก็จะถดถอยตามลงไปดวย อะไรก็ตามที่เขาเขียนและพูดจะไม เปนที่เขาใจ
อะไรก็ตามที่เขาอานและไดยิน เขาก็จะไมเขาใจ และเขาก็จะสื่อสารอยางยากลําบาก โลกอาจ
กลายเปนสถานที่แปลกประหลาดสําหรับเขา เขาจะรูสึกวา "ไมมีใครเขาใจเขา" (มันเปนเชนนั้น
จริงๆ!) และชี วิตจะดู ค อนข างทุ กข ทรมานสําหรั บเขา ยิ่ งไปกว านั้ น เขายั งอาจจะดู เ หมื อน
อาชญากรในสายตาของผูอื่น อย างดีที่สุดเขาก็จะมีสภาพไมตางไปจากหุนยนตหรือซากศพที่
เดินได คราวนี้คุณเห็นหรือยังวาการเคลียรคําศัพทที่ไมเขาใจนั้นสําคัญมากจริงๆ

เหตุใดการเคลียรคําศัพทโดยวิธีอานออกเสียงจึงใช ไดผล
นักเรียนที่เขาใจคําศัพททั้งหมดในหนาหนังสือที่เขากําลังอานอยู จะสามารถอานออกเสียง
หนานั้นไดอยางถูกตองสมบูรณ เขาจะรูสกึ สดชื่นและตื่นตัว และจะเขาใจในสิง่ ที่เขาอานไดเปน
อยางดี แตเมื่อนักเรียนอานผานคําศัพทหรือเครื่องหมายที่เขาไมเขาใจไป ความไมเขาใจนั้นจะ
เปนสาเหตุทําใหเสียงของเขาสะดุดหรือเกิดสภาวะทางรางกาย เสียงของเขาอาจจะเปลี่ยนไป
หรือเขาอาจจะอานตะกุกตะกัก ทําหนาตาแปลกๆ ชําเลืองมอง หรือมีปฏิกิริยาอื่นๆ
เรื่องนี้เขาใจไดไมยาก หากคุณจําไดวาบุคคลหนึ่งสามารถรูสึกวางเปลาไดหลังจากที่เขาได
อานขามคําศัพทหรือเครื่องหมายที่เขาไมเขาใจไป เขาอาจจะทําอะไรผิดพลาด ณ จุ ดที่ เขาไม
เขาใจนัน้ หรือเขาอาจจะยังคงอานตอไปได โดยผานเลยคําศัพทหรือเครือ่ งหมายที่เขาไมเขาใจนั้น

28
"ในการดี ด "เราใช สติ๊ ก..."
สายกี ต าร ..." เอ อ อ า ฉั น หมายถึ ง "ป ก"

การเคลียรคําศัพทโดยวิธีอานออกเสียง เปนวิธีการ จะเห็นไดชัดเจนวานักเรียนมีคําศัพทที่ไมเขาใจ


คนหาคําศัพทที่ไมเขาใจอยางละเอียด เมือ่ เขาอานอยางตะกุกตะกัก เปลีย่ นแปลงคํา
หรือมีอาการอื่นๆ

แลวไปพลาดที่คําหรือเครื่องหมายอื่นในภายหลัง เขาจะรูสึกไมแจมใสและเขาใจไดชาลงเรื่อยๆ
และเขาจะพยายามแกไขความรูสึกตื้อๆ นั้นดวยการใชความพยายามมากขึ้นในขณะที่อาน สิง่ นี้
จะปรากฏออกมาในลักษณะของอาการที่ไมพงึ ประสงคอยางใดอยางหนึ่งเสมอ ซึ่งเวิรด เคลียเรอร
จะตองสังเกตใหเห็นและจัดการแกไขทันที
ปฏิกิริยาที่ ไม พึงประสงคคื อ สิ่ งใดก็ตามที่ นักเรียนทํานอกเหนือไปจากการอานหนั งสือได
อยางงายดาย เปนธรรมชาติและสมบูรณแบบ ตัวอยางของปฏิกิริยาที่ไมพงึ ประสงคบางประการ
ซึ่งอาจแสดงออกมาใหเห็นคือ
1. นักเรียนเพิม่ คําศัพทหรือละคําศัพทหรือเปลี่ยนคําศัพทในประโยคที่เขากําลังอานอยู
2. นักเรียนอานคําศัพทตะกุกตะกัก หรือออกเสียงไมถูกตอง
3. นักเรียนหยุดอาน หรืออานชาลงมาก
4. นักเรียนขมวดคิ้ว หรือดูเหมือนไมแนใจ
29
5. นักเรียนเริ่มมีอาการตัวแข็ง หรือเกร็งบางสวนของรางกาย เชน ชําเลืองตา จับหรือยึดบาง
อยางแนน หรือกัดริมฝปาก หรือมีปฏิกิรยิ าทางรางกายอื่นๆ บางอยาง
6. นักเรียนอานดวยความพยายาม

7. นักเรียนอานคลองในลักษณะกลิ๊บ เหมือนหุนยนตที่ไมมีความคิด (ซึ่งเปนอาการที่เกิดขึ้น


หลังจากที่เขาถูกบังคับใหอาน "อยางถูกตอง" โดยใครบางคนซึ่งไมรอู ะไรเลยเกี่ยวกับคําศัพททไี่ ม
เขาใจ)
อาการอื่นๆ นอกเหนือจากนี้ก็สามารถเกิดขึ้นไดเชนกัน

ที่กลาวมานี้ยังไมใชรายการทั้งหมดของปฏิกิริยาตางๆ ที่อาจเกิดขึ้น แตมีจุดประสงคเพื่อให


มองเห็นภาพเกี่ยวกับลักษณะอาการที่ตองคอยสังเกต หากกลาวกันอยางเปนธรรมแลว บุคคล
หนึ่งอาจจะอานตะกุกตะกักได ถาเขาพยายามอานในทีท่ มี่ ีแสงสวางไมเพียงพอ หรือถาเขามีปญ  หา
เรื่องสายตา หรือตัวพิมพ หรือลายมือ หรือรอยแกที่เขียนไวดวยดินสอนั้นยากที่จะเขาใจ ดังนัน้ จึง
จําเปนทีจ่ ะตองทําการเคลียรคําศัพทดวยวิธีอา นออกเสียงในทีท่ ี่มีแสงสวางเพียงพอเทานั้น และถา
คนๆ นั้นมีปญหาดานสายตา ก็ควรใหเขาสวมแวนสายตา หนังสือที่จะใชทําการเคลียรคําศัพท
ก็ตองไมมีรอยเปอ นและขีดฆา จะตองขจัดทุกๆ สาเหตุที่เปนไปไดทจี่ ะทําใหเขาไมสามารถมองเห็น
เนื้ อหาและทําให เนื้ อหาไม ชัดเจน ไม เ ช นนั้ นแล วนั กเรียนก็ จะอ างว าเขาไม สามารถมองเห็ น
ตั วหนังสือได แสงสวางไมเพียงพอ หรือเหตุผลที่ไมถูกตองอื่นๆ อีก

ทุกๆ ครั้งที่บุคคลนั้นอานผิดหรือแสดงปฏิกิริยาที่ไมพึงประสงคบางอยาง เราจะพบคําศัพทที่


เขาไมเขาใจกอนหนาจุดนั้นเสมอ หรือบางครัง้ บางคราวก็ตรงคําศัพทคํานัน้ เอง

ตัวอยางเชน นักเรียนกําลังอานออกเสียง เขาอานวา "เรมอนดเดินกลับบานไปอยางเชื่องชา


ดวยทาทีครุนคิด" แลวขมวดคิ้ว เวิรดเคลียเรอร จึงบอกใหเขาหยุดโดยพูดวา "พอกอน" แลวถาม
วา "มีคําศัพทหรือเครื่องหมายที่คุณไมเขาใจตรงจุดนั้นไหม" (ถานักเรียนสงสัยวาทําไมจึงบอกให
เขาหยุด ใหเวิรด เคลียเรอรบอกเขาถึงปฏิกิริยาที่เวิรดเคลียเรอรสังเกตเห็น)

นักเรียนจะตรวจดูสว นที่เขาไดอานไปแลว เขารูสกึ ไมแนใจเกี่ยวกับคําวา "เชื่องชา" เขาจึงบอก


กับเวิรดเคลียรเรอรวาไมเขาใจคําๆ นี้ แลวคนหาความหมายของคําวา "เชื่องชา" ในพจนานุกรม
จากนั้นก็นําคํานั้นมาแตงประโยคตางๆ จนกระทัง่ เขาเขาใจคําศัพทคํานี้อยางถองแท

เมื่อพบคําศัพทที่ไมเขาใจและทําความเขาใจเรียบรอยแลว นักเรียนจะรูสกึ สดใสขึ้นและจะเริ่ม


อานไดอยางชัดเจนและถูกตองอีกครั้งหนึ่ง

30
วิธีปฏิบัติ
1. นักเรียนและเวิรดเคลียเรอรนั่งหันหนาเขาหากัน
ใหนักเรียนและเวิรดเคลียเรอรนั่งหันหนาเขาหากันที่โตะตัวหนึ่ง แตละคนจะมีหนังสือของ
ตนเองที่ จะใชในการเคลียรคําศั พท เวิ รดเคลียเรอรจะตองสามารถมองเห็นนักเรียนและหนา
กระดาษที่นักเรียนกําลังอานไปดวยในเวลาเดียวกัน
2. เตรียมพจนานุกรมใหพรอม
ตองเตรียมพจนานุกรมดีๆ ที่เขาใจงาย และพจนานุกรมอืน่ ๆ ที่นักเรียนอาจจําเปนตองใชเอา
ไวใหพรอม (ที่สําคัญที่สดุ อยาใชแบบที่เรียกวา "พจนานุกรมฉบับยอ" พจนานุกรมประเภทนี้แตก
ตางจากพจนานุกรมอยางงายๆ ที่อธิบายคําศัพทไวเปนอยางดี "พจนานุกรมฉบับยอ" เปนพจนา-
นุกรมที่คุณพบไดโดยทั่วไปในรูปปกออนตามชั้นหนังสือในรานขายยา "พจนานุกรมฉบับยอ" มัก
จะใหความหมายของคําศัพท "ก" วาหมายถึงคําศัพท "ข" แลวก็ใหความหมายของคําศัพท "ข" วา
หมายถึงคําศัพท "ก" นอกจากนี้ "พจนานุกรมฉบับยอ" ยังไมใหคําจํากัดความอืน่ ๆ นอกเหนือไป
จากคําจํากัดความทีใ่ ชกันโดยทั่วไป และยังไมใหคําจํากัดความทางดานเทคนิคอีกดวย)
3. นักเรียนตองรูว าคําศัพทคําใดเปนคําที่ไมเขาใจ
กอนทีน่ กั เรียนจะเริ่มอาน ควรจะบอกเขากอนวาถาเขาอานตรงสวนใดแลวไมเขาใจอยางถองแท
เขาควรจะบอกเวิรดเคลียเรอร หรือถาเขาเห็นคําศัพททเี่ ขาไมรูความหมาย เขาควรจะหยุดและคนหา
ความหมาย แลวทําความเขาใจคําศัพทนั้น แทนทีจ่ ะอานขามคําๆ นัน้ ไป ควรสนับสนุนและกระตุน
ใหนักเรียนคนหาความหมายและทําความเขาใจคําศัพทที่ไมเขาใจตางๆ ดวยตัวของเขาเอง ใน
การเคลียรคําศัพทวิธีนี้ เวิรดเคลียเรอรจะตองไมขัดขวางนักเรียนในการเคลียรคําศัพทที่นักเรียน
เห็นวาเปนคําที่เขาไมเขาใจ การเคลียรคําศัพทโดยวิธีอานออกเสียงนี้จะทําใหนักเรียนสามารถ
มองเห็นคําศัพทที่เขาไมเขาใจ เพื่อที่ วานักเรียนจะไดคนหาและทําความเขาใจคําศัพทที่เขาไม
เขาใจดวยตัวเองไดในอนาคต
4. นักเรียนอานออกเสียงใหเวิรด เคลียเรอรฟง
นักเรียนอานออกเสียงใหเวิรดเคลียเรอรฟง ขณะที่นักเรียนอาน เวิรดเคลียเรอรก็มองตาม
เนือ้ หาเดียวกันในฉบับของตน พรอมกับดูและฟงสิง่ ทีน่ ักเรียนอานไปดวย
เวิรดเคลียเรอรจะตองตื่นตัวอยางมาก และฟงหรือมองดูทุกๆ ปฏิกิริยาที่ไมพึงประสงคของ
นักเรียนในขณะที่เขากําลังอาน
5. ปฏิกิริยาทีไ่ มพึงประสงคแสดงถึงคําศัพทที่ไมเขาใจ
ปฏิกิรยิ าทีไ่ มพงึ ประสงคของนักเรียนที่มตี อสิง่ ที่เขากําลังอาน เปนสัญญาณบอกเวิรดเคลียเรอร
วานักเรียนไดพบกับคําศัพทที่ไมเขาใจเขาแลว เมื่อเปนเชนนั้น เวิรดเคลียเรอรและนักเรียนจะตอง

31
คนหาใหแนชัดวาคําศัพทหรือเครือ่ งหมายใดที่ไมเปนที่เขาใจ ซึ่งจะหาพบไดกอนหนาหรือบางครั้ง
ก็ตรงจุดที่เกิดปฏิกิรยิ าที่ไมเหมาะสมนั้น
6. คนหาคําศัพททไี่ มเขาใจ
หากนักเรียนไมรูตวั วาเขาแสดงปฏิกิรยิ าบางอยางออกมาและยังคงอานตอไป ใหเวิรด เคลียเรอร
พูดวา "พอกอน มีคําศัพทหรือเครื่องหมายที่คุณไมเขาใจตรงจุดนั้นไหม" เวิรดเคลียเรอรมีหนาที่
ชี้แนะใหนักเรียนเห็นถึงความไมเขาใจนั้น คําศัพทที่ไมเขาใจจะอยูตรงจุดที่เกิดปฏิกิริยาที่ไมพึง
ประสงคหรือไมก็กอนหนานั้น ประเด็นสําคัญก็คือ นักเรียนจะตองไดรับการชี้แนะไปที่คําศัพทที่
เขาไมเขาใจ เพื่อที่จากนั้นจะไดทําการคนหาความหมายตอไป
นักเรียนอาจจะชี้คําศัพทที่ไมเขาใจไดทันที และบอกเวิรดเคลียเรอรไดวาคําไหน หรือนักเรียน
อาจมีปญหาในการคนหาคําศัพทที่เขาไมเขาใจ และถาเปนเชนนั้นเวิรดเคลียเรอรก็จะตองชวย
เขาคนหา
เวิ รดเคลียเรอรจะชวยนักเรียนโดยการใหเขาย อนกลับไปดูเนื้อหาก อนหนานั้นขึ้นไปเรื่อยๆ
จากจุดที่เขาเกิดปฏิกิริยาไปจนกระทั่งคนพบคําศัพทที่เขาไมเขาใจ นอกจากนี้ เวิรดเคลียเรอร
ยังสามารถทดสอบนักเรียนดวยการสปอตเช็ค (spot - checking) ซึ่งหมายถึงการสุม เลือกคําศัพท
ตางๆ จากเนื้อหาที่นักเรียนไดอานไปแลว และตรวจสอบวานักเรียนรูคําจํากัดความของคําศัพท
เหลานั้นหรือไม เวิรดเคลียเรอรจะเลือกคําศัพทที่อยู กอนหนานั้น แลวถามวา "คําจํากัดความ
ของคําวา __________คืออะไร"
ถานักเรียนไมแนใจเกี่ยวกับคําศัพทใดก็ตามหรือใหคําจํากัดความของคําใดผิด นักเรียนจะ
ตองหาคําจํากัดความและทําความเขาใจคําศัพทคํานั้นในพจนานุกรม
7. การเคลียรคําศัพท
เมื่ อพบคําศัพทที่ไมเขาใจแลว จะตองเคลียรความหมายของคําศัพทนั้นในพจนานุกรมจน
เขาใจกระจางชัด โดยใชวิธีการตาม "ขั้นตอนการเคลียรคําศัพท" ที่อธิบายไวในหนา 18
8. อานประโยคเดิมอีกครัง้ หนึ่ง
จากนั้นเวิรดเคลียเรอรจะบอกใหนักเรียนอานเนื้อหาตรงประโยคที่มีคําศัพทและเครื่องหมาย
ที่ไมเขาใจนั้นอีกครั้งหนึ่ง นักเรียนจะทําตามนั้น และถาเขาอานประโยคนั้นไดอยางถูกตองดวย
ความเขาใจแลว ก็ใหเขาอานเนือ้ หาตอไปเรื่อยๆ ปฏิกิริยาที่ไมพึงประสงคอื่นใดอีกก็ตามทีเ่ กิดขึน้
ใหจัดการโดยการคนหาคําศัพทที่ไมเขาใจคําตอไป และทําการเคลียรคําศัพทคํานั้นดังเชนที่กลาว
ขางตน
9. อานออกเสียงตอไปจนกระทั่งจบเนื้อหา
ทําการเคลียรคําศัพทโดยการอานออกเสียงตอไป จนกระทั่งจบเนือ้ หาทั้งหมดที่จะตองเคลียร
คําศัพท

32
เมื่ อมาถึงจุดนี้ นักเรียนสองคนซึ่งกําลังเคลียรคําศัพทโดยวิธีการอานออกเสียงดวยกัน จะ
สลับกัน โดยนักเรียนคนที่ไดรับการเคลียรคําศัพทเสร็จแลว จะเปลี่ยนไปเปนเวิรดเคลียเรอร
ผูท เี่ ปนนักเรียนในตอนนี้ ก็อานออกเสียงและปฏิบัติตามวิธีการอยางเดียวกันนัน้ จนจบเนื้อหา
ตอนเดียวกัน จากนั้นก็อานเนื้อหาสวนใหมที่อยูถัดไป
พวกเขาจะผลัดกันทําการเคลียรคําศัพท เช นนี้ ไปทีละสวนๆ จนกระทั่งนักเรียนทั้งสองคน
อานจบเนื้อหาทั้งหมด

สิ่งที่ควรระวังและเคล็ดลับตางๆ
บางครั้งนักเรียนที่ทําการเคลียรคําศัพทดวยกัน ก็อาจมีการทะเลาะกันหรือเกิดอารมณเสีย
ขึ้นได ถาเหตุการณเชนนี้เกิดขึ้น ขอใหรูไววาไมกรณีใดก็กรณีหนึ่งในสองกรณีนี้ไดเกิดขึ้น
1. นักเรียนถูกบังคับใหเคลียรคําศัพทที่เขาเขาใจดีแลว หรือ
2. คําศัพททไี่ มเขาใจจริงๆ ยังไมถูกคนพบ และถูกอานขามไป
คุณสามารถที่จะแกไขการหาคําศัพทผดิ คําได โดยการถามนักเรียนวาเขาถูกบังคับใหเคลียร
คําศัพทที่เขาเขาใจดีแลวหรือไม หากเปนเชนนั้นเขาจะแจมใสขึ้นและบอกคุณวาคําหรือคําตางๆ
คำใดบางที่เขาถูกบังคับใหเคลียร เมื่อทําดังนี้เรียบรอยแลวก็สามารถดําเนินการเคลียรคําศัพท
ตอไปได
หากทําตามที่กลาวมาขางตนแลวแตยังไมดี ขึ้ น เรารู ไดเลยว านักเรียนไดขามคําศั พทที่ ไม
เขาใจไป ใหเวิรดเคลียเรอรนาํ นักเรียนกลับไปยังจุดทายสุดที่ เขาเขาใจได ดี แลวก็ใหเขาอาน
เนื้อหาจากจุดนั้นเรื่อยไป โดยทําตามวิธีของการเคลียรคําศัพทดวยการอานออกเสียง คนหาคํา
ศัพทที่ไมเขาใจที่ไดถูกมองขามหรือละเลยไป โดยปกติแลวจะพบวานักเรียนไดขามคําศัพทที่ไม
เขาใจไปหลายคํา ไมใชเพียงคําเดียว
ผลลัพธสดุ ทายของการเคลียรคําศัพทดวยการอานออกเสียงที่ทําอยางถูกตองเหมาะสมก็คือ
นักเรียนที่แนใจวาเขาไมมีคําศัพทที่ไมเขาใจในเนื้อหานั้น ดังนั้นเขาจึงสามารถเรียนหนังสือเลม
นั้นไดอยางงายดายและนําความรูไปประยุกตใชได
การเคลียรคําศัพทดวยการอานออกเสียงเปนสิง่ สําคัญทีจ่ ะชวยดํารงไวซงึ่ อารยธรรมความเจริญ
เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะตองทําการเคลียรคําศัพทดวยการอานออกเสียงอยางถูกตองตรง
ตามคําอธิบายในหนังสือ ไมเชนนั้นแลวเราก็จะไมไดรับวิน (ประโยชน) อยางมหาศาลที่ควรจะ
ไดจากมัน

33
การเคลียรคําศัพทดวยการอานออกเสียงแบบพิเศษ
เมื่อใดก็ตามที่เรากําลังชวยเด็กๆ ผูที่ใชภาษาตางประเทศ หรือผูที่อานหรือเขียนไดนอย เรา
สามารถใช "วิธีการเคลียรคําศัพทดวยการอานออกเสียงแบบพิเศษ"
เชนเดียวกันกับ "วิธีการเคลียรคําศัพทดวยการอานออกเสียง" ในวิธีนี้ก็จะตองใหนักเรียน
อานออกเสียงเพื่อคนหาวาตรงไหนที่เขาไมเขาใจ
วิธีการนี้เปนวิธีการที่งายมากๆ
เวิ รดเคลียเรอรจะตองมีเนื้อหาชุดเดียวกันกับที่นักเรียนกําลังอาน และขณะที่นักเรียนอาน
ใหเวิรดเคลียเรอรดูเนื้อหานั้นตามไปดวย
เราจะสังเกตเห็นสิ่งที่นาประหลาดใจไดหลายอยางทีเดียว
บุคคลนั้นอาจจะอานเวนคําภาษาอังกฤษคํา
วา "is" ทุกครั้งที่คําวา "is" ปรากฏ เขาจะอาน
ขามคําวา "is" ไปเสียเฉยๆ อาจเปนเพราะเขามี
ความหมายแปลกๆ สําหรับคําๆ นี้ เชน คิดวา "is"
แปลวา "Israel" (เรื่องนี้เกิดขึ้นจริงๆ)
เขาอาจจะไมอานคําวา "didn't" ทุกครั้งที่มี
คํานี้อยู ซึ่งอาจเปนผลมาจากการที่ไมรูวาเครื่อง-
หมาย "apostrophe" (เครื่องหมายยอ [']) นัน้ คือ
อะไร (เรื่องนี้เกิดขึ้นจริงๆ)
เขาอาจจะอานคําหนึ่งไปเปนอีกคําหนึ่งไปเลย
เชนอาน "หยุด" เปน "เกิดขึ้น" หรืออาน "เขียว"
เปน "หมาย"
หรือเขาอาจจะลังเลในคําบางคํา
ในการเคลียรคําศัพท ขั้นตอนในการเคลียรคําศัพทวิธีนี้คือ
แบบพิเศษนัน้ ผูรบั 1. ใหเขาอานออกเสียง
การเคลียรจะอาน 2. ใหสังเกตการละคํา หรือการเปลี่ยนแปลงคํา หรืออาการลังเลไมแนใจ หรือขมวดคิ้วใน
ออกเสียง และแตละ ขณะที่เขาอาน แลวใหจัดการกับอาการนั้นๆ ทันที
ครัง้ ที่เขาลังเลหรือมี 3. แกไขใหถูกตอง โดยการคนหาความหมายของคําๆ นั้นในพจนานุกรมใหเขา หรืออธิบาย
ปฏิกริ ิยาทางรางกาย ความหมายใหเขาฟง
หรือเปลี่ยนแปลงคํา- 4. จากนั้นใหเขาอานตอ โดยสังเกตการละคํา การเปลี่ยนแปลงคํา อาการลังเล หรือขมวดคิ้ว
ศัพท เวิรด เคลียเรอร 5. ใหทําขอ 2 - 4 ซ้ํา
จะชวยเขาหา และ การทําเชนนี้จะชวยใหคนๆ หนึ่งอานและเขียนไดมากขึ้น
บอกคําจํากัดความ ขั้นตอนตอไปของเขาก็คือ การเรียนรูวิธีการใชพจนานุกรมและการคนหาคําศัพท
ของคําศัพทที่เขา จากนั้นก็ใหศึกษาตําราไวยากรณงายๆ
ไมเขาใจ การเคลียรคําศัพทวิธีนี้ สามารถชวยนักเรียนที่หัวชามากๆ ใหพัฒนาขึ้นมาอยูในระดับที่อาน
ออกเขียนได

34
การประยุกตใชเทคโนโลยี
เพื่อการศึกษา
(APPLYING THE
TECHNOLOGY OF STUDY)
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา คือสะพานที่จะกาวไปสูก ารศึกษา ซึ่งจะยังประโยชนใหกับนักเรียน
ไปอีกยาวนาน แมเขาจะจบจากชั้นเรียนไปแลว
ความแตกตางระหวางนักเรียนที่ "สมองไว" กับนักเรียนที่ "สมองทึบ" หรือนักเรียนที่เรียนได
เร็วมากๆ กับนักเรียนที่เรียนไดชามากๆ แทจริงแลวก็เปนเพียงความแตกตางระหวางนักเรียนที่มี
ความรอบคอบ และ นักเรียนที่ไมมีความรอบคอบเทานั้น
นักเรียนทีร่ อบคอบจะนําเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไปประยุกตใช เขาจะศึกษาดวยความตั้งใจ
ที่จะเรียนรูบางสิง่ เขาจะจัดการแกไขอุปสรรคตอการศึกษาประการตางๆ ซึ่งเกิดขึ้นในขณะที่เขา
กําลังอานตําราเรียน ถาเขากําลังอานหนังสือยอหนาหนึ่งอยู แลวทันใดนั้นก็ตระหนักไดวาเขาไม
เขาใจสิง่ ที่เขากําลังอาน เขาจะยอนกลับไปแลวคนหาวาตรงไหนที่เขาสับสน ทีจ่ ุดกอนหนานั้นจะ
ตองมีคําที่เขาไมเขาใจอยู ถาเขาเปนนักเรียนที่รอบคอบ เขาจะไมอานตอไปจนกวาเขาจะคนพบ
วาคําศัพทคําไหนที่เขาไมเขาใจ และคําๆ นั้นหมายความวาอะไร
นั่นคือนักเรียนที่รอบคอบ และความเฉลียวฉลาดของเขาในวิชาที่เรียนก็ขึ้นอยูกับระดับมาก
นอยที่เขานําเทคโนโลยีนี้ไปประยุกตใช ไมไดขึ้นอยูกับความสามารถพิเศษที่ติดตัวมาแตกําเนิด
หรือสิง่ อื่นใดเลย สิง่ ทีส่ รางความแตกตางคือความรูค วามเขาใจของเขาเกี่ยวกับวิธกี ารศึกษานั่นเอง
หนังสือเลมนี้เปนเพียงสวนเล็กๆ ของเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ซึ่งเปนวิชาที่ครอบคลุมเนือ้ หา
อยางกวางขวาง แตด วยสิ่งที่คุ ณได อานจากหนังสือเลมนี้ คุณจะได เครื่ องมื อที่ นําไปใชเรียนรู
ทุกสิ่งไดอยางประสบความสําเร็จมากขึน้ และชวยผูอ ื่นใหบรรลุผลไดเชนเดียวกันกับคุณ ■

35
แบบฝกหัดภาคปฏิบตั ิ (PRACTICAL EXERCISES)
สวนนี้เปนแบบฝกหัดใหคุณลองทํา เพื่อเพิ่มความสามารถในการประยุกตใชเทคโน-
โลยีเพื่อการศึกษา แบบฝกหัดเหลานี้จะชวยใหคุณเชี่ยวชาญในการเรียนดวยตัวคุณเอง
และในการชวยคนอื่นๆ ในทุกๆ เรื่องที่พวกเขากําลังพยายามเรียนรู

1 คิทัศดนคติ
ถึ งใครบางคนที่ คุ ณเคยพบหรือรู จัก ที่ รู สึกว าเขารู ทุกอย างเกี่ ยวกั บวิ ชาบางวิ ชาแลว
แบบนี้จะมีผลกระทบกับความสามารถของเขาในการเรียนสิง่ ใหมๆ เกี่ยวกับวิชานั้น
อยางไรบาง

2 คุก.ณเพืจะจั่อนคนหนึ
ดการกับสถานการณเหลานี้อยางไร
่งกําลังเรียนเกี่ยวกับตนไมชนิดตางๆ แตไมรูเลยวาตนไมเหลานั้นมีลกั ษณะ
เปนอยางไร ไมมีตนไมจริงๆ ใหเขาดูในบริเวณใกลๆ คุณจะชวยเขาไดอยางไร
ข. ในการเรียนวิธวี ายน้ํ า เพือ่ นคนหนึง่ เพิง่ เรียนการลอยตัวในน้ําไดไมนาน และขณะนีก้ ็กําลัง
ไดรบั การสอนใหวายขามสระ แตเขากําลังมีปญหาอยางมากกับการวายขามสระ คุณจะชวย
เขาไดอยางไร
ค. เพื่ อนคนหนึ่ งไดลงเรียนหลักสูตรเกี่ ยวกั บวิ ธีการบริหารเงินของเขาเอง แต ขณะนี้ เขา
ตัดสินใจวาเขาไมตองการที่จะเรียนหรือกลับเขาไปในชั้นเรียนอีก คุณจะจัดการกับเรื่องนี้
อยางไร

3 คํใหานศัึกพถึทงนหรืั้นโดยใช
อหาคําศัพทคําหนึ่งที่คุณรูวาคุณไมเขาใจหรือไมแนใจในความหมาย แลวเคลียร
พจนานุกรม

4 ยคำศัอนกลัพทบทไปในส วนของ "อุปสรรคประการตางๆ ตอการศึกษา" แลวมองหาและทําการเคลียร


ุกคําที่คุณไมเขาใจอยางถองแท รวมทั้งอานเนื้อหาในสวนนั้นๆ ใหมอีกครั้งตลอด
การเคลียรคําศัพทดังกลาว

5 ทํา “การเคลียรคําศัพทขั้นพืน้ ฐาน” กับตัวคุณเอง


6 ทํา “การเคลียรคําศัพทขั้นพืน้ ฐาน” กับใครสักคนหนึ่ง
36
7 เพืฝกอ่ หัทํดาการเคลี ยรคําศัพทโดยวิธีการอานออกเสียง ใหหานักเรียนอีกคนหรือเพื่อนสักคนหนึ่ง
การฝกนี้กับคุณ ใหคนหนึง่ เปนนักเรียน ก และอีกคนหนึง่ เปนนักเรียน ข เลือกวา
ใครจะเปนนักเรียน ก และใครจะเปนนักเรียน ข

ก. นักเรียน ก (เปนเวิรดเคลียเรอร) ทําการเคลียรคําศัพทในยอหนาตอไปนี้ใหกับนักเรียน ข


โดยใชวิธีอานออกเสียง ใหใชพจนานุกรมทีเ่ ขาใจงาย

สุนขั จิ้งจอกสีน้ําตาลทีว่ องไวกระโดดขามเจาสุนัขจอมขี้เกียจ ซึ่งมีหนาทีด่ ูแลไกแตกลับเผลอ


หลับไป สุนัขจิ้งจอกยองเขาไปในเลาไกโดยไมมีใครสังเกตเห็น

ข. นักเรียน ข (เปนเวิรดเคลียเรอร) ทําการเคลียรคําศัพทในยอหนาตอไปนี้ใหกับนักเรียน ก


โดยใชวิธีอานออกเสียง ใหใชพจนานุกรมทีเ่ ขาใจงาย

สุนขั จิ้งจอกสีน้ําตาลทีว่ องไวกระโดดขามเจาสุนัขจอมขี้เกียจ ซึ่งมีหนาทีด่ ูแลไกแตกลับเผลอ


หลับไป สุนัขจิ้งจอกยองเขาไปในเลาไกโดยไมมีใครสังเกตเห็น

ทันทีที่พวกไกเห็นสุนัขจิ้งจอก ไกทุกตัวก็พากันสงเสียงรองแตกตื่น สุนัขจิ้งจอกจึงเคลือ่ นตัว


อยางรวดเร็วและควาคอของไกตัวที่อยูใกลที่สุด กอนหลบออกจากเลาไป

ค.นักเรียน ก (เปนเวิรดเคลียเรอร) ทําการเคลียรคําศัพทในยอหนาตอไปนี้ใหกับนักเรียน ข


โดยใชวิธีอานออกเสียง ใหใชพจนานุกรมที่เขาใจงาย

ทันทีที่พวกไกเห็นสุนขั จิ้งจอก ไกทุกตัวก็พากันสงเสียงรองแตกตื่น สุนัขจิ้งจอกจึงเคลื่อนตัว


อยางรวดเร็วและควาคอของไกตัวที่อยูใกลที่สุด กอนหลบออกจากเลาไป

เมื่อไดยินเสียงเอะอะ ภรรยาของชาวนาก็รบี วิ่งออกมาจากบานดวยความสงสัยวาเกิดอะไรขึ้น


กับไกของเธอ เธอทันไดเห็นสุนัขจิ้งจอกหายเขาไปในชายปาบริเวณนั้นพรอมกับไกของเธอ

ง. นักเรียน ข (เปนเวิรดเคลียเรอร) ทําการเคลียรคําศัพทในยอหนาตอไปนี้ใหกับนักเรียน ก


โดยใชวิธีอานออกเสียง ใหใชพจนานุกรมที่เขาใจงาย

37
เมื่อไดยินเสียงเอะอะ ภรรยาของชาวนาก็รบี วิ่งออกมาจากบานดวยความสงสัยวาเกิดอะไรขึ้น
กับไกของเธอ เธอทันไดเห็นสุนัขจิ้งจอกหายเขาไปในชายปาบริเวณนั้นพรอมกับไกของเธอ
เธอรองลัน่ และมองไปโดยรอบเพื่อหาเจาสุนัข ผูม ีหนาที่หลักในการปองกันไมใหเรื่องแบบนี้
เกิดขึ้น เจาสุนัขทาทางละอายใจอยูไมนอย ภรรยาชาวนาดุดาเจาสุนัขอยางรุนแรงนานสอง
ถึงสามนาทีเกี่ยวกับพฤติกรรมทีเ่ ฉือ่ ยชาของมัน

จ.นักเรียน ก (เปนเวิรดเคลียเรอร) ทําการเคลียรคําศัพทในยอหนาตอไปนี้ใหกับนักเรียน ข


โดยใชวิธีอานออกเสียง ใหใชพจนานุกรมที่เขาใจงาย
เธอรองลัน่ และมองไปโดยรอบเพื่อหาเจาสุนัข ผูม ีหนาที่หลักในการปองกันไมใหเรื่องแบบนี้
เกิดขึ้น เจาสุนัขทาทางละอายใจอยูไมนอย ภรรยาชาวนาดุดาเจาสุนัขอยางรุนแรงนานสอง
ถึงสามนาทีเกี่ยวกับพฤติกรรมทีเ่ ฉือ่ ยชาของมัน

8 เคลีหาใครสัยรคํากศัคนทีพทด่นวายวิจะไดธีอราับนออกเสี
ประโยชนจากการเคลียรคําศัพทดวยวิธีอานออกเสียง และทําการ
ยงใหกับเขาจนไดผลเปนทีน่ าพอใจ

38
ผลที่ ไดรับจากการนําไปประยุกตใช
ค วามสําเร็จของเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาซึ่ง
ใชกนั อยูอ ยางแพรหลายตัง้ แตในมหาวิทยาลัย พัฒนาการใน
ของสหรัฐฯไปจนถึงโรงเรียนในเขตชุมชนคน ระดับของการอาน
ผิวดําทีแ่ อฟริกาใต ไดปรากฏใหเห็นอยูเ นืองๆ โปรแกรมการสอนกลุมเล็กๆ 40 ชั่วโมง
80%
สําหรับนักเรียนในกรุงวอชิงตัน ดี ซี โดย
โปรแกรมแลวโปรแกรมเลา ใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา แสดงใหเห็น ระดับการอาน

ใ นแอลาบามา รัฐชนบทของสหรัฐอเมริกา เด็ก


อายุระหวาง8-16ป ไดเขารวมโปรแกรมเทคโนโลยี
ถึงระดับการอานที่เพิม่ สูงขึ้นอยางฉับพลัน เทากับหรือสูงกวา
ชัน้ ปที่กําลังเรียน
48%
เพื่ อการศึกษา รวมระยะเวลาทั้ งสิ้ นเจ็ ดสัปดาห ระดับการอาน
โดยมีวั ตถุป ระสงคเพื่ อเพิ่ มจํานวนคําศัพท และ เทากับหรือสูงกวา
ชัน้ ปทกี่ ําลังเรียน
ความเขาใจในการอาน ผลของการทดสอบมาตร-
ฐานกอนและหลังโปรแกรมแสดงใหเห็ นวา โดย
เฉลี่ยแลวเด็กแตละคนมีความเขาใจคําศัพทและ
การอานเพิ่มมากขึ้นเทากับการเรียนปกติถึงแปด
กอน หลัง
เดือน เด็กชายอายุ 14 ปคนหนึ่งไดพฒ ั นาจากความ
สามารถในระดับชั้นประถมปที่สอง ไปอยูในระดับ
ชั้นประถมปที่หกในเวลาหาสัปดาหครึ่งระหวางที่ ป ระโยชนตา งๆที่ไดรับจากโปรแกรม Education
Alive ที่จดั ขึน้ ในทางตอนใตของทวีปแอฟริกาไดรบั
อยูในโปรแกรมนี้ ความสําเร็จในระดับนี้แทบจะ
ไมเคยปรากฎมากอนเลย การยืนยันจากการศึกษาหลายๆครัง้ ในเมืองบูลา-

ที่ กรุงลอนดอน เด็กนักเรียนกลุมหนึ่งไดเขาเรียน


หลักสูตรสัน้ ๆเกีย่ วกับเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ซึง่
วาโย ประเทศซิมบับเว และเมืองแทรนสวัล ประเทศ
แอฟริกาใต การศึกษาครั้งหนึ่งไดแสดงใหเห็นถึง
พัฒนาการดานความสามารถในการอานที่เพิ่มสูง
ประกอบดวยการสอนทั้งหมดประมาณเกาชั่วโมง ขึ้น 1.2ป ในชวงสามสัปดาหของการเขารวมโปร-
ในระยะเวลาสิบสองวัน ขณะที่กลุม เปรียบเทียบอีก แกรม อีกโปรแกรมหนึ่งซึ่งใชเวลาทั้งสิ้นสี่สัปดาห
กลุมหนึ่งไมไดรับการสอนในเรื่องของเทคโนโลยี ไดแสดงถึงพัฒนาการดานความสามารถในการอาน
เพื่อการศึกษาเลย ทั้งสองกลุมดําเนินการเรียนไป ที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลีย่ 1.8ป โปรแกรมสามสัปดาหอีก
ตามปกติและไดรับการทดสอบทั้ งกอนและหลัง โปรแกรมหนึ่งในเมืองแทรนสเก ถิ่นอาศัยของคน
โปรแกรม ผลปรากฏวาความสามารถในการอาน ผิวดําในประเทศแอฟริกาใต ก็แสดงใหเห็นถึงการ
ของกลุมทดลองไดเพิ่มสูงขึ้นอยางนาอัศจรรยถึง พัฒนาขึน้ โดยเฉลี่ย 2.3ป และโปรแกรมที่จัดขึน้ ใน
1.29ปโดยเฉลีย่ หลังจากระยะเวลาเพียงสิบสองวัน โรงเรียนมัธยมระดับลางแหงหนึ่งยังสงผลใหนักเรียน
ของการสอน ในขณะที่กลุมเปรียบเทียบแทบจะไม สอบผานขอสอบระดับมัธยมศึกษาของกระทรวง
แสดงใหเห็นถึงความแตกตางใดๆเลย(ลดลง0.03) ศึกษาธิการของประเทศไดสูงถึง 91% ในขณะที่
ในการทดสอบครั้งที่สอง ผลลัพธที่นาประทับใจนี้ กลุม เปรียบเทียบสอบผานเพียง27% สําหรับประ-
เปนเครื่องพิสูจนตวั มันเองอยูแ ลว เทศแอฟริกาใต ซึ่งมีประชากร 50เปอรเซ็นตหรือ

39
ครึง่ หนึ่งที่ไมรหู นังสือนั้น นับวาโปรแกรมนี้ไดชวย ใหเขากับคนอืน่ ๆ ได ดวยการแนะนําและคําปรึกษา
ใหการพัฒนาในเรือ่ งที่จําเปนอยางยิง่ ของประเทศ ที่ไดรับ เราจึงไดเรียนรูว ิธีที่จะชวยริชารดใหกลาย
เปนจริงขึน้ มาได เปนคนใหมที่ดีขนึ้ ได ที่สําคัญไปกวานั้นก็คอื คุณ
ล องเปรียบเทียบผลลัพธในเชิงบวกเหลานี้กบั สิ่ง
ที่กําลังเกิดขึ้นโดยทั่วไปในระบบการศึกษาตางๆ
ไดจุดประกายความสนใจของเขาขึ้นมาใหม เขา
ไดรับทักษะขั้นพื้นฐานในการศึกษาซึ่งเขาไมเคย
ของโรงเรียนทั่วโลก เชน โรงเรียนมัธยมศึกษาใจ ไดรบั ตลอดชวงสองปที่ศกึ ษาอยูใ นโรงเรียนของรัฐ
กลางเมืองบางแหงของประเทศสหรัฐอเมริกามีอัตรา หลายๆ แห ง เปน ครั้งแรกในรอบสองปที่ ริชารด
การเลิกเรียนกลางคันถึงเกือบ 50% ขณะที่ 42% ตองการไปโรงเรียนทุกๆ วัน! เขากระตือรือรนทีจ่ ะ
ของผูที่ถกู สํารวจในประเทศอังกฤษไมสามารถคิด อานหนังสือตางๆ เอง เขาเริม่ สนใจในหลากหลาย
รวมราคาแฮมเบอรเกอร มันฝรัง่ ทอดพายแอปเปล วิชารวมทั้งวิชาวิทยาศาสตรและภูมิศาสตร ตัง้ แต
และกาแฟได และนักเรียน700,000 คนที่ สําเร็จ ทีญ่ าติสองคนของเขาสําเร็จการศึกษาจากโรงเรียน
การศึกษาจากโรงเรียนมัธยมในสหรัฐอเมริกาเมื่อ มัธยมที่มีชื่อเสียงแหงหนึ่ง ริชารดก็ใฝฝนที่จะเขา
ปที่ผานมาไมมคี วามรูพอที่จะอานใบประกาศนีย- เรียนในโรงเรียนแหงนัน้ เชนกัน หลังจากทีร่ ชิ ารดได
บัตรของตนเอง เบือ้ งหลังตัวเลขเหลานีย้ งั มีเรือ่ งราว เรียนรูเกีย่ วกับเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแลว เขาก็
มากมายเกี่ยวกับความผิดหวังของบุคคล ความฝน ไดรับการตอบรับใหเขาเรียนในโรงเรียนแหงนี้ เรา
ที่พังทลาย คุณภาพงานที่ต่ํ า อาชญากรรมที่เพิ่ม ขอขอบคุณจากใจจริงสําหรับการชวยริชารดใหไป
สูงขึน้ และอนาคตที่มืดมน ถึงยังจุดมุง หมายของเขา"
เ รื่องราวของคนตอไปนีแ้ ตกตางกันออกไป โชคดี
ที่คนเหลานีจ้ ากหลายๆ แหงทั่วโลกคนพบเกีย่ วกับ
ค วามวิตกกังวลจนสับสนวุนวายใจทําใหคณ ุ แม
ชาวลอนดอนคนหนึ่งพยายามเสาะหาความชวย
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและนําความรูนี้ไปประยุกต เหลือใหกับลูกชายวัยสิบขวบของเธอซึ่งมีปญหา
ใช และไดเปลีย่ นแปลงชีวติ ของพวกเขาและคนอืน่ ๆ อยางหนักที่โรงเรียนและไมมสี มาธิในการเรียน ครู
ไปในทางที่ดีขึ้น ทีโ่ รงเรียนตองการใหเขากินยา แตแทนที่จะปลอย
ใ นเมืองสปริงฟลด รัฐเวอรจเิ นีย สามีภรรยาคูห นึง่
รูสึกทุกขใจเกี่ยวกับความลมเหลวในการเรียนของ
ใหเปนเชนนั้นแมของเขาไดพบโปรแกรมสอนพิเศษ
ทีใ่ ชเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา หลังจากทีเ่ ด็กชายได
ลูกชายและปญหาที่เขามีกบั ทางบาน หลังจากได เขาโปรแกรมนี้ไมนานนัก ครูสอนพิเศษของเขาก็
รับการแนะนําใหรูจักกับเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ไดเขียนไวดังนี้
และใหลูกชายเขาศึกษาในโรงเรียนซึง่ ใชเทคโนโลยี "ในวันเสารแรกของการเขาเรียนตามโปรแกรม
นี้ พวกเขาไดเขียนจดหมายที่มขี อความดังนี้ เด็กชายไดใชเวลาสามชั่วโมงในการเรียนรูหลักการ
"กอนที่ริชารดจะเริ่มเรียนที่โรงเรียนของคุณ พืน้ ฐานตางๆ ของเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา ในชวง
ดวยเหตุทเี่ ขาไมสามารถตอบสนองวิธกี ารสอนของ สัปดาหตอ มา แมของเด็กชายไดโทรศัพทมาหาฉัน
โรงเรียนรัฐบาลหลายแหงในกรุงวอชิงตัน ดี ซี ได เนื่องจากเธอสังเกตเห็นการพัฒนาอยางฉับพลัน
เขาจึงตกอยูใ นสภาพทีท่ อ แทและไมสามารถปรับตัว และแทบไมเชื่อในความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ กับ

40
ลูกชายของเธอเลย เด็กชายทําการบานไดโดยไมมี ไดอยางปกติและกลายเปนเด็กที่ มีความเชื่อมั่น
ปญหาอะไรเลย วันเสารตอมาเด็กชายกลั บเขา และมีความสุข เด็กดีผจู ะทําประโยชนใหกบั โลกได
เรียนตามโปรแกรมอีกครั้งและเรียนรูมากขึ้นเกี่ยว มากมายอยางไมตอ งสงสัย และเปนประโยชนที่เธอ
กับวิธกี ารเรียน สองสามวันหลังจากนัน้ แมของเด็ก จะไมมโี อกาสไดทําเลยถาหากไมไดวิธีการเรียนรู
ชายบอกกับฉันวาเธอไดรบั โทรศัพทจากบรรดาครู ของมิสเตอรฮับบารดและโรงเรียนมหัศจรรยซงึ่ คุณ
ทีโ่ รงเรียนของลูกชายซึง่ สงสัยวาเกิดอะไรขึน้ กับเขา ไดรวมกันสรางขึ้นมา! ขอบคุณทุกๆ คุณสําหรับ
พวกเขาสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงอยางมากนัน้ ความวิรยิ ะอุตสาหะ การชวยเหลือสนับสนุน และ
และอยากรูว าเกิดอะไรขึน้ ปญหาของเด็กคนนี้จะ วิสัยทัศนของคุณ"
ไมอาจแกไขไดดว ยยา เพราะสาเหตุที่แทจริงของ
ปญหาก็เพียงแควาไมเคยมีใครเลยที่สอนใหเขารู เ ด็กชายอายุ 7 ขวบกําลังพบกับความยากลําบาก
ในการเรียน เขาเรียนเรือ่ งเดิมซ้ําไปซ้ํามาเปนเวลา
ถึงวิธีที่จะศึกษา"
ส ามีภรรยาคูห นึง่ ในรัฐออริกอน กังวลใจเกีย่ วกับ
ลูกสาววัย 11 ปซงึ่ แทบจะอานหนังสือไมออกขณะ
เกือบหกเดือน โชคดีที่แมของเขารูจักเทคโนโลยี
เพือ่ การศึกษาและตระหนักไดวาครูของเขาไมไดพบ
และไมไดแกไขอุปสรรคตลอดจนปญหาที่แทจริงที่
เรียนอยูชั้นประถมปที่สองและแทบจะไมมีความ ลูกชายของเธอกําลังเผชิญอยู
มั่นใจในตนเองเลย หลังจากที่ ลูกสาวของเธอได
เขาเรียนในโรงเรียนซึ่งใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา "ฉันมีตารางเวลางานและหนาทีต่ า งๆ ที่ยงุ มาก
แมของเด็กหญิงก็เขียนขอความไวดงั นี้ แตฉนั ก็ใหเขานําหนังสือทีเ่ ขาเรียนกลับมาบานและ
ฉันก็พบวาปญหาที่แทจริงคืออะไร เรื่องนี้เกิดขึ้น
"ฉันปวดราวใจมากเมือ่ ลูกสาวของฉันออกมา
เมื่อ 2 เดือนกอน ผลก็คือขณะนี้เขาไดกลายเปน
จากห องสอบเพื่ อเขาเรียนโรงเรียนภาคฤดูรอน
นักเรียนตัวอยางในชั้นเรียน เขาไมใชคนที่ ทําผิด
เธอรองไหน้ําตานองหนาและรองขอแวนตาสีเขียว
ครัง้ แลวครั้งเลาหรือทําความลําบากใหกับคนอื่นๆ
ซึง่ เธอคิดวาเธอจําเปนจะตองสวมจึงจะอานหนังสือ
อีกตอไป เขารักเรียนและทํางานของเขาเสร็จตรง
ออก เธอไดคะแนนต่ํามากๆในการสอบ แตแมวา
ตามเวลา เขามาหาฉันเมื่อสองคืนกอนและสะกด
ทุกคนจะไมคอ ยมัน่ ใจนัก เธอก็ไดรบั โอกาสใหเริม่
ศัพทตางๆ ที่ เขาไดเรียนมาและไดเคลียรความ-
เรียนโปรแกรมภาคฤดูรอ น
หมายแลวใหฉันฟง ฉันรูวาเมือ่ ตอนที่อายุเทาเขา
"ณ ขณะนั้นเสนกราฟชีวิตของเธอซึ่งเคยตก ตั วฉั นเองยังอ านหนั งสือไมคอยจะออกเลย ไม
ดิ่งลงมาก็กลับพุงขึ้นและนับตั้งแตนั้ นก็ไตสูงขึ้น ตองพูดถึงวาจะสะกดคําศัพทอยาง Antarctica,
ไปเรือ่ ยๆ ขณะนี้เธอเรียนอยูที่โรงเรียนภาคฤดูรอ น nurseries, patterns, penguin, polar bear
มาเปนเวลาหลายเดือนแลว และการเปลี่ยนแปลง หรื อ iceberg ฉันตระหนักวาสิ่งที่ฉันไดทําลงไป
ที่เราไดเห็นในตัวเธอก็จัดไดวาเปนปาฏิหาริยจ ริงๆ เพื่อแกปญหาดานการเรียนของเขานี้ อาจเปนการ
"เดี๋ ยวนี้ เธออ านหนั งสื อด วยตั วของเธอเอง ชวยกอบกูอนาคตทางการศึกษาทั้ งหมดของเขา
และแทบไมอยากวางหนังสือลงเลย เธออานเขียน เลยทีเดียว"

41
อภิธานศัพท
การเคลียรคําศัพท (Word Clearing): วิธีการตางๆ เทคโนโลยี (technology): วิธีการตางๆ ที่ใชในการ
ของไซแอนโทโลยีที่ใชในการคนหาคําศัพทที่บุคคล ประยุกตใชศลิ ปะหรือวิทยาศาสตร ซึ่งตรงกันขามกับ
หนึ่งไมเขาใจหรือเขาใจผิดในวิชาที่เขาศึกษาและหาคํา องค ความรู ของวิ ทยาศาสตรห รื อศิ ลปะนั้ น เพี ยง
จํากัดความของคําศัพทเหลานั้นโดยใชพจนานุกรม อยา งเดี ยว
การสาธิตดวยดินน้าํ มัน (clay demonstration): ปลีกตัว (individuate): แยกตัวเองออกจากใครบาง
แบบจําลองที่นักเรียนทําจากดินน้ํามันเพื่อแสดงให คน กลุม ฯลฯ และถอนตัวจากการเขาไปเกี่ยวของ
เห็นถึงการกระทํา คําจํากัดความ วัตถุสิ่งของ หรือ กับสิ่งนั้น
หลั กการหนึ่ งๆ เรี ยกอีกอย างหนึ่ งวา "เคลเดโม เผชิญหนา (confront): อยู ตรงนั้ นโดยไมถอยหนี
(clay demo)" หรือหลบหลีก ความสามารถที่จะเผชิญหนาแททจี่ ริง
เกรเดียนท (gradient): วิธีการแบบคอยเปนคอยไป แลวก็คอื ความสามารถทีจ่ ะอยูต รงนั้นไดอยางสะดวก
ในการทําบางสิ่งบางอยาง โดยทําทีละขัน้ ทีละระดับ ใจและสัมผัสรับรูสิ่งตางๆ ณ ที่นั้นไดนั่นเอง
และแตละขั้นหรือแตละระดับนั้นไมยากจนเกินไป แมส (mass): วั ตถุสิ่ งของตางๆ ที่ มีอยู จริ งหรือสิ่ ง
สามารถทําใหสําเร็จไดอยางงายดาย เพื่อที่วาทายที่ ตางๆ ที่มีอยูจริงในชีวิต ซึ่งไมใชซิกนิฟแคนซ ดูคํา
สุดแลวจะสามารถทําสิ่งที่ยากและซับซอนใหสําเร็จ วา ซิกนิฟแคนซ ในอภิธานศัพทนี้ดวย
ไดงายขึ้น นอกจากนี้ คําวา เกรเดียนท ยังใชเรียก วิน (win): การพัฒนาปรับปรุงในเรื่องใดก็ตามที่ทํา
แตละลําดับขั้นที่ตองปฏิบัติในวิธีการดังกลาวดวย ไดสําเร็จตามที่ตองการ ตัวอยางของวินอาจไดแก
คําศัพททไี่ มเขาใจ (misunderstood word): คําศัพท การมีความสามารถในการสือ่ สารเพิม่ มากขึน้ มีความ
ที่ เราไม ท ราบความหมายหรื อเข า ใจความหมาย รูสึกสุขกายสุขใจเพิ่มมากขึน้ หรือมีความแนใจมาก
อยางผิดๆ ขึ้นในบางแงมุมของชีวิต
เคลียรคําศัพท (word clear): หาคําจํากัดความของ เวิรดเคลียเรอร (word clearer): ผูที่ชวยบุคคลอื่น
คําศัพทที่คนๆ หนึ่งยังไมเขาใจอยางถองแทในสิ่งที่ คนหาและเคลียรคําศัพทตา งๆ ที่คนๆ นั้นไมเขาใจ
เขากําลังศึกษาอยูโดยใชพจนานุกรม สภาวะแหงการทํา (doingness): การลงมือปฏิบัติ
ซิกนิฟแ คนซ (significance): ความหมายหรือความ หรือทํากิจกรรมบางอยาง
คิดตางๆ หรือทฤษฎีของบางสิ่งบางอยาง ซึ่งไมใช สะลึมสะลือ (dope off ): รูสึกเหนื่อย งวงนอน ความ
แมสของสิ่งนั้น ดูคําวา แมส ในอภิธานศัพทนี้ดวย คิดสับสนไมชดั เจน ราวกับถูกวางยาหรือติดยามา
ไซแอนโทโลยี (Scientology): ปรัชญาศาสนาเพื่อ อุปกรณสาธิต (demonstration kit): ชุดอุปกรณซึ่ง
การประยุกตใช แอล รอน ฮับบารดเปนผูคิดคนขึน้ ประกอบไปดวยสิ่งของเล็กๆ ชนิดตางๆ เชน จุกไม-
ไซแอนโทโลยีเปนการศึกษาและการจัดการกับจิต- กอก ฝาขวด คลิปหนีบกระดาษ ปลอกปากกา ยาง
วิ ญญาณในความสัมพันธกั บตัวมันเอง จักรวาล รัดของ เปนตน เราสามารถใชสิ่งของชิ้นเล็กๆ เหลา
ตางๆ และชีวิ ตอื่นๆ ไซแอนโทโลยีมาจากภาษา นั้ นแทนส วนตางๆ ของสิ่ งที่ เรากําลั งเรียนอยู เรา
ลาตินคําวา scio ซึ่งแปลวา "รู" และภาษากรีก logos สามารถเคลื่อนที่สงิ่ ของชิ้นเล็กๆ นั้นไปมาตามความ
ซึ่งแปลวา "คํา หรือรูปแบบภายนอกที่แสดงถึงและ เกี่ยวเนื่องสัมพันธระหวางของแตละชิ้น เพื่อที่จะได
ทําใหรูถึงความนึกคิดภายใน" ดังนั้น ไซแอนโทโลยี เห็นถึงกลไกและการกระทําตางๆ ที่เกี่ยวของกับแนว-
จึงหมายถึง "การรูวิธีที่จะรู" คิดนั้นๆ เรียกอีกอยางหนึ่งวา "เดโมคิท (demo kit)"

42
เกี่ยวกับ
แอล รอน ฮับบารด
ร อนเกิดที่ เมืองทิลเดน รัฐเนบราสกา เมื่อวั นที่
13 มีนาคม ค.ศ.1911 เสนทางในการคนพบและ
อุทิศตนเพื่อเพื่อนมนุษยเริ่มขึน้ ตั้งแตวัยเยาว รอน
บันทึกเกี่ยวกับสมัยเด็กของเขาวา “ผมอยากเห็น
ทุกคนมีความสุข และไมอาจเขาใจไดวาทําไมคน
เหลานั้นจึงไมมีความสุข” และนั่นคือความรูสึกที่
นําทางชีวิตเขาในอนาคต เมือ่ อายุ 19 ป เขาออก ไปสามารถอานและเขาใจได และกลายเปนที่นิยม
เดินทางเปนระยะทางมากกวา 250,000ไมล สํารวจ อยางมากในเวลาตอมา “ไดอะเนติกส” เปดยุคใหม
ดูวัฒนธรรมของชวา ญีป่ ุน อินเดีย และฟลิปปนส ใหกับความหวังของมนุษยชาติ และไดพารอนกาว
ค.ศ.1929 เขากลับมายังประเทศสหรัฐอเมริกา เขาสู ชวงใหมของชี วิต อย างไรก็ตาม รอนยังคง
เข าศึ กษาตามหลั กสู ตรและเรี ยนคณิ ตศาสตร สานตอการวิจยั ของเขาตอไปอีก และในขณะที่ได
วิศวกรรมศาสตร รวมทั้ งนิ วเคลียรฟสิกสซึ่งเปน มีการคนพบสิ่งตางๆ มากมาย ปลาย ค.ศ. 1951
วิชาใหม วิชาเหลานี้กลายมาเปน เครือ่ งมือสําคัญ ปรัชญาเชิงศาสนาเพือ่ การประยุกตใชไซแอนโทโลยี
สําหรับงานวิจัยอันตอเนื่อง และเพื่อที่จะหาทุนใน ก็ไดเกิดขึ้น
การวิจยั รอนจึงเริม่ งานเปนนักเขียนในตนทศวรรษ เพราะวาไซแอนโทโลยีอธิบายแงมุมทั้งหมด
1930 และไมนานหลังจากนัน้ เขาไดกลายเปนหนึง่ ของชีวิต จึงไมมสี วนใดของการดํารงอยูของมนุษย
ในบรรดานักเขียนนิยายที่มีคนอานมากที่ สุด แต ที่แอล รอน ฮับบารด ไมไดกลาวถึงในผลงานตอๆ
เขาก็ไมเคยทิ้งจุดมุงหมายสําคัญของชีวิตเขา รอน มา การอาศัยอยูใ นหลายๆ แหง ทั้งในสหรัฐอเมริกา
ยังคงทําการวิจยั ดวยการออกเดินทาง และคนควา และอังกฤษ ทําใหผลการวิจยั อยางตอเนือ่ งของเขา
มากมาย ชวยแกปญ  หาตางๆ ของสังคม อาทิเชน มาตรฐาน
เมื่อเกิดสงครามโลกครั้ งที่ สอง รอนเขาเปน การศึกษาที่เสื่อมทรามลงและการใชยาในทางที่
ทหารในกองทั พเรือของสหรัฐอเมริกา โดยดํารง ผิดอยางแพรหลาย
ตําแหนงรอยโทและเปนหัวหนาหนวยปองกันเรือ เมื่ อรวบรวมผลงานที่ แอล รอน ฮั บบาร ด
ดําน้ําขาศึก เขาตาบอดเปนบางสวนและขาพิการ สรางไวในรูปเทปบันทึกการบรรยาย หนังสือ และ
จากการไดรับการบาดเจ็บในการสูรบ เขาถูกวินิจ- บทความมากมายทางด านไซแอนโทโลยี และ
ฉัยวาเปนคนพิการตลอดชีวิตในปค.ศ.1945 แต ไดอะเนติกส ทั้งหมดบรรจุถอ ยคําไวถงึ 40 ลานคํา
ดวยการประยุกตใชทฤษฎีเกี่ยวกับจิตใจที่เขาคิด และเปนมรดกที่ชีวิตหนึ่ งทิ้งไวเบื้องหลัง เมื่อเขา
คนขึน้ ไมเพียงจะชวยเพื่อนทหารไดเทานั้น ตัวเขา จากโลกนี้ไปในวันที่ 24 มกราคม ค.ศ.1986 แต
เองก็กลับมามีสุขภาพดีดังเดิม การจากไปของแอล รอน ฮับบารด ไม ใช จุดจบ
หลังจากทุ มเทเวลาวิจัยอยางเต็มที่ อีก 5 ป เพราะมีคนอ านหนั งสือของเขากวารอยลานเลม
การคนพบของรอนก็ปรากฏแกสายตาชาวโลก ใน อยูท วั่ โลกและมีคนอีกหลายลานคนที่ใชเทคโนโลยี
หนังสือ “ไดอะเนติกส:วิทยาศาสตรสมัยใหมเกี่ยว ของเขาในชีวิตประจําวัน เพื่อยกระดับชีวิตใหดขี นึ้
กับสุขภาพจิต ” ในฐานะคูม อื เลมแรกเกีย่ วกับจิตใจ ไมเกินไปเลยหากจะกลาววา โลกยังไมเคยมีมิตร
มนุษย ที่เขียนดวยถอยคําธรรมดาเพื่อใหผูคนทั่ว คนใดที่ยิ่งใหญไปกวาเขาคนนี้ ■

43
องคกรไซแอนโทโลยี
ติดตอองคกรใกลบานคุณ หรือเยี่ยมชมไดที่ www.volunteerministers.org

สหรัฐอเมริกา COLUMBUS
Scientology Organization
Central Ohio
KANSAS CITY
Scientology Organization
Kansas City
ALBUQUERQUE 30 North High Street 2 East 39th Street
Columbus, Ohio 43215, USA Kansas City,
Scientology Organization Tel: 001-614-221-5024 Missouri 64111, USA
New Mexico www.scientology-columbus.org Tel: 001-816-753-6590
8106 Menaul Boulevard N.E. www.scientology-kansascity.org
Albuquerque, DENVER
New Mexico 87110, USA
Tel: 001-505-275-8210
Scientology Organization LAS VEGAS
Colorado
www.scientology-albuquerque.org 3385 South Bannock Street Scientology Organization
Englewood, Nevada
AUSTIN Colorado 80110, USA 846 East Sahara Avenue
Tel: 001-303-789-7668 Las Vegas, Nevada 89104, USA
Scientology Organization www.scientology-denver.org Tel: 001-702-731-1500
Texas www.scientology-lasvegas.org
2200 Guadalupe DETROIT
Austin, Texas 78705, USA LONG ISLAND
Scientology Organization
Tel: 001-512-474-6631 Michigan
www.scientology-austin.org 28000 Middlebelt Road Scientology Organization
Farmington Hills, Long Island
BATTLE CREEK Michigan 48334, USA 64 Bethpage Road, Hicksville,
Tel: 001-248-538-4675 New York 11801-2850, USA
Scientology Organization www.scientology-detroit.org Tel: 001-516-939-2250
Battle Creek www.scientology-longisland.org
66 E. Michigan Avenue, FLORIDA
Battle Creek,
Scientology Organization
LOS ANGELES
Michigan 49017, USA AND VICINITY
Tel: 001-269-965-5203 120 Giralda Avenue
www.scientology-battlecreek.org Coral Gables, Scientology Organization
Florida 33134, USA Los Angeles
Tel: 001-305-445-7812 1514 L. Ron Hubbard Way
BOSTON
Los Angeles,
Scientology Organization
GEORGIA California 90027, USA
Boston Scientology Organization www.scientology-losangeles.org
448 Beacon Street Georgia
Boston, 1611 Mt. Vernon Road Scientology Organization
Massachusetts 02115, USA Dunwoody, Pasadena
Tel: 001-617-266-9500 Georgia 30338, USA 1277 East Colorado Boulevard
www.scientology-boston.org Tel: 001-770-522-8983 Pasadena,
www.scientology-atlanta.org California 91106, USA
Tel: 001-626-792-7533
BUFFALO HAWAII www.scientology-valley.org
Scientology Organization Scientology Organization Scientology Organization of
Buffalo Hawaii the Valley
836 Main Street 1159 Fort Street Mall 15643 Sherman Way
Buffalo, New York 14202, USA Honolulu, Hawaii 96813, USA Van Nuys,
Tel: 001-716-856-3910 Tel: 001-808-545-5804 California 91406, USA
www.scientology-buffalo.org www.scientology-hawaii.org Tel: 001-818-947-0600
www.scientology-valley.org
CINCINNATI ILLINOIS
Scientology Organization Ohio
Scientology Organization LOS GATOS
Illinois
215 West 4th Street, 5th Floor 3011 North Lincoln Avenue Scientology Organization
Cincinnati, Chicago, Los Gatos
Ohio 45202-2670, USA Illinois 60657-4207, USA 650 Saratoga Avenue, San Jose,
Tel: 001-513-421-2927 Tel: 001-773-348-7788 California 95129, USA
www.scientology-cincinnati.org www.scientology-chicago.org www.scientology-losgatos.org

44
MIAMI PORTLAND TAMPA
Scientology Organization Scientology Organization Scientology Organization
Florida Portland Tampa
120 Giralda Avenue 709 SW Salmon Street 3102 North Habana Avenue
Coral Gables, Portland, Oregon 97205, USA Tampa, Florida 33607, USA
Florida 33134, USA Tel: 001-813-872-0722
Tel: 001-503-228-0116
www.scientology-miami.org www.scientology-tampa.org
www.scientology-portland.org
MINNEAPOLIS WASHINGTON, DC
SACRAMENTO Yayason Scientology
Scientology Organization
Minneapolis Twin Cities Scientology Organization Organization
1011 Nicollet Mall Sacramento Washington, DC
Minneapolis, 825 15th Street 1701 20th Street N.W.
Minnesota 55403, USA Sacramento, Washington, DC 20009, USA
Tel: 001-612-338-5111 California 95814-2096, USA Tel: 001-202-797-9826
www.scientology-minneapolis.org Tel: 001-916-448-5891 www.scientology-washingtondc.org
www.scientology-sacramento.org
MOUNTAIN VIEW
Scientology Organization SALT LAKE C ITY
สหราชอาณาจักร
Mountain View BIRMINGHAM
117 Easy Street Scientology Organization Utah
1931 South 1100 East Scientology Organization
Mountain View, Birmingham
California 94043-3706, USA Salt Lake City,
Utah 84106, USA 8 Ethel Street
Tel: 001-650-969-5262 Winston Churchill House
www.scientology-mountainview.org Tel: 001-801-485-9992
www.scientology-saltlakecity.org Birmingham, England B2 4BG
www.scientology-birmingham.org
NEW HAVEN
Scientology Organization SAN JOSE BRIGHTON
Connecticut Scientology Organization Scientology Organization
909 Whalley Avenue Stevens Creek Brighton
New Haven, 1865 Lundy Avenue Third Floor,
Connecticut 06515-1728, USA San Jose, 79-83 North Street,
Tel: 001-203-387-7670 California 95131, USA Brighton, East Sussex,
www.scientology-newhaven.org Tel: 001-408-249-7400 England, BN1 1ZA
www.scientology-sanjose.org www.scientology-brighton.org
NEW YORK CITY
Scientology Organization
EAST GRINSTEAD
SANTA BARBARA Scientology Organization
New York
227 West 46th Street Scientology Organization Yayason Saint Hill
New York, Santa Barbara Saint Hill Manor,
New York 10036-1409, USA 524 State Street East Grinstead, West Sussex,
Tel: 001-212-921-1210 Santa Barbara, England, RH19 4JY
www.scientology-newyork.org California 93101, USA www.scientology-sthillfdn.org
Tel: 001-805-963-8931
Scientology Organization
www.scientology-santabarbara.org
EDINBURGH
2250 3rd Avenue
Hubbard Academy of
New York,
New York 10035, USA SEATTLE Personal Independence
20 Southbridge
Tel: 001-212-828-1825
Scientology Organization Edinburgh,
PHILADELPHIA Washington State Scotland, EH1 1LL
601 Aurora Avenue North www.scientology-edinburgh.org
Scientology Organization Seattle,
Pennsylvania Washington 98109, USA LONDON
1315 Race Street Tel: 001-206-284-0604 Scientology Organization
Philadelphia, www.scientology-seattle.org London
Pennsylvania 19107, USA 146 Queen Victoria St.
Tel: 001-215-564-1547 London, England, EC4V 4BY
www.scientology-philadelphia.org ST. LOUIS
www.scientology-london.org
Scientology Organization
PHOENIX Missouri MANCHESTER
Scientology Organization 6901 Delmar Boulevard Scientology Organization
Arizona University City, Manchester
2702 44th Street, Suite A-100 Missouri 63130, USA 258 Deansgate
Phoenix, Arizona 85008, USA Tel: 001-314-727-3747 Manchester, England, M3 4BG
www.scientology-phoenix.org www.scientology-stlouis.org www.scientology-manchester.org

45
PLYMOUTH
Scientology Organization
นิวซีแลนด Colonia Roma, C.P. 06700
Mexico, D.F., Mexico
www.scientologymexico-
Plymouth AUCKLAND monterrey.org
41 Ebrington Street Scientology Organization
Plymouth, Devon
England, PL4 9AA
New Zealand
532-534
สาธารณรัฐ
www.scientology-plymouth.org Ellerslie/Panmure Highway,
Panmure, เวเนซุเอลา
ออสเตรเลีย Auckland 1006,
New Zealand CARACAS
www.scientology-auckland.org Dianetics Cultural
ADELAIDE Organization, A.C.
Scientology Organization
Adelaide
ละตินอเมริกา Calle Caciquiare
Entre Yumare y Atures,
Quinta Shangai
18 Waymouth Street
Adelaide,
South Australia 5000,
เม็กซิโก Urbanización El Marquez
Caracas, Venezuela
www.scientology-caracas.org
Australia KOTA MEKSIKO
www.scientology-adelaide.org VALENCIA
Dianetics
BRISBANE Cultural Association, A.C., Dianetics Cultural
Belisario Domínguez #17-1 Association, A.C.
Scientology Organization Villa Coyoacán, Avda. Bolívar Norte # 141-45
Brisbane Colonia Coyoacán, Urbanización El Viñedo
2F, 106 Edward Street, C.P. 04000 Mexico, D.F., Edificio “Mi Rifugio”
Brisbane, Queensland 4000 Mexico A 30 metros de Ave
Australia www.scientologymexico- Monseñor Adams
www.scientology-brisbane.org coyoacan.org Valencia, Edo.
Institute of Applied Carabobo, Venezuela
CANBERRA Philosophy, A.C. www.scientology-venezuela.org
Municipio Libre #40,
Scientology Organization
Canberra
Unit 4, 7-11 Botany St.
Esquina con Mira Flores
Colonia Portales,
C.P. 03570 Mexico, D.F.,
ยุโรป
Phillip, Canberra City,
ฝรั่งเศส
Mexico
ACT 2606, Australia www.scientologymexico-
www.scientology-canberra.org portales.org

MELBOURNE Latin American PARIS


Cultural Center, A.C. Spiritual Association of
Scientology Organization Rio Amazonas 11 the Church of Scientology of
Melbourne Colonia Cuahutemoc, Ile de France
42-44 Russell Street, C.P. 06500 7, rue Jules César
Melbourne, Mexico, D.F., Mexico 75012 Paris, France
Victoria 3000, Australia www.scientologymexico- Tel: 0033-01 53 33 52 00
www.scientology-melbourne.org cuahutemoc.org paris@scientology.net
Dianetics Technological www.scientologie-paris.org
PERTH Institute, A.C.
Avenida Chapultepec #540 LYON
Scientology Organization Colonia Roma,
Perth Church of Scientology Lyon
C.P. 06700 Mexico, D.F., 3, place des Capucins
1F, 108 Murray Street, Mexico
Perth, 69001 Lyon, France
www.scientologymexico- Tel: 0033-4 78 28 30 45
Western Australia 6000, chapultepec.org www.scientology-lyon.org
Australia
www.scientology-perth.org Dianetics Development

SYDNEY
Organization, A.C.
Avenida Cuahutemoc 576 ออสเตรีย
Entre Xola y Morena
Scientology Organization Colonia Narvarte, C.P. 03220 VIENNA
Sydney Mexico, D.F., Mexico Church of Scientology Austria
201 Castlereagh Street www.scientologymexico-xola.org Capistrangasse 4
Sydney, Dianetics Cultural A-1060 Vienna, Austria
New South Wales 2000, Organization, A.C. Tel. 0043-1-522 36 18
Australia San Luis Potosí 196 #3er Piso scientologyaustria@utanet.at
www.scientology-sydney.org Esq. Medellin www.scientology-vienna.org

46
ศูนย ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด &
SCIENTOLOGY CENTER
CHANGHUA
No.463, Sec. 2, Jhangnan Rd.

ไซแอนโทโลยี โอเชียเนีย
Internasional
Changhua City
Changhua County 500
Taiwan (R.O.C.)
Scientology Centers Office SCIENTOLOGY CENTER
สํานักงาน Australia, New Zealand
And Oceania
CHIAYI
ระหวางประเทศ 20 Dorahy St.
Dundas, NSW 2117
2F., No.49-1, Chueiyang Rd.
Chiayi City 600
Taiwan (R.O.C.)
Internasional Australia
Scientology Centers Tel: 61 2 9638 5200 SCIENTOLOGY CENTER
6331 Hollywood Boulevard, smianzo@smi.org
TAINAN
Suite 501, Los Angeles,
ไตหวัน
CA 90028-6313 3F., No.70, Cingnian Rd.
USA West Central Dist.
Tainan City 700
SCIENTOLOGY CENTER Taiwan (R.O.C.)
อเมริกาตะวันตก TAIPEI SCIENTOLOGY CENTER
Internasional 11F., No.82 KAOHSIUNG
Scientology Centers Office Sec. 1 Jhongshan N. Rd. No.216, Furen Rd.
Western United States Jhongshan Dist. Lingya Dist.
1308 L. Ron Hubbard Way Taipei City 104 Kaohsiung City 802
Los Angeles, California 90027 Taiwan (R.O.C.) Taiwan (R.O.C.)
USA
SCIENTOLOGY CENTER SCIENTOLOGY CENTER
Internasional CAPITAL PINGTUNG
Scientology Centers Office
Eastern United States 1F., No.354, No.115, Jianhua 1st St.
349 W. 48th St. Sec. 5 Nanjing E. Rd. Pingtung City
New York, New York 100367 Songshan Dist., Pingtung County 900
USA Taipei City 105 Taiwan (R.O.C.)
Taiwan (R.O.C.)
Internasional SCIENTOLOGY CENTER
Scientology Centers Office SCIENTOLOGY CENTER FONGYUAN
Flag Land Base TONGQU 5F., No.16,
210 South Fort Harrison 6F., No.208,
Avenue Lane 298
Sec. 4 Jhongsiao E. Rd. Nanyang Rd.
Clearwater, Florida 337567 Sinyi Dist.
USA Fongyuan City
Taipei City 110 Taichung County 420
Taiwan (R.O.C.) Taiwan (R.O.C.)
ยุโรป SCIENTOLOGY CENTER
DAAN
SCIENTOLOGY CENTER
Internasional TAICHUNG
Scientology Centers Office No.102-1 No.82-2,
European Chaojhou St. Wucyuan 5th St.
Store Kongensgade 53 Jhongjheng Dist. West Dist.,
1264 Copenhagen K Taipei City 100 Taichung City 403
Denmark Taiwan (R.O.C.) Taiwan (R.O.C.)

47
สั่งซื้อหนังสือหรือเทปของแอล รอน ฮับบารด
ซึ่งไมสามารถหาซื้อไดจากองคกรทองถิ่นใกลบานทาน
โดยติดตอไปยังสํานักพิมพที่มีเครือขายทั่วโลก ดังตอไปนี้
NEW ERA NEW ERA PUBLICATIONS BRIDGE PUBLICATIONS,
PUBLICATIONS AUSTRALIA PTY LTD. INC.
INTERNATIONAL APS 20 Dorahy Street, Dundas 5600 E. Olympic Boulevard
Smedeland 20 New South Wales 2117
Commerce,
2600 Glostrup, Denmark Australia
Tel: 0061-2 96 38 29 88 California 90022
Tel: 0045-3373-6500
Tel: 0045-3373-6666 nepa@bigpond.net.au Tel: 001-800-722-1733
Fax. 0045-3373-6633 Fax. 001-323-953-3328
books@newerapublications.com KONTINENTAL www.bridgepub.com
www.newerapublications.com PUBLICATIONS PTY LTD.
6th Floor, Budget House CONTINENTAL
NEW ERA 130 Main Street PUBLICATIONS
PUBLICATIONS GROUP Johannesburg 2001 LIAISON OFFICE ASIA
Pr. Mira, VVC Building 265 South Afrika
129223 Moscow, Russia Tel: 0027-11 331 6621 No. 231, Cisian 2nd Road
Tel: 007-095 107 50 20 nepaf@newerapublications.com Kaohsiung City
info@new-era.ru Taiwan (R.O.C.)
NEW ERA PUBLICATIONS
NEW ERA PUBLICATIONS ITALIA S.R.L. ERA DINÁMICA
UK, LTD. Via Cadorna, 61 EDITORES S.A. DE C.V.
Saint Hill Manor 20090 Vimodrone (MI), Italy
East Grinstead, West Sussex Tel: 0039 0236 505 373 Tonalá #200, Col. Roma Sur
RH19 4JY, England Filippo or Evio Delegación Cuauhtemoc
Tel: 0044-1342 314 846 0039-022 7409 271 C.P. 06760
nepuk@newerapublication.com info@newera.it México D.F., México

Bridge Publications, Inc.


5600 E. Olympic Boulevard
Commerce, California 90022
ISBN 978-1-4031-7087-3
©2010 L. Ron Hubbard Library. สงวนลิขสิทธิ์ทั้งหมด
การคัดลอก การแปล การลอกเลียนแบบ การนําเขาหรือการจําหนาย ในทั้งหมดหรือบางสวน
ไมวาดวยวิธีการใดที่ไมไดรบั อนุญาต รวมถึงการคัดลอก การจัดเก็บหรือการสงตอดวยอิเล็กทรอนิค
ถือเปนการฝาฝนกฎหมาย
Scientology, ไซแอนโทโลยี, Dianetics, ไดอะเนติกส , Celebrity Center, L. Ron Hubbard, แอล รอน ฮั บบารด, Flag,
Freewinds, ลายเซ็นแอล รอน ฮับบารดและสั ญลักษณ ไซแอนโทโลยีเปนเครื่องหมายการคาและการให บริการ
ซึ่งมี Religious Technology Center เปนเจาของ และนําไปใชไดตอ เมื่อไดรับอนุญาตเทานั้น
NEW ERA เปนเครื่องหมายการคาซึ่งมี NEW ERA Publications International เปนเจาของ
Bridge Publications, Inc. เปนเครื่องหมายการคาและการใหบริการที่ ไดรับการจดทะเบียนในแคลิฟอรเนี ย
ซึ่งมี Bridge Publications, Inc. เปนเจาของ
พิมพในสหรัฐอเมริกา

An L. RON HUBBARD Publication

Vous aimerez peut-être aussi