Vous êtes sur la page 1sur 5

รหัสบทความ:ART4-02 1

อรรถาธิบายและวิเคราะหผลงานการเรียบเรียงเสียงประสานเพลงฟอนบายศรีสูขวัญ
Explanation and Analysis of Arranging: Fon Bai Sri Shu Kwan

พันตํารวจโท ดร.ทีฆา โพธิเวส*

บทคัดยอ melody. Therefore, to inherit and create the


เพลงฟ อ นบายศรี สู ข วั ญ เป น เพลงที่ เกี่ ย วกั บ music. Arranger have arranging for Fon Bai Sri Shu
พิธีกรรมความเชื่อของชาวอีสานเพื่อเรียกขวัญหรือตอนรับ Kwan song. The objectives are as follows: 1) To
แขกผู ม าเยื อ น มี พั ฒ นาการคิ ด คํ า ร อ ง คิ ด ท า รํ า ฟ อ น create the Esan folk music for the orchestra with a
ประกอบพิ ธี ก รรม รวมไปถึ งดนตรี ป ระกอบพิ ธีที่ มี ค วาม melody of Fon Bai Sri Shu Kwan. From the Fon Bai
ไพเราะ ดังนั้นเพื่อเปนการสืบทอดและเปนการสรางสรรค Sri Shu Kwan music arranging details are as
ทางดนตรี ผูเรียบเรียงเสียงประสานจึงไดทําการเรียบเรียง follows:
เสี ย งประสานทํ า นองเพลงฟ อ นบายศรี สู ข วั ญ โดยมี 1) Use the form include : Introduction – A
วัตถุประสงคไดแก 1. เพื่อสรางสรรคบทเพลงพื้นบานอีสาน –B–C–D–E–F–C–D–E.
ในรูปแบบวงดุริยางคสากลดวยทํานองเพลงฟอ นบายศรีสู 2 ) Repeat the some of melody in “A”
ขวัญ จากการเรียบเรียงเสี ยงประสานเพลงฟ อ นบานศรีสู section which is partially depicted in the first half
ขวัญมีรายละเอียดดังนี้ of “C” section and the some of melody in “B”
1. ใชรูปแบบสังคีตลักษณ ไดแก ทอนนํา – A – B section to appear during the first part of “D”
– C – D – E – F – C – D – E – ทอนจบ section and “E”section.
2. มีการซ้ําทํานองบางสวนของทอน A ซึ่งปรากฎ 3) Using harmonic emphasizing diatonic
ในชวงแรกของทอน C และใชทํานองหลักชวงแรกของทอน chord and modulation to the relative key.
B ไปปรากฏในชวงแรกของทอน D และ E 4) Change interesting of time signature by
3. มีการใชเสียงประสานที่เนนคอรดไดอาโทนิ ค a 2 / 4 switch to 4 / 4.
และมีการยายบันไดเสียงสัมพันธแบบเครือญาติ 5) With the use of Esan folk musical
4. มี ก ารเปลี่ ย นเครื่ อ งหมายกํ า หนดจั ง หวะที่ instruments include Khaen (แคน) ,Howd (โหวด) And
นาสนใจแบบ 2/4 สลับ 4/4 Pong Lang (โปงลาง).
5. มีการใชเครื่องดนตรีพื้นบานอีสานไดแก แคน 6 ) There is a wide variety of tone color,
โหวดและโปงลางบรรเลงทํ านองหลั กและมี ก ารประพัน ธ each group of musical parts is clarity. Every
ทอน F เพื่อแสดงความสามารถของโปงลาง musical instruments and every parts has a variety
6. มีการใชสีสันเครื่องดนตรีที่หลากหลาย แตละ of role such as main melody and countermelody.
กลุ ม เสีย งมี ค วามชั ด เจน ทุ ก เครื่อ งและทุ ก กลุ ม มี บ ทบาท คําสําคัญ : เรีย บเรี ย งเสีย งประสาน, ทํ านองหลั ก ,
หนาที่หลากหลายทั้งบรรเลงแนวทํานองหลักแนวประสาน ทํานองรอง
เสียงและแนวทํานองรอง Keyword(s) : Arranging, Melody, Counter
Melody
ABSTRACT
The song Fon Bai Sri Shu Kwan is the บทนํา
music for shows the editions belief of northeast บทเพลงฟอนบายศรีสูขวัญเดิมเปนบทเพลงที่เปน
part of Thailand or receive visitors. There have ทํานองเพลงพื้ น บา นอี ส านใชขั บ ร อ งบรรเลงและฟ อ นรํ า
development texts and development of the ประกอบพิธีเรียกขวัญ ใหกับญาติ หรือมิตรสหาย ที่มาเยือน
dance and music ceremony with sweetness หรือ ล ม ป วย(พู นลาภ วงษอัย ราและคณะ,2559: 6) เพื่ อ
2

ความเปนสิริมงคลและขวัญกําลังใจของชาวอีสานเปนที่นิยม ผูเรียบเรียงเสีย งประสานไดทําการกําหนดใหใ ช


อยางแพรหลายในภาคตะวันตออกเฉียงเหนือของประเทศ เครื่อ งดนตรีพื้ นบานอี สาน ไดแก แคน โหวดและโปงลาง
ไทย มีทํานองที่ โดดเดน และงายตอ การจดจําของผูฟ ง จึง เป น เครื่ อ งดนตรี บ รรเลงทํ า นองหลั ก โดยใช แ นวคิ ด
เปนที่คุนหูของชาวอีสานเสมอมา ดังตอไปนี้
ดั งนั้ น จึ ง เห็ น ความสํ า คั ญ ในฐานะดนตรี ที่ เป น 1.1 เครื่องดนตรีพื้นบานอีสานโดยปกติแลว
เอกลักษณทางวัฒนธรรมดนตรีและการแสดงพื้นบานอีสาน จะใชบันไดเสียง C เมเจอรแบบไดอาโทนิค หรือ A เนเจอรัล
ประกอบกับเปนบทเพลงที่หนวยงานหลายแหงใชเปนเพลง ไมเนอรแบบไดอาโทนิค ซึ่งสามารถตั้งบันไดเสียงกับเครื่อง
เพื่อประกอบกิจกรรมสําคัญ อาทิ คณะมนุษยศาสตรและ ดนตรีตะวันตกไดและคอนขางกลมกลืน
สัคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ไดจัดกิจกรรมถวาย 1.2 ผูเรียบเรียงทําการกําหนดบันไดเสียงของ
พระพรพระบาทสมเด็ จพระเจ าอยูหั วรัช กาลที่ 9 เนื่ อ งใน เพลงฟอนบายศรีสูขวัญดวยบันไดเสียง C เมเจอรซึ่งสามารถ
วโรกาสทรงเจริญพระชนมายุ 84 พรรษา ไดมอบหมายให บรรเลงเทียบเสียงกับแคน โหวดและโปงลางไดอยางลงตัว
พันตํารวจโททีฆา โพธิเวส เรียบเรียงเสียงประสานบทเพลง อีกทั้งเพื่อ เลี่ยงโนต ที่จ ะเกิดเครื่อ งหมายแปลงเสียง ชารป
ฟ อ นบายศรีสูข วัญ ออกเผยแพรใ นวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. และแฟล็ต กับแคน โหวดและโปงลางได
2554 (ชูศักดิ์ ศุกรนันทน,2555: คํานํา) 2. เครื่ อ งดนตรี ที่ ใ ช ใ นการเรี ย บเรี ย งเสี ย ง
นอกจากนี้ ศู น ย วั ฒ นาธรรมแห ง ประเทศไทย ประสาน
กรมการส ง เสริ ม วั ฒ นธรรม ได จั ด กิ จ กรรมอบรมเชิ ง ผู เรี ย บเรี ย งเสี ย งประสานได ทํ า การเพิ่ ม เครื่ อ ง
ปฏิบัติการทางดนตรีสากลและการขับรอ งประสานเสียง ณ ดนตรีที่นอกเหนือจากแบบฉบับวงดุริยางคทั่วไป อันจะทํา
จังหวัดมหาสารคาม ในวันที่ 24 – 28 เมษายน พ.ศ. 2557 ใหเกิดสีสันของเสียงที่แตกตางออกไป และเปนเอกลักษณ
ได คั ด เลื อ กเพลงบายศรีสู ขั วญบรรเลงประกอบกิ จ กรรม เฉพาะของผูเรียบเรียงเสียงประสาน อีกทั้งเพื่อความสะดวก
ดังกลาว และไดมอบหมายใหพันตํารวจโททีฆา โพธิเวสทํา ของสถาบั น การศึ ก ษาที่ จ ะนํ าไปบรรเลงเพื่ อ ให กิ ด ความ
การเรียบเรียงเสียงประสานเพลงฟอนบายศรีสูขวัญ (2557) สะดวกและสามารถยืดหยุนได ดังนี้
โดยได นํ า ไปเผยแพร บ รรเลงประกอบพิ ธี เ ป ด กิ จ กรรม 2.1 กลุ ม เครื่ อ งดนตรี พื้ น บ านอี ส าน ได แ ก
ดังกลาวเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2557 แคน โหวดและโปงลาง
บทเพลงฟ อ นบายศรี สู ข วั ญ จึ ง เป น บทเพลงที่ 2.2 กลุ ม เครื่ อ งลมไม ได แ ก โอโบ ฟลุ ท
เหมาะแก ก ารนํ า มาเรี ย บเรี ย งเสี ย งประสานสํ า หรั บ วง บีแ ฟล็ท คลาริเน็ท 2 แนว อั ลโตแซกโซโฟน เทเนอรแซก
ดุ ริย างค ต ะวัน ตกเพื่อ ใหเกิ ด สี สั น ใหม แ ละทรงคุ ณ ค าทาง โซโฟน บาริโทนแซกโซโฟน และบาสซูน
ศิลปกรรมดานดนตรี อันเปนการชวยทํานุบํารุงทํานองเพลง 2.3 กลุ ม เครื่ อ งลมทองเหลื อ ง ได แ ก เอฟ
ฟอนบายศรีสูขวัญซึ่งเปนสมบัติล้ําคาของชาวอีสานใหเปนที่ ฮอรน 2 แนว บีแฟล็ต ทรัมเปต 2 แนว บีแฟล็ต ทรอมโบน
รูจักแพรหลายสูชนรุนหลังตอไป 2 คัน ยูโฟเนียม และทูบา
2.4 กลุมเครื่องสาย ไดแก ไวโอลิน 2 แนว วิ
โอลา เซลโล และดับเบิลเบส
วัตถุประสงค 2.5 เครื่ อ งกระทบ ได แ ก ไซโลโฟน ฉาบ
1. เพื่ อ สร า งสรรค บ ทเพลงพื้ น บ า นอี ส านใน กลองสแนร กลองชุด และกลองทิมปานี 4 ใบ
รูปแบบวงดุริยางคสากลดวยทํานองเพลงฟอนบายศรีสูขวัญ
2. เพื่ อ ใช เผยแพรแ ละบรรเลงในโอกาสสํ า คั ญ
สําหรับสถาบันการศึกษา 3. วิธีการที่ใชในการเรียบเรียงเสียงประสาน
เพื่อใหบทเพลงฟอนบายศรีสูขวัญมีความนาสนใจ
วิธีการเรียบเรียงเสียงประสาน เกิดสีสันใหมและคงไวซึ่งทํานองตนแบบที่ถู กตอง ผูวิจัย มี
การเรีย บเรี ย งเสีย งประสานเพลงฟ อ นบายศรี สู ขั้นตอนวิธีการดังตอไปนี้
ขวัญผูเรียบเรียงเสียงประสานมีวิธีการดําเนินการดังตอไปนี้ 3.1 ทํ า การสื บ ค น แนวทํ า นองต น แบบที่
1. ระบบการเทียบเสียงเครื่องดนตรี ถูกตองนาเชื่อถือและไดทําการถอดเปนโนตสากลแลว
3

3.2 ทํ า การกํ า หนดโครงสร า งท อ นเพลงใน สลับกันบรรเลงทํานองหลักและประสานเสียงทั้งกลุมคอรด


ภาพรวม และแนวทํ า นองรอง ทํ า ให เกิ ด พื้ น ผิ ว ทางดนตรี แ บบ
3.3 ทํ าการกํ าหนดและวางทางเดิ นคอรด ที่ หลากหลายแนว (Polyphony) ช ว ยสร า งมิ ติ ข องเสี ย ง
เหมาะสมลงบนแนวทํานองแตละทอน ประสานที่มีความซับซอนและนาสนใจยิ่งขึ้น
3.3 ทํ าการสรางแนวสอดทํ า นองหรือ แนว 4.3 ทอน A (หองเพลงที่ 3 - 10)
ทํ า นองรอง (Counter Melody) และทํ า การสร า งแนว เปนการเสนอแนวทํานองหลักของเพลงฟอ น
ทํานองขึ้นมาใหมสาํ หรับทอนบรรเลงแคน โหวดและโปงลาง บายศรีสูขวัญดวยแคนและกลุมเครื่องลมไม ไดแก ฟลุท โอ
โดยมีวงดุริยางคบรรเลงสนับสนุน โบ และคลาริเน็ตที่แนวเสียงคู 8 ทําใหแนวทํานองมีความ
3.4 ทําการกําหนดพื้นผิวของบทเพลงแตละ โดดเดนชัดเจนมากขึ้น นอกจากนี้ยังประกอบไปดวยกลุม
ทอน เครื่องสาย ไดแก ไวโอลีน 1 และไวโอลิน 2 สวนกลุมเครื่อง
3.5 ทําการกําหนดเครื่อ งดนตรีที่ใชในแตละ ดนตรีที่บรรเลงแนวทํานองรอง จะเปนเครื่องดนตรีในยาน
แนวเสียงตามความเหมาะสม เสียงกลาง ไดแก อัลโตแซกโซโฟน เทเนอรแซกโซโฟน บาริ
โทนแซกโซโฟน บาสซูน ยูเนียม วิโอลา และเชลโล สําหรับ
4. อรรถาธิบายบทเพลง กลุมเครื่อ งดนตรีที่บรรเลงคลอประกอบแบบคอรด ไดแ ก
บทเพลงฟ อ นบายศรีสูข วัญ ผู เรียบเรีย งเสีย ง กลุ ม เครื่ อ งลมทองเหลื อ ง ได แ ก เอฟฮอร น ทรั ม เป ต
ประสานตองการนําเสนอความโดดเดน ความเรียบงายของ ทรอมโบน นอกจากนี้กลุมเครื่องดนตรีที่อยูในยานเสียงตํา
ทํานองเพลงพื้นบานอี สาน บนการใชสีสันของเสียงเครื่อ ง ทําหนาที่บรรเลงแนวเบส ไดแก ทูบาและดับเบิลเบส
ดนตรีห ลายชนิ ด ผสมผสานให เกิ ด มิ ติทางเสีย งที่ น าสนใจ สําหรับการประสานเสียงในทอน A นั้นสวนมากใช
และการใช เสี ย งประสานที่ ก ลมกลื น โดยมี รายละเอี ย ด คอรดไดอาโทนิค ยกเวน หองเพลงที่ 6 ที่ใชคอรดดอมินันท
ดังตอไปนี้ ทบเจ็ ด ชั้ น รอง (Secondary Dominant Seventh) แบบ
4.1 โครงสรางของบทเพลง V7/V ในกุญแจเสียง C เมเจอร
ผู เรี ย บเรี ย งเสี ย งประสานได กํ า หนด 4.3 ทอน B (หองเพลงที่ 11 - 18)
โครงสรางของบทเพลงฟอนบายศรีสูขวัญ ดังนี้ ผูเรียบเรียงเสียงประสานทําการเปลี่ยนสีสัน
ทอนนํา(Introduction) – A – B – C – D – E – ของเสียงบางกลุมโดยใหน้ําหนักเสียงของทํานองหลักยายมา
F – C – D – E – ทอนจบเพลง (Coda) อยู ที่ ก ลุ ม เครื่ อ งลมทองเหลื อ ง ได แ ก เอฟฮอร น และ
ทํานองเพลงผูเรียบเรียงเสียงประสานจะ ทรัมเปต และกลุมเครื่องสาย ไดแก ไวโอลิน 1 และไวโอลิน
ยึดความถูกตองของทํานองตนฉบับเปนหลัก โดยเปนทํานอง 2 เช นเดิ ม สวนกลุ ม เครื่อ งลมไม คื อ โอโบ ยั งคงบรรเลง
ที่อยูในบันไดเสียง C เมเจอร ทั้งนี้มีการนําใจความหลักของ ทํ า นองหลั ก เช น เดิ ม โดยกลุ ม เครื่ อ งดนตรี ที่ ก ล า วมานี้
หองเพลงที่ 1 – 2 ของทํานองทอน A ไปปรากฏซ้ําในทอน บรรเลงทํานองหลักในรูปแบบการประสานเสียงแบบคอรด
C และทํานองชวงแรกของทอน B ไปปรากฏในทอน D และ แนวตั้ ง (Voice Leading) โดยให แ นวเอฟฮอร น 2 แนว
ทอน E ทําใหเพลงมความเปนเอกภาพมากขึ้น ทรัมเปต 2 และแนวไวฮลิน 2 บรรเลงแนวประสาน
สํ า หรั บ ท อ น F นั้ น ผู เรี ย บเรี ย งเสี ย ง สํ า หรั บ แนวที่ บ รรเลงแนวทํ า นองรองรู ป แบบ
ประสานไดประพันธทํานองขึ้นมาใหมโดยใชแนวคิดในการ ประสานเสียงแบบคอรดแนวตั้งเชนกัน ไดแก บีแฟล็ท คลาริ
ย ายบั น ไดเสี ย ง(Modulation) ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั น แบบ เน็ต อัลโตแซกโซโฟน เทเนอรแซกโซโฟน และวิโอลา สวน
เครือ ญาติ (Relative Key) ในบั น ไดเสีย ง A ไมเนอร เพื่ อ แนวที่ บ รรเลงคลอแบบคอรด จะเป นเครื่อ งดนตรีในย าน
เปลี่ยนอารมณความรูสึกของบทเพลง เสียงกลาง ไดแก บาสซูน ทรอมโบน ยูโฟเนียม และซอเชล
4.2 ทอนนํา โล กลุมเครื่องดนตรีที่บรรเลงแนวเบส ยังคงเปนกลุมเครื่อง
ในท อ นนํา 4 ห อ งเพลง ด วยจังหวะช า ดนตรีในยานเสียงต่ํา ไดแก ทูบาและดับเบิลเบส
แบบเนิบๆ ที่โนตตัวดําเทากับ 78 กําหนดใหวงออเคสตรา จะสั ง เกตได ว า ท อ นนี้ จ ะเกิ ด เสี ย งประสานที่
บรรเลงแบบเต็มวง เพื่อสงใหแคนบรรเลงทํานองหลักหอ ง หนาแนนและหลากหลายมากเนื่องจากทุกแนวจะประสาน
เพลงที่ 4 พรอมๆกับบีแฟล็ท คลาริเน็ต สวนกลุมเครื่องเปา เสี ย งกั น ในกลุ ม ของตนเอง ซึ่ ง ผู เรี ย บเรี ย งเสี ย งประสาน
ลมไมอื่ นๆ กลุม เครื่อ งลมทองเหลือ ง และกลุมเครื่อ งสาย พยายามจัดวางแนวใหมีการสอดรับกันอยางเหมาะสมเพื่อ
4

ไม ใหเกิดเสียงที่คลุมเครือ เนื่อ งจากท อ น B มีก ารใชเสี ยง เสียงทอน D ผูเรียบเรียงเสียงประสานใชคอรดแบบไดอาโท


ประสานในแตละแนวคอ นขางหนาแนน การใชคอรดของ นิคของกุญแจเสียง C เมเจอร
ทอนนี้ผูเรียบเรียงเสียงประสานจึงเลือกใชคอรดไดอาโทนิค 4.6 ทอน E (หองเพลงที่ 35 - 42)
ในกุญแจเสียง C เมเจอรทั้งหมดเพื่อความกลมกลืนของเสียง หองเพลงที่ 35 – 36 ยังคงใชโนตทํานองขั บ
4.4 ทอน C (หองเพลงที่ 19 - 26) รอ งและบรรเลงที่คลายกันกับทอน B และ D ทํานองหลัก
เพื่ อ สร า งความเป น เอกภาพ (Unity) เปนการประสานเสียงแนวตั้งที่แนวฟลุท โอโบ ทรัมเปต 1
ของบทเพลง ผูเรียบเรียงเสียงประสานไดอิงแนวคิดของทอน และทรั ม เป ต 2 ไวโอลิ น 1 และไวโอลิ น 2 โดยมี แ นวที่
A มาใชกั บ การขั บ รอ งเพลงฟ อ นบายศรีสูข วัญ รวมไปถึ ง บรรเลงแนวประสานแบบคลอคอรด ไดแก บีแฟล็ท คลาริ
ทํานองหลักในหองที่ 19 – 20 ซึ่งมีความคลายคลึงกันกับ เน็ต 1 บีแฟล็ต คลาริเน็ต 2 เอฟฮอรน 1 เอฟ ฮอรน 2
ทอน A หลังจากนั้นไปจึงปรากฏความแตกตางของทํานอง สวนแนวที่ บ รรเลงทํ านองรองได แก อั ลโตแซกโซโฟน เท
โดยใช แคนและกลุมเครื่องลมไม ไดแก ฟลุท โอโบ และคลา เนอรแซกโซโฟน บาริโทนแซกโซโฟน วิโอลาและเชลโล สวน
ริเน็ตที่แนวเสียงคู 8 ทําใหแนวทํานองมีความโดดเดนชัดเจน แนวเบสยังคงเปน ทูบากับดับเบิลเบส เสียงประสานยังคงใช
มากขึ้น นอกจากนี้ยังประกอบไปดวยกลุมเครื่องสาย ไดแก คอรดไดอาโทนิคเชนเดิม
ไวโอลีน 1 และไวโอลิน 2 สวนกลุมเครื่องดนตรีที่บรรเลง 4.7 ทอน F (หองเพลงที่ 43 - 56) หรือทอ น
แนวทํานองรอง จะเปนเครื่องดนตรีในยานเสียงกลาง ไดแก แบนด (Band)
อัลโตแซกโซโฟน เทเนอรแซกโซโฟน บาริโทนแซกโซโฟน เปน ทอ นบรรเลงไมมีเนื้อ รอ งเพื่อ แสดง
บาสซูน ยูเนียม วิโอลา และเชลโล สําหรับกลุมเครื่องดนตรี ศักยภาพของนักดนตรีหรือเทคนิคในการประพันธกําหนดให
ที่บรรเลงคลายทํานองหลักแตมีการดัดแปลงกระสวนจังหวะ โปงลางบรรเลงทํานองหลักโดยผูเรียบเรียงเสียงประสานได
ใหแ ตกตางในรูป แบบการประสานเสียงแบบคอรด ไดแ ก สรางทํานองหลักขึ้นมาใหมโดยอิงกับทํานองพื้นบานอีสานที่
กลุ ม เครื่ อ งลมทองเหลื อ ง ได แ ก เอฟฮอร น ทรั ม เป ต คุนเคยมีสัดสวนของโนตในทํานองที่กระฉับกระเฉง ไดยาย
ทรอมโบน นอกจากนี้กลุมเครื่องดนตรีที่อยูในยานเสียงตํา บัน ไดเสี ยงมาอยู ในบัน ไดเสี ยง A ไมเนอรซึ่งให ความรูสึ ก
ทําหนาที่บรรเลงแนวเบส ไดแก ทูบาและดับเบิลเบส เศรา เพื่อสื่อความหมาย แมวาวิถีชีวิตของชาวอีสานที่เขาพิธี
สํ าหรั บ การใช เสีย งประสานในท อ น C บายศรีสูขวัญจะมีความวิตกกังวล แตก็ยังสามารถใชดนตรี
ยังคงใชไดอาโทนิคคอรดเพื่อใหเกิดเสียงที่กลมกลืนเรียบงาย และการฟ อ นรํา เพื่ อ ประะโลมจิ ต ใจให มี กํ า ลั ง ใจในการ
เชน เดิ ม เพื่ อ ที่ จะสื่อ ถึ งความเรียบงายใชชีวิตอยูกับ ความ ดําเนิ นชีวิต ต อ ไป โดยในท อ นนี้ ผู เรีย บเรีย งเสีย งประสาน
กลมกลืนกับธรรมชาติของชาวชนบทอีสาน ตองการใหเกิดมิติของอัตราจังหวะที่แปลกใหม จึงเปลี่ยนมา
4.5 ทอน D (หองเพลงที่ 27 - 34) ใชเครื่อ งหมายกําหนดจังหวะแบบ 2/4 สลับกับ 4/4 โดย
ทํ านองขั บ รอ งและการบรรเลงมี ค วาม หอ งเพลงที่ 54 – 56 โหวดจะรับแนวทํานองหลักตอ จาก
คลายคลึงกับทอน B ในหองเพลงที่ 27 – 28 ซึ่งทอน B จะ โปงลางอยางลงตัวดวยบันไดเสียง C เมเจอรอีกครั้ง
ใชโนต ประดั บประดามากกวาทอ น D กลุมเครื่อ งดนตรีที่ สําหรับทอน F กลุมเครื่องดนตรีของวงดุริยางคจะ
บรรเลงทํานองหลักจะเปนกลุมเครื่องลมไม ไดแกฟลุท โอโบ บรรเลงประสานเสียงแบบกระสวนจังหวะโดยลงที่จังหวะ
และบีแฟล็ต คลาริเน็ต ที่ป ระสานแบบคอรดแนวตั้งใชอั ล หนั ก ที่ 1 และ 2 เพื่ อ สนั บ สนุ น แนวทํ า นองหลั ก ที่ กํ า ลั ง
โตแซกโซโฟน กับเทเนอรแ ซ็กโซโฟน บรรเลงแนวทํานอง บรรเลงดวยเครื่องดนตรีพื้นบานอีสาน ในการประสานเสียง
รองคลอมีสัดสวนของโนตคลายกับทํานองหลัก กําหนดให นั้นผูเรียบเรียงเสียงประสานใชคอรดไดอาโทนิคของบันได
บาริโทนแซกโซโฟนบรรเลงแนวเบส เสียง A ไมเนอรแ บบเนเจอรัล โดยเฉพาะหอ งเพลงที่ 53
ส วนกลุ ม เครื่ อ งลมทองเหลื อ งบรรเลง จะใชคอรด v – i แบบกึ่งสมบูรณ เพื่อยายกลับไปสูบันได
แนวทํ านองรองคลอคล ายทํานองหลักเชนกั น กํ าหนดให เสียง C เมเจอร
แนวทูบาบรรเลงแนวเบส สําหรับกลุมเครื่อ งสายไวโอลิน 1 4.7 ทอนจบเพลง (หองเพลงที่ 57 - 59)
และไวโอลิ น 2 บรรเลงทํ านองหลั ก แบบประสานคอร ด ผูเรียบเรียงเสียงประสานไดประพัน ธทํานอง
แนวตั้งสวนวิโอลาและเชลโล บรรเลงแนวทํานองรองสวน ทอ นจบขึ้นมาใหมดวยบันไดเสียง C เมเจอรใ นทิศทางขึ้ น
ดับเบิลเบสกําหนดใหบรรเลงแนวเบส สําหรับการประสาน ตอเนื่องเพื่อดําเนินไปสูการสิ้นสุดของบทเพลง อันจะสื่อให
เห็ น ถึ งการสิ้น สุด ของพิ ธีบ ายศรี สู ข วัญ เป น การที่ ข วั ญ ได
5

กลับมาสูผูรวมพิธี โดยกลุมเครื่องลมไมเนนทํานองหลักมีฟลุ สรุปผล


ททบแนวเสี ย งขั้ น คู 8 ทรั ม เป ต 1 ทรั ม เป ต 2 บรรเลง การเรีย บเรี ย งเสีย งประสานเพลงฟ อ นบายศรี สู
ประสานแนวทํ า นอง ส ว นกลุ ม เครื่ อ งดนตรี ท องเหลื อ ง ขวัญเปนการเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับวงดุริยางค โดย
ประสานเสียงทํานองหลักแบบแนวตั้ง เครื่องดนตรียานเสียง เพิ่มกลุมแซกโซโฟนเพื่อสีสันที่แตกตางและนาสนใจ โดยอิง
กลางและยานเสียงต่ําบรรเลงคลอเสียงประสานแบบคอรด ทํานองตนฉบับของอีสานเปนหลัก ผูเรียบเรียงเสียงประสาน
ไดแก เทเนอรแซกโซโฟน บาริโทนแซกโซโฟน เอฟฮอรน 1 ไดทําการประพั นธทํ านองทอ นนํ า ท อ น F ที่เรียกวาทอ น
เอฟ ฮอร น 2บรรเลงประสานทํ านองหลั ก และคลอเสี ย ง แบนด และท อ นจบเพลง บทเพลงฟ อ นบายศรี สู ข วัญ ใช
ประสาน บาริโทนแซกโซโฟน กลุ ม เครื่อ งสายไวโอลิน 1 พื้ น ผิ ว แบบหลากหลายแนว ใช วิ ธี ก ารประสานเสี ย งที่
ไวโอลิน 2 บรรเลงประสานแนวทํานองหลัก วิโอลา เชลโล ซับซอนมีการจัดวางแนวเสียงอยางเหมาะสม ทําใหเกิดเสียง
และดับเบิลเบส บรรเลงคลอเสียงประสาน ประสานที่ ห นาแน น มี มิ ติ ข องเสี ย งประสานที่ น า สนใจ
การประสานเสียงใชคอรดไดอาโทนิค จบดวยจุด สําหรับการประสานเสียงที่ใชจ ะเนนคอรดที่เรียบงายดวย
พักแบบกึ่งสมบูรณ ดวยคอรด G – C คอรด ไดอาโทนิ ค มี การยายบั น ไดเสี ยงแบบสัมพั นธเครือ
ญาติ มีการสับเปลี่ยนเครื่อ งหมายกําหนดจังหวะเพื่อสราง
ความนาสนใจของบทเพลง มีก ารเลือ กใชสีสั นของเครื่อ ง
ดนตรีที่หลากหลายแตละกลุมเครื่องดนตรีมีหนาที่ชัดเจน

รายการอางอิง
เจนดุริยางค,พระ. (2527).แบบเรียนดุริยางคศาสตรสากล ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย. (พิมพครั้งที่ 4).
พระนคร:กรมแผนที่ทหาร.
ชูศักดิ์ ศุกรนันทน.(2555).เพลงบายศรีสูขวัญ ORCHESTRAและประวัติเพลงบายศรีสูขวัญ.อัดสําเนา.
พูนลาภ วงษอัยราและคณะ.(2559).บายศรี รูปแบบและวิถีความเชื่อของไทย.คณะครุศาสตร สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุ
ศาสตร มหาวิทยาลยัราชภฏักาญจนบุร.ี
ศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย กรมสงเสริมวัฒนธรรม.(2557,23 เมษายน).ขอความอนุเคราะหเรียบเรียงเสียงประสานบท
เพลง “บายศรีสูขวัญ”.(หนังสือภายนอก).วธ 0516/2419.

Vous aimerez peut-être aussi