Vous êtes sur la page 1sur 12

บทบาทของพระเจนดุรยิ างคในฐานะนักวิชาการทางดนตรีที่มีอทิ ธิพลตอลูกศิษย

กรณีศกึ ษา ชลหมู ชลานุเคราะห


Phra Chen Duriyanga’s Role as Scholars in Music to Influences on Follower:
A Case Study to Cholamue Chalanukroh
บพิตร เคาหัน*
รองศาสตราจารยดร.เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี**
ผูชวยศาสตราจารยดร.ไพศาล สุวรรณนอย***
บทคัดยอ
ในการวิจัยเรื่องบทบาทของพระเจนดุริยางคในฐานะนักวิชาการทางดนตรีที่มีอิทธิพลตอลูกศิษย กรณีศึกษา ชลหมู
ชลานุเคราะห โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาบทบาทของพระเจนดุริยางคในฐานะนักวิชาการทางดนตรีและเพื่อศึกษาอิทธิพลใน
ฐานะนักวิชาการทางดนตรีของพระเจนดุริยางคที่มีตอชลหมู ชลานุเคราะห เปนการวิจัยโดยใชใชระเบียบเชิงคุณ ภาพ ใน
ลักษณะของการวิจัยเชิงประวัติศาสตร และการวิจัยเอกสาร ทําการรวบรวมขอมูลเอกสารสําคัญที่มาจากหอสมุด บุคคลขอมูล
และเว็บไซต นํามาทําการวิเคราะห ตรวจสอบ และสรุปขอมูล
ผลการวิจัยพบวา พระเจนดุริยางคหรือปติ วาทยะกร มีบทบาทในฐานะนักวิชาการดนตรีที่เกี่ยวกับการแปล และ
เรียบเรียงตําราดนตรีจากตางประเทศ โดยมีทั้งตําราทฤษฎีดนตรีเบื้องตน จนถึงทฤษฎีดนตรีขั้นสูง จากการแปลและเรียบเรียง
ตําราดนตรีจากตางประเทศนี้เอง เปนสาเหตุที่พระเจนดุริยางคไดบัญญัติศัพทเฉพาะทางดนตรีเปนภาษาไทยจํานวน 896 คํา
โดยจําแนกออกเปนกลุมศัพทบัญญัติที่เปนภาษาไทยและภาษาบาลีสนั สกฤตจํานวน 414 คํา การผสมผสานระหวางคําไทยและ
ภาษาตางประเทศจํานวน 136 คํา การทับศัพทจํานวน 107 คํา ตามลําดับ และนิยามศัพท 239 คํา นอกจากนี้ยังพบวาชลหมู
ชลานุเคราะห ซึ่งเปนลูกศิษยที่ไดรับการอบรมสั่งสอนดานดนตรีอยางเขมขนจากพระเจนดุริยางค และมีผลงานในการเขียน
คูมือทางดนตรีที่เรียบเรียงมาจากแบบเรียนดุริยางคศาสตรสากล ฉบับทูลเกลาทูล- กระหมอมถวายของพระเจนดุริยางค ที่
นํามาเผยแพรจําหนายใหแกสมาชิกสามัคยาจารยในปพ.ศ. 2522 โดยมีชื่อวา “คูมือคําถาม – คําตอบ วิชาดุริยางคศาสตร
สากลเบื้องตน”
คําสําคัญ บทบาท,นักวิชาการ,พระเจนดุริยางค,ชลหมู ชลานุเคราะห
Abstract
To research Phra Chen Duriyanga’s Role as Scholars in Music to Influences on Follower:
A Case Study to Cholamue Chalanukroh. Objective to study the role of Phra Chen Duriyanga as scholars in
music and to study the influence as academics in music of Phra Chen Duriyanga towards Cholamue
Chalanukroh. On research used the qualitative methodology in the aspect of historical research approach
and documentary research approach. The data analysis of important documents from libraries, personal
information and website were analysis, inspection and summary data.
The research found that Phra Chen Duriyanga or Piti Vadyakorn’s role as a musical scholar about
translation and compiled the foreign musical textbooks, consist of basic to advanced music theory. To the
translation and compiled musical textbooks from abroad resulting to Phra Chen Duriyanga established the

*
นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาดุริยางคศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
**
อาจารยประจํา คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยของแกน อาจารยที่ปรึกษาหลัก
***
อาจารยประจํา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน อาจารยที่ปรึกษารวม
musical terminology 8 9 6 words. Classification into groups a terminology in Thai and Pali Sanskrit 414
words, combined of Thai words and foreign language 136 words, transliteration 107 words and definition
239 words.Also, Cholamue Chalanukroh who’s a trained intensely musical from Phra Chen Duriyanga
which Cholamue Chalanukroh has written the musical textbooks from the “Textbook of the Western
Music Present for The King Rama IX of Phra Chen Duriyanga.That published distribution to members of The
Teachers Council of Thailand "Handbook of Questions – Answer an Introduction to The Western Music".
Keywords Role, Scholars, Phra Chen Duriyanga, Cholamue Chalanukroh

บทนํา

พระเจนดุริยางคไดรับการยกยองใหเปนบิดาแหงโนตสากลของไทย (สามาน นภายน,2536: 101) มีคุณูปการอันใหญ


หลวงแกแวดวงวิชาการทางดนตรีตะวันตกของประเทศไทย เปนผูเผยแพรองคความรูทางดนตรีตะวันตตกสูสังคมไทย ที่ไดมี
ผลงานการตีพิมพแบบเรียนจําหนายและเผยแพร ไดรับการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการอนุญาตใหใชสอนในโรงเรียนทั่ว
ประเทศ นอกจากนี้แบบเรียนทางดนตรีตะวันตกของพระเจนดุริยางค ที่ไดทูลเกลาทูลกระหมอมถวายนั้น ยังไดรับพระมหา
กรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 เขียนคํานิยมในแบบเรียนที่พระเจนดุริยางคไดทูลเกลาทูลกระหมอม
ถวายอีกดวย ผลจากการที่พระเจนดุริยางคไดเผยแพรแบบเรียน ตําราและคูมือตางๆ ทําใหคนไทยที่สนใจในดนตรีตะวันตกมี
โอกาสเขาถึงความรูทางดนตรีตะวันตกมากขึ้น สามารถศึกษาหาความรูไดดวยตนเองโดยไมจําเปนตองไปศึกษาตางประเทศ
พรอมกันนี้พระเจนดุริยางคยังไดบัญญัติศัพททางดนตรีที่เหมาะสมกับบริบทของคนไทย สามารถเขาใจคําศัพทที่เกี่ยวกับดนตรี
ตะวันตกไดงาย
แบบเรียน ตําราและคูมือทางดนตรีที่พระเจนดุริยางคไดแปลและเรียบเรียงนั้น มีความหลากหลายในเนื้อหาและ
ประเภททางดนตรี ดังที่พระเจนดุริยางคไดระบุรายการแบบเรียน ตําราและคูมือที่ไดทําการแปลและเรียบเรียงไว ไดแก 1)
แบบเรียนเบื้องตนของการดนตรีและการขับรองสําหรับใชในโรงเรียนสามัญ 2) ทฤษฎีการดนตรีตอนตน (Rudiments of
Music) 3) แบบฝกหัดบันทึกตัวโนต เพลงประกอบกับทฤษฎีการดนตรี 4) คําถามในทฤษฎีการดนตรีตอนตน 5) คําตอบใน
ทฤษฎีการดนตรีตอนตน 6) คูมือสรุปทฤษฎีการดนตรีเบื้องตน (เปนขั้นเตรียมการศึกษาวิชาประสานเสียง) 7) การประสาน
เสียงเบื้องตน (First Step on Harmony) 8) ตําราการประสานเสียง (Harmony) 3 เลมจบ 9) เฉลยปญหาในการประสาน
เสียง 10) ทฤษฎีการดนตรี (Theory of Music) (เจนดุริยางค,พระ,2497: 12) ซึ่งเปนสิ่งที่สะทอนถึงความเปนนักวิชาการทาง
ดนตรีของพระเจนดุริยางคที่มีความมุงหมายใหคนไทยไดเรียนรูดนตรีตะวันตกในมิติและแงมุมทางวิชาการดนตรีที่หลากหลาย
โดยทุกเลมพระเจนดุริยางคไดชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของการศึกษาดนตรีตะวันตกที่จะชวยยกระดับความเจริญทางดานดนตรี
และคานิยมเจริญเทาเทียมนานาอารยะประเทศ (เจนดุริยางค,พระ,2523: คํานํา)
อาจกลาวไดวาพระเจนดุริยางคเปนนักวิชาการทางดนตรีตะวันตกที่เปนคนไทยยุคแรกๆ ที่มีชื่อเสียงไดรับการยอมรับ
ในความรูและความเชี่ยวชาญโดยเฉพาะการสอนทฤษฎีดนตรีตะวันตกจนไดรับเชิญใหไปสอนในหนวยงานตางๆของทาง
ราชการ ดังตัวอยางของโรงเรียนดุริยางคทหารอากาศ ซึ่งเปนหนวยงานที่พระเจนดุริยางคไดมีสวนสําคัญในการกอตั้งเพื่อ
พัฒนานักดนตรีที่มีคุณภาพสูกองดุริยางคทหารอากาศ และที่โรงเรียนดุริยางคทหารอากาศนี้เองทําใหเกิดลูกศิษยทางดนตรี
มากมายและมีคุณภาพสรางชื่อเสียงในวิชาชีพทางดนตรีจนไดรับการยอมรับในระดับประเทศ โดยหนึ่งในจํานวนลูกศิษยที่ไดรับ
การอบรมสั่งสอนจากพระเจนดุริยางคนั้นคือ ชลหมู ชลานุเคราะห ซึ่งเปนลูกศิษยที่ไดรับการอุปการะ สนับสนุนสงเสริมจาก
พระเจนดุริยางคอยางเขมขน จนประสบความสําเร็จในสายวิชาชีพนักดนตรี ไดยึดถือแนวทางปฏิบัติตามคําสอนของพระเจน
ดุริยางค จนไดมีโอกาสเปนถึงหัวหนาแผนกดุริยางคสากล กองการสังคีต กรมศิลปากร ไดรับเกียรติใหเปนผูเชี่ยวชาญดุริยางค
สากล และดุริยางคศิลปน 7 กองการสังคีต กรมศิลปากร
ตลอดการรับราชการที่ กรมศิลปากรชลหมู ชลานุเคราะหไดพัฒ นาวงดุริยางคสากลของกรมศิลปากรใหมีความ
เจริญกาวหนา มีชื่อเสียงไดรับการยอมรับจากการจัดแสดงดนตรีครั้งสําคัญอยางการแสดงดนตรีครบรอบสองรอยปของลุกวิด
ฟาน เบโทเฟน และการแสดงเพลงชุด “คามินาบูรานา” จนทําใหวงดุริยางคสากลกรมศิลปากรมีชื่อเสียงในระดับโลก(ปญญา
นิตยสุวรรณ,2524: 85) ตอมาปพ.ศ.2513 เชื้อ สาริมาน อธิบดีกรมศิลปากรสมัยนั้น ไดมอบหมายใหชลหมู ชลานุเคราะห สอน
วิชาดุริยางคศาสตรสากลเบื้องตน และวิชาการประสานเสียงใหสมาชิกของคุรุสภา จนกลายเปนที่มาของการเขียนคูมือคําถาม -
คําตอบ วิชาดุริยางคศาสตรสากลเบื้องตน ซึ่งเปนตําราวิชาการดนตรีตะวันตกที่ชลหมู ชลานุเคราะหไดเขียนขึ้นในปพ.ศ. 2522
เพื่อชวยใหผูเรียนสามารถทบทวนเนื้อหาโดยยอไดดวยตนเอง เปนการสะทอนใหเห็นถึงความเปนนักวิชาการในการเผยแพร
องคความรูทางดนตรีตะวันตกของชลหมู ชลานุเคราะห ซึ่งจากการสืบคนประวัติของลูกศิษยของพระเจนดุริยางคจํานวนมาก
พบวา ชลหมู ชลานุเคราะหเปนลูกศิษยเพียงคนเดียวของพระเจนดุริยางคที่มีผลงานวิชาการทางดนตรีเผยแพร

วัตถุประสงคของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาบทบาทของพระเจนดุริยางคในฐานะนักวิชาการทางดนตรี
2. เพื่อศึกษาอิทธิพลในฐานะนักวิชาการทางดนตรีของพระเจนดุริยางคที่มีอิทธิพลตอชลหมู ชลานุเคราะห

วิธีการศึกษา
ใชระเบียบเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ในลักษณะของวิจยั เชิงประวัติศาสตร (Historical Research
Approach) และการวิจัยเอกสาร (Documentary Research Approach) โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
1. การรวบรวมขอมูลจากหองสมุด
ทําการเก็บรวบรวมขอมูลเอกสารจากแหลงขอมูลทีส่ ําคัญ ไดแก หอสมุดแหงชาติ หอสมุดดํารง
ราชานุภาพ หอสมุดกลางมหาวิทยาลัยมหิดล หอสมุดวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล และหอสมุดกลาง
มหาวิทยาลัยขอนแกน
2. การรวบรวมขอมูลจากบุคคล
ไดรับความอนุเคราะหขอมูลเอกสารที่สําคัญจากศาสตราจารยนายแพทยพูนพิศ อามาตยกุล
ผูเชี่ยวชาญดานประวัติศาสตรและพัฒนาการดนตรีในสังคมไทย พันตํารวจโททีฆา โพธิเวส ลูกศิษยพระเจนดุริยางค อดีต
สารวัตร กองดุริยางคตํารวจ คุณรัตนาวดี วงศวโรทัย ซึ่งเปนทายาทของพระเจนดุริยางคและไดเก็บเอกสารสําคัญของพระเจน
ดุริยางค ไว และอาจารยดร.สัจธรรม พรทวีกุล อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ที่ไดรวบรวม
แบบเรียนการดนตรีและการขับรอง ฉบั บทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย เลมที่ 1 – 3 แบบเรียนดุริยางคศาสตรสากล ฉบั บ
ทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย และแบบเรียนวิชาการประสานเสียงเลม 1 – 2
3. การรวบรวมขอมูลจากรานขายหนังสือเกา
ทําการสืบคนจากเว็บไซตและสื่อออนไลนเกี่ยวกับรานขายหนังสือหายากจากรานหนังสือลุงทอง
http://www.lungthong.com/ ไดทําการสังซื้อแบบเรียนการดนตรีของพระเจนดุริยางค และการขับรองเลม 1
4. การสืบคนรวบรวมจากเว็บไซต
สืบคนเอกสารฉบับเต็มของตําราดนตรีตางประเทศที่พระเจนดุริยางคใชในการแปลและเรียบเรียง
ตําราวิชาการทางดนตรี ในรูปแบบไฟลเอกสารอีเล็คทรอนิกสจากเว็บไซต http://www.archive.org
เมื่อผูวิจัยรวบรวมเอกสารเกี่ยวกับชีวประวัติของพระเจนดุริยางค และชีวประวัติของชลหมูชลานุ
เคราะห ผลงานแบบเรียนตํารา เอกสารโนตเพลงที่ประพันธและเรียบเรียงเสียงประสาน ตําราดนตรีตะวันตกตางประเทศของ
พระเจนดุริยางค ตลอดจนรูปภาพสําคัญที่เกี่ยวของกับงานวิจัย จากนั้นจึงทําการจําแนกขอมูลตามประเด็นที่จะทําการศึกษา
และทําการตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูลโดยการเปรียบเทียบขอมูลจากหลายๆแหง ตรวจสอบวัน เวลา สถานที่ และ
เหตุการณที่ผูเขียนไดบันทึก เมื่อเห็นวามีความสอดคลองกันจึงจําแนกหมวดหมูขอมูล และจัดกระทําขอมูล จากนั้นไดทําการ
วิเคราะหและเชื่อมโยงขอมูลและหาความสัมพันธของขอมูลแตละประเด็นแตละประเด็นใหสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย
แลวทําการสรุปและเรียบเรียงขอมูลนําเสนอ
ผลการศึกษา
จากการศึกษาเกี่ยวกับบทบาททางดนตรีของพระเจนดุรยิ างคในฐานะนักวิชาการทางดนตรี จําแนกออกเปนประเด็น
ที่ศึกษาดังตอไปนี้
1 ผลงานการแปลและเรียบเรียงตําราและแบบเรียนทางดนตรีตะวันตกของพระเจนดุริยางค
พระเจนดุริยางคเปนนักวิชาการทางดนตรียุคแรกๆของประเทศไทยทีม่ ีบทบาทสําคัญในการเผยแพรความรู
ทางวิชาการดานดนตรีตะวันตกสูสังคมไทย จนไดรับสมญานามวา “ผูวางรากฐานทางดนตรีสากลของประเทศไทย”โดยไดแปล
และเรียบเรียงตําราดนตรีจากตางประเทศมาเปนภาษาไทยเพื่อใหคนไทยไดศกึ ษาดนตรีตะวันตก ตั้งแตทฤษฎีดนตรีขั้นเบื้องตน
จนถึงทฤษฎีดนตรีขั้นสูง โดยแบบเรียนและตําราที่พระเจนดุริยางไดเรียบเรียงและเผยแพร สามารถจําแนกออกเปนหมวดหมู
ไดแก
1.1 หนังสือและแบบเรียนทีท่ ลู เกลาทูลกระหมอมถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาล
ที่ 9 ไดแก
1.1.1 หลักวิชาการดนตรีและการขับรองเลมที่ 1 – 3 จัดพิมพจําหนายครั้งแรกในป
พ.ศ. 2495 เปนตําราที่พระเจนดุริยางคพระเจนดุริยางคจึงไดทูลเกลาฯถวายลิขสิทธิ์ในการจําหนายหนังสือหลักวิชาการดนตรี
และการขับรองเลมที่ 1 – 3 ใหกับพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 นําไปใชในการจัดสรางโรงโคนมในบริเวณพระ
ตําหนักสวนจิตรลดารโหฐาน นอกจากนี้หนังสือเลมดังกลาวยังไดรับการอนุญาตจากกระทรวง ศึกษาธิการใหใชเปนแบบเรียน
ในโรงเรียนสามัญ นอกจากนี้ยังพบวาพระเจนดุริยางคนําตัวอยางเพลงจากมาหนังสือเพลง “Songs The Children Love To
Sing” ที่เรียบเรียงเพลงสําหรับการขับรองและบรรเลงโดย Albert E. Wier ตีพิมพจําหนายในป ค.ศ. 1916 มาใชเปนแบบฝก
ขับรองและบันทึกโนตเพลงประกอบหนังสือหลักวิชาการดนตรีและการขับรอง เลม 1 อีกดวย

ภาพที่ 1 ปกหนังสือหลักวิชาการดนตรีและการขับรองเลมที่ 1 - 3 และปกหนังสือเพลง “Songs


The Children Love To Sing” เรียบเรียงเพลงสําหรับการขับรองและบรรเลงโดย Albert E. Wier ตีพิมพจําหนายในป ค.ศ.
1916
ที่มาของภาพ : สัจธรรม พรทวีกุล และwww.archive.org สืบคนเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2559

1.1.2 แบบเรียนดุริยางคศาสตรสากล ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย พิมพจําหนาย


ครั้งแรกในปพ.ศ. 2496 พระเจนดุริยางคไดปรับปรุงเพิ่มเติมเนื้อหาจากแบบเรียนเลมเดิมที่เคยเผยแพรตั้งแตปพ.ศ. 2475 พระ
เจนดุริยางคจึงไดทูลเกลาถวายลิขสิทธิ์โดยรายไดจากการจําหนายแบบเรียนเลมนี้เขาโครงการสรางโรงโคนมในบริเวณพระ
ตําหนักสวนจิตรลดารโหฐานซึ่งกระทรวงศึกษาธิการไดอนุญาตใหนําไปใชเปนแบบเรียนในการสอนนักเรียนตั้งแตปพ.ศ.2475
ซึ่งเปนเนื้อหาเกี่ยวกับพื้นฐานทฤษฎีดนตรีตะวันตก
1.1.3 แบบเรี ย นวิ ช าการประสานเสี ย งเล ม ที่ 1 และ 2(ภาคจบ) ฉบั บ ทู ล เกล า
ทูลกระหมอมถวาย ไดมีการพิมพจําหนายครั้งแรกในปพ.ศ. 2504 เปนตําราที่ทูลเกลาทูลกระหมอมถวายแดพระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 ตั้งแตปพ.ศ.2504 เปนเลมที่มีลําดับเนื้อตอเนื่องกัน มีเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการประสานเสียงในดนตรี
ตะวันตก โดยพระเจนดุริยางคไดทําการแปลเนื้อหามาจากตําราดนตรีจากตางประเทศชื่อวา “Harmony for Students”
เขียนโดย A.Eaglefield Hull ตีพิมพในป พ.ศ. 2434 ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยสํานักพิมพ Augener พบวาการ
แปลและเรียบเรียงของพระเจนดุริยางคนั้นมีรูปแบบการเขียนที่คลายกัน ทั้งการลําดับหัวขอเนื้อหา และโจทยแบบฝกหัด
นอกจากนี้ยังพบวาพระเจนดุริยางคไดใชหนังสือ “Method of Teaching Harmony” เขียนโดย Frederick G.Shin ตีพิมพใน
ป พ.ศ. 2447 ที่ ก รุ ง ลอนดอน ประเทศอั ง กฤษ โดยสํ า นั ก พิ ม พ The Vincent Music Company Limited และตํ า รา
“Elementary Harmony Part III” เขี ย นโดย C.H. Kitson ตี พิ ม พ ในป พ.ศ. 2476 ที่ ก รุ งลอนดอน ประเทศอั งกฤษ โดย
สํานักพิมพ Oxford University Press

ภาพที่ 2 ปกหนังสือเพลงแบบเรียนวิชาการประสานเสียง และภาพปกหนังสือ Harmony for


Student และหนังสือ Method of Teaching Harmony ที่พระเจนดุริยางคแปลและอางอิงในการเขียนแบบเรียนวิชาการ
ประสานเสียง
ที่มาของภาพ : สัจธรรม พรทวีกุล และ www.archive.org สืบคนเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.
2559

ภาพที่ 3 ปกหนังสือแบบเรียนวิชาการประสานเสียง ภาคสอง (ตอนจบ) และ ปกหนังสือ Elementary


Harmony Part III
ที่มาของภาพ : สัจธรรม พรทวีกุล และ www.archive.org สืบคนเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2559
1.2 ตําราและแบบเรียนที่พระเจนดุริยางคจัดพิมพจําหนายและเผยแพรในหนวยงานที่พระ
เจนดุริยางคปฏิบัติราชการ
1.2.1 แบบเรียนชั้นตนของการดนตรีและการขับรองเลมที่ 1พิมพจําหนายครั้งแรกในป
พ.ศ.2481 มีจุดประสงคเพื่อใหเด็กนักเรียนที่ยังเยาววัยไดใชเรียน มีเนื้อหาเกี่ยวกับพื้นฐานทางทฤษฎีดนตรีเบื้องตน เปนการ
ตอยอดไปสูการเรียนทฤษฎีดนตรีขั้นสูงกวาตอไป
1.2.2 แบบเขี ย นเครื่ อ งหมายในการดนตรี จั ด พิ ม พ เผยแพรป พ .ศ.2479 โดยกรม
ศิลปากร เปนตําราที่มุงนําเสนอหลักการบันทึกโนตและสัญลักษณทางดนตรีที่ถูกวิธี ไดแก ทาทางการเขียน การจับดินสอหรือ
ปากกา การบันทึกโนตแบบสกอรแบบยอ การขีดหางของตัวโนต การจัดระยะหางของการบันทึกโนตหลายแนว ฯลฯ มีการ
อธิบายและเปรียบเทียบยกตัวอยางการบันทึกที่ถูกตองกับไมถูกตอง
1.2.3 คูมือดุริยางคศาสตรประถม จัดพิมพในเดือน กรกดาคม (สะกดตามที่ระบุใน
เลม) พ.ศ.2486 พระเจนดุริยางคมีจุดหมายในการเขียนตํารานี้ขึ้นเพื่อใหนักศึกษาที่ผานการเรียนทฤษฎีมาอยางละเอียดแลว
นํามาใชทบทวนเพื่อเตรียมตัวสอบวิชาทฤษฎีดนตรี โดยเนื้อหาเปนการนําสาระทางทฤษฎีดนตรีขั้นประถม และนํามาหลักการ
ทางทฤษฎีดนตรีมากลาวไวโดยยอ
1.2.4 ทฤษฎีการดนตรีเกี่ยวกับเสียงและเครื่อง จัดพิมพขึ้นในปพ.ศ. 2499 เปนตําราที่
พระเจนดุริยางคใชเวลาเรียบเรียงในระหวางที่ปฏิบัติราชการที่กรมตํารวจ โดยเปนตําราที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตรของเสียงหรือ
วิชาอคุสติค(Acoustic)มีการกลาวอางถึงเรื่องวิทยาศาสตรทางเสียงของ HERMANN L. F. HELMHOLTZ นักวิทยาศาสตรชาว
เยอรมัน เขียนหนังสือเรื่อง “On the Sensations of Tone” แปลเปนภาษาอังกฤษโดย ALEXANDER J. ELLIS ตีพิมพในป
พ.ศ. 2438 พิ ม พ ที่ ก รุ งลอนดอนประเทศอั งกฤษ โดยสํ า นั ก พิ ม พ Longmans,Green and Co และหนั งสื อ Harmonie
Universelle เขียนโดย Marin Mersenne ชาวฝรั่งเศส วิธีการเฉลี่ยความสูง – ต่ํา ของระดับเสียงใหเทากันในบันไดเสียง
(Scale of Equal Temperament)
1.2.5 ตํ า ราคํ า ถาม – คํ า ตอบ ดุ ริ ย างคศาสตร ส ากลเบื้ อ งต น 400 ข อ โดย
ศาสตราจารยพระเจนดุริยางค เนื้อหาและรูปแบบการเขียนตําราเลมดังกลาวพระเจนดุริยางคไดแปลมาจากหนังสือที่มีชื่อวา
“400 Questions on the Rudiments of Music” เขียนโดย James Simpson ตีพิมพปพ.ศ.2443 ซึ่งมีขอคําถามที่มีเนื้อหา
เดียวกันกับที่พระเจนดุริยางคแปลเปนภาษไทย มีคําถามจํานวน 400 ขอ

ภาพที่ 4 ปกหนังสือ คําถามวิชาดุริยางคศาสตรเบื้องตน (Questions on the Rudiments of


Music) กับหนังสือ 400 Questions on the Rudiments of Music ที่พระเจนดุริยางคนํามาแปลและเรียบเรียงเป นฉบั บ
ภาษาไทย
ที่มาของภาพ : รัตนาวดี วงศวโรทัย และ www.archive.org สืบคนเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.
2558
1.2.6 หลักวิชาดนตรีและขับรอง เรียบเรียงโดยศาสตราจารยพระเจนดุริยางคแหง
มหาวิทยาลัยศิลปากร พิมพจําหนายในปพ.ศ. 2492 ในการจัดทําแบบเรียนเลมนี้พระเจนดุริยางคมีความประสงคใหนักเรียน
สามารถบันทึกและขับรองโน ตเพลงในขั้น ตนได โดยเหตุมาจากการที่ ประเทศไทยในขณะนั้นยังไมมีการจัดทําตําราเรียน
เกี่ยวกับดนตรีเทาที่ควร
1.3 หนังสือที่เผยแพรในอนุสรณงานฌาปนกิจศพ
1.3.1 คํ าแนะนํ าวิ ธี รัก ษาเครื่ อ งดนตรี พิ ม พ ขึ้ น ในวั น ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ.2496
ตีพิมพแจกเปนที่ระลึกในการปลงศพนายดํารง เผื่อนยิ่งยง ณ เมรุวัดพระพิเรนทร เปนหนังสือที่วาดวยการดูแลรักษาเครื่อง
ดนตรีในวงดุริยางคเปนหลัก
1.3.2 เรื่องการดนตรี ของพระเจนดุริยางค พิมพในงานฌาปนกิจศพนายสาโรช อัศว
รั ก ษ วั น ที่ 3 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2497 ณ เมรุ วั ด มงกุ ฎ กษั ต ริ ย าราม เป น หนั งสื อ ที่ เกี่ ย วกั บ ความซาบซึ้ งในดนตรี (Music
Application) นอกจากนี้ยังไดอธิบ ายเกี่ยวกับธรรมเนียมและมารยาทในการรับชมรับ ฟงการแสดงดนตรีประเภทซิมโฟนี
คอนเสิรตประเภทของบทเพลงที่ใชบรรเลงในดนตรีตะวัน

2. ผลงานการแปล นิยาม และบัญญัติศัพททางดนตรีของพระเจนดุริยางค


การแปลและเรียบเรียงตําราดนตรีจากตางประเทศของพระเจนดุริยางคมีคําศัพ ททางดนตรี
ตะวันตกหลายคําที่พระเจนดุริยางคไดทําการบัญญัติศัพทเปนภาษาไทยหรือคําบาลีสันสกฤต การทับศัพทภาษาตางประเทศ
และการผสมผสานระหวางคําไทยกับภาษาตางประเทศ เพื่อใหเหมาะสมและเกิดความสะดวกสําหรับคนไทยที่สนใจศึกษา
วิชาการดนตรี ทําการคัดสืบคนคําศัพททางดนตรีจากตําราแบบเรียนของพระเจนดุริยางค ไดแก แบบเรียนดุริยางคศาสตร
สากล ฉบับทูลเกลาทลกระหมอมถวาย แบบเรียนวิชาการประสานเสียง แบบเรียนวิชาการประสานเสียง ภาคสอง (ตอนจบ)
แบบเรียนชั้นตนของการดนตรีและการขับรอง หนังสือทฤษฎีดนตรีเกี่ยวกับเสียงและเครื่อง และคูมือดุริยางคศาสตรประถม
นอกจากนี้ยังพบวาพันโทพระอภัยพลรบ (พลอย เพญกุล) ไดเคยแตงตําราดนตรีวิทยาทูลเกลา
ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวราชกาลที่ 5 ในปพ.ศ. 2455 และไดทับศัพทดนตรีตะวันตกในสัญลักษณทาง
ดนตรีคําวา “ชารป” (Sharp) คําวา “แฟลต” (Flat) “เพี้ยนสูง” (Raise) “เพี้ยนต่ํา” (Lowered) ทั้งนี้คําศัพททางดนตรีของ
พระเจนดุริยางคที่ผูวิจัยไดทําการสืบคนนั้น จําแนกออกเปน 1) กลุมคําศัพทที่พระเจนดุริยางคไดนิยาม ทับศัพทและผสมคํา
ไทยกับคําตางประเทศ 2) กลุมคําศัพทที่พระเจนดุริยางคไดอธิบายหรือนิยามความหมาย รวมทั้งสิ้นจํานวน 896 คํา โดยมี
คําศัพทที่บัญญัติศัพทเปนภาษาไทยและบาลีสันสกฤตมากที่สุดจํานวน 414 คํา รองลงมาเปนการผสมคําไทยกับตางประเทศ
นอยที่ สุดจํานวน 136 และการทับ ศัพทออกเสียงเปน ภาษาตางประเทศจํานวน 107 คํา ตามลําดับ นอกจากนี้ยังพบวามี
คําศัพทที่พระเจนดุริยางคไดนิยามความหมายอีก 239 คํา
จากความรูความสามารถทางดานวิชาการดนตรีและความเพียรพยายามของพระเจนดุริยางคใน
การเผยแพรความรูดานวิชาการทางดนตรีตะวันตกทําใหพระยาอนุมานราชธน อธิบดีกรมศิลปากร ไดทูลเกลาทูลกระหมอม
ถวายราชชื่อพระเจนดุริยางคแดพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8เพื่อขอพระราชทานตําแหนง
ศาสตราจารย ประจําแผนกดุริยางคศิลป ประจํามหาวิทยาลัยศิลปากร ในป พ.ศ. 2486 (ชลหมู ชลานุเคราะห,2536: 92)

3. อิทธิพลของพระเจนดุริยางคในฐานะนักวิชาการทางดนตรีที่มีตอชลหมู ชลานุเคราะห
บทบาทของพระเจนดุริยางคในฐานะนักวิชาการทางดนตรีผูมีผลงาน และคุณูปการตอแวดวง
การศึกษาดนตรีใหกับสังคมไทย ทําใหผูที่สนใจในวิชาการดนตรีมีตําราสําหรับศึกษาดนตรีตะวันตกอยางรอบดาน ทั้งพื้นฐาน
ทฤษฎีดนตรีจนถึงหลักการประสานเสียงซึ่งเปนศาสตรทางดนตรีขั้นสูง สั่งสอนใหความรูทางดนตรีตะวันตกแกลูกศิษยหลายคน
จนประสบความสําเร็จในดานวิชาชีพทางดนตรี หลายคนไดรับการยอมรับในระดับประเทศ อาทิ เอื้อ สุนทรสนาน นารถ ถาวร
บุตร สมาน กาญจนผลิน สงา อารมภีร ฯลฯ ชลหมู ชลานุเคราะห หนึ่งในลูกศิษยคนสําคัญของพรเจนดุริยางค ผูที่เคยศึกษา
ดนตรีกับพระเจนดุริยางค เปนลูกศิษยผูใกลชิดกับพระเจนดุริยางค และยังไดรับอิทธิพลในความเปนนักวิชาการทางดนตรี
ตะวันตกโดยการเขียนคูมือทางดนตรี โดยมีรายละเอียดดังนี้
3.1 ชีวประวัติและผลงานทางดานวิชาการดนตรีของชลหมู ชลานุเคราะห ที่ไดรับอิทธิพลจาก
พระเจนดุริยางค
ชลหมู ชลานุเคราะห เกิดวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.2466 มีภูมิลําเนาอยูที่ แขวงหิรัญรูจี
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร หลังจากสอบไลไดชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ในปพ.ศ.2484 ตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการสมัยนั้น
ซึ่งเปนระดับชั้นสูงสุดแลว ชลหมู ชลานุเคราะหไดสมัครเขาเรียนที่โรงเรียนดุริยางคทหารอากาศ ทุงมหาเมฆ กรุงเทพมหานคร
ในปพ.ศ.2485 ซึ่งเปดรับสมัครเปนรุนแรก โดยมีพระเจนดุริยางคเปนครูผสู อนดนตรีตะวันตกดวยตัวเอง ชลหมู ชลานุเคราะหมี
ความมานะอุตสาหะเอาใจใสในการเรียนอยางมาก จนกระทั่งพระเจนดุริยางคไดหารือกับนายแมน ชลานุเคราะหพี่ชายของชล
หมูชลานุเคราะหในการที่จะขออนุญาตจากมารดาเพื่อขอชลหมู ชลานุเคราะหไปชุบเลี้ยงดูแล โดยพักอาศัยที่บานของพระเจน
ดุริยางคเพื่ออบรมสั่งสอนทางดานดนตรีอยางเขมขน จนกระทั่งชลหมู ชลานุเคราะหสามารถสอบไลไดลําดับที่ 1 จากนักเรียน
ดุริยางคในชั้นเรียนราวๆ 50 คน
ตอมาปพ.ศ.2485 นั้นเอง ชลหมู ชลานุเคราะหไดตัดสินใจลาออกจากโรงเรียนดุริยางค
ทหารอากาศ เนื่องดวยไมตองการผูกมัดกับสัญญาที่ทําไวกับโรงเรียนดุริยางคทหารอากาศ จากนั้นมาชลหมู ชลานุเคราะหจึง
ไดมาศึกษาหลักการประสานเสียงขั้นสูงแบบตัวตอตัวกับพระเจนดุริยางคที่บานของทาน ตอมาปพ.ศ.2486 ไดสมัครเปนทหาร
เกณฑประจํากองดุริยางค มณฑลทหารบกที่1 จนสงครามโลกครั้งที่ 2 สงบลงในปพ.ศ.2488 ชลหมู ชลานุเคราะห ไดปลด
ประจําการและไปสมัครอบรมดานดนตรีสากลในฐานะศิลปนสํารอง แผนกดุริยางคสากล กองการสังคีต กรมศิลปากร ตอมา ป
พ.ศ.2489 ไดรับบรรจุรับราชการพลเรือนสามัญ ตําแหนงศิลปนจัตวา สังกัดแผนกดุริยางคสากล กองการสังคีต กรมศิลปากร
และไดเจริญกาวหนาในหนาที่ราชการตอเนื่อง จนไดรับการแตงตั้งใหเปนหัวหนาแผนกดุริยางคสากล ปพ.ศ.2512 และตอมา
ดํารงตําแหนงดุริยางคศิลปน 7 ทําหนาที่ผูเชี่ยวชาญดุริยางคสากล กองการสังคีต กรมศิลปากร ในปพ.ศ.2514
จากการคนควาขอมูลของชลหมู ชลานุเคราะห พบวามีผลงานการเขียนตําราเกี่ยวกับ
ทฤษฎีดนตรีจํานวน 1 เลมชื่อวา “คูมือ คําถาม – คําตอบ วิชาดุริยางคศาสตรสากล (เบื้องตน)” โดยตําราดังกลาวเกิดขึ้นใน
ระหวางที่ชลหมู ชลานุเคราะหไดถูกเชิญไปสอนวิชาทฤษฎีดนตรีใหกับสมาชิกสามัคยาจารยหรือคุรุสภาในปจจุบัน ในพ.ศ.
2513 เปนเวลา 6 ป โดยชลหมู ชลานุเคราะหเขียนตําราเพื่อใหเกิดความสะดวกแกผูเขาเรียน เนื่องจากสวนมากเปนผูใหญที่มี
อายุคอนขางมาก ทําใหไมสะดวกในการจดจําเนื้อหา ชลหมู ชลานุเคราะหจึงไดนําเนื้อหาจากแบบเรียนดุริยางคศาสตรสากล
ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย ของพระเจนดุริยางค มาเปนแนวทางในการเขียนคูมือคําถาม – คําตอบ ทางดุริยางคศาสตร
สากลเบื้องตน

ภาพที่ 5 ปกคูม ือ คําถาม – คําตอบ ทางดุริยางคศาสตรสากลเบื้องตนเรียบเรียงโดยชลหมู ชลา


นุเคราะห ซึ่งไดนําแบบเรียนดุริยางคสาสตรสากล ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย ของพระเจนดุริยางค นํามาเปนตนแบบใน
การเขียนคูมือ
ที่มาของภาพ : หอสมุดดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล และสัจธรรม พรทวีกุล
จากการศึกษาคูมือ คําถาม – คําตอบ วิชาดุริยางคศาสตรสากล (เบื้องตน) ของชลหมู ชลานุเคราะห พบวา เปนคูมือ
ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานทางทฤษฎีดนตรีตะวันตกเบื้องตน จํานวน 300 ขอ แบงเนื้อออกเปน 4 ตอน แตละตอนจะ
มีจํานวนบทยอยๆแตกตางกันออกไป สําหรับคําถามในแตละขอจะมีคําตอบเฉลยใหหลังคําถาม ทําใหผูอานเขาใจแนวคําตอบ
ไดทันที นอกจากนี้ยังพบวา เปนการนําเนื้อหาในแบบเรียนริยางคศาสตรสากลของพระเจนดุริยางคมาเรียบเรียงใหมใหเปน
ลักษณะคําถาม - คําตอบ โดยทั้งเนื้อหา และการใชศัพทบัญญัติตางๆ ลวนมาจากแบบเรียนดุริยางคศาสตรสากลของพระเจน
ดุริยางคทั้งสิ้น (ชลหมู ชลานุเคราะห,2522:คํานํา – สารบัญ)

สรุปผลและอภิปรายผลการวิจยั

จากการศึกษาบทบาทของพระเจนดุริยางคในฐานะนั กวิชาการทางดนตรีที่ มีอิท ธิพ ลตอลู กศิษย พบวา พระเจน


ดุริยางคเปนศาสตราจารยทางดนตรีคนแรกของประเทศไทย โดยพระยาอนุมานราชธน อธิบดีกรมศิลปากรสมัยนั้น ไดเสนอ
รายชื่อทูลเกลาทูลกระหมอมดํารงตําแหนงศาสตราจารยทางดนตรี จนไดรับการโปรดเกลาฯจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
รัชกาลที่ 8 แตงตั้งพระเจนดุริยางคเปนศาสตราจารยทางดนตรีแหงมหาวิทยาลัยศิลปากร (ชลหมู ชลานุเคราะห,2536: 92)
ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาพระเจนดุริยางคไดแปลและเรียบเรียงตําราแบบเรียนและคูมือทางดนตรีตะวันตกเปนจํานวนหลายเลม
และยั งเป น นั ก วิ ชาการดนตรี ค นแรกๆที่ ได บั ญ ญั ติ ศั พ ท ท างดนตรี ทั บ ศั พ ท และใช คํ า ผสมผสานระหว า งภาษาไทยกั บ
ภาษาตางประเทศ ใหเหมาะสมกับคนไทยเพื่อทําใหงายตอการศึกษาทฤษฎีดนตรีตะวันตก

1. ผลงานการแปลและเรียบเรียงตํารา แบบเรียน และคูม อื ทางดนตรีตะวันตกเปนภาษาไทย


อยางไรก็ตามจากการคนควาและรวบรวมแบบเรียน ตํารา และคูมือทางดนตรีของพระเจนดุริยางคจํานวน 14 เลม
ไดแก หลักวิชาการดนตรีและการขับรองเลมที่ 1 หลักวิชาการดนตรีและการขับรองเลมที่ 2 หลักวิชาการดนตรีและการขับรอง
เลมที่ 3 แบบเรียนดุริยางคศาสตรสากล ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย แบบเรียนวิชาการประสานเสียง แบบเรียนวิชาการ
ประสานเสียงภาคสอง (ตอนจบ) แบบเรียนชั้นตนของการดนตรีและการขับรองเลมที่ 1 แบบเขียนเครื่องหมายในการดนตรี
คูมือดุริยางคศาสตรประถม ทฤษฎีการดนตรีเกี่ยวกับเสียงและเครื่อง ตําราคําถาม – คําตอบ ดุริยางคศาสตรสากลเบื้องตน
400 ขอ โดยศาสตราจารยพระเจนดุริยางค หลักวิชาดนตรีและขับรอง เรียบเรียงโดยศาสตราจารยพระเจนดุริยางคแห ง
มหาวิทยาลัยศิลปากร คําแนะนําวิธีรักษาเครื่องดนตรี เรื่องการดนตรีของพระเจนดุริยางค
จากรายการดังกลาวพบวาไมสอดคลองกับบันทึกความทรงจําของพระเจนดุริยางค สามสิบหาปในชีวิตการดนตรี
2460 – 2495 (เจนดุริยางค,พระ,2497: 14) และจากบทความของมนตรี ตราโมท (2516: 39) ดังนี้
1.1 ไมปรากฎแบบเรียนตอนตนของการดนตรีและการขับรองสําหรับใชในโรงเรียน
สามัญ ผูวิจัยเห็ นวาอาจถูกนําไปปรับปรุงรวมไวกับหลักวิชาการดนตรีและการขับ รอ งเล มที่ 1 – 3 เนื่ องจากมี ชื่อตําราที่
สอดคลองกันเกี่ยวกับดนตรีตอนตนและการขับรอง
1.2 ไมปรากฎตําราทฤษฎีการดนตรีตอนตน (Rudiments of Music) ผูวิจัยเห็นวา
อาจถูกนําไปปรับปรุงรวมไวกับแบบเรียนดุริยางคศาสตรสากล ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย เนื่องจากมีเนื้อหาเกี่ยวกับ
ทฤษฎีดนตรีเบื้องตน ซึ่งแบบเรียนดุริยางคศาสตรสากล ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย มีเนื้อหาเกี่ยวกับการปูพื้นฐานทาง
ทฤษฎีดนตรีตะวันตกในขั้นพื้นฐาน
1.3 ไมปรากฎแบบฝกหัดบันทึกตัวโนตเพลงประกอบกับทฤษฎีดนตรี บันทึกความทรง
จําของพระเจนดุริยางค สามสิบหาปในชีวิตการดนตรี 2460 – 2495 และจากบทความของมนตรี ตราโมท
1.4 ตําราคําถามในทฤษฎีการดนตรีตอนตน และตําราคําตอบทฤษฎีการดนตรีตอนตน
ผูวิจัยมีความเห็นวาอาจถูกนํารวมเปนเลมเดียวกัน 400 ขอ เนื่องจากพบวาตําราคําถาม – คําตอบ ดุริยางคศาสตรสากล
เบื้องตน 400 ขอ โดยพระเจนดุริยางคเปนตําราเลมเดียวที่เขียนในลักษณะนี้
1.5 ไมปรากฎตําราชื่อคูมือสรุปทฤษฎีการดนตรีเบื้องตนซึ่งเปนชั้นเตรียมการศึกษา
วิชาการประสานเสียง บันทึกความทรงจําของพระเจนดุริยางค สามสิบหาปในชีวิตการดนตรี 2460 – 2495 และจากบทความ
ของมนตรี ตราโมท
1.6 ตํ า ราการประสานเสี ย งเบื้ อ งต น (First Step on Harmony) และตํ า ราการ
ประสานเสียง (Harmony) 3 เลมจบ ที่พระเจนระบุไวในบันทึกความทรงจําของพระเจนดุริยางค สามสิบหาปในชีวิตการดนตรี
2460 – 2495 และพระเจนดุริยางค (ปติ วาทยะกร) เขียนโดยมนตรี ตราโมท ไมปรากฎวามีการเผยแพรจําหนาย สวนตํารา
การประสานเสียงนั้นเทาที่ปรากฎมีการแบงออกเปน 2 เลมจบเทานั้น ผูวิจัยเห็นวาพระเจนดุริยางคหรือทางสํานักพิมพอาจจะ
ทําการรวมเนื้อหาเขากันเปน 2 เลม
1.7 ตําราเฉลยปญหาในการประสานเสียงที่พระเจนระบุไวในบันทึกความทรงจําของ
พระเจนดุริยางค สามสิบหาปในชีวิตการดนตรี 2460 – 2495 และพระเจนดุริยางค (ปติ วาทยะกร) เขียนโดยมนตรี ตราโมท
ไมปรากฎวามีการเผยแพรจําหนาย ผูวิจัยเห็นวาอาจจะถูกนําไปรวมในเลมแบบเรียนวิชาการประสานเสียง (เลมที่ 1) ฉบับ
ทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย เนื่องจากปรากฏวามีการแทรกคําถามประมวลความรูท างหลักการประสานเสียงจํานวน 100 ขอใน
หนาที่ 149 – 161
1.8 ไมป รากฎชื่อตําราทฤษฎีด นตรี (Theory of Music) ผูวิจัยเห็ นวาอาจถูก นําไป
ปรับปรุงรวมไวกับแบบเรียนดุริยางคศาสตรสากล ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย เนื่องจากมีเนื้อหาเกี่ยวกับทฤษฎีดนตรี
เบื้องตน ซึ่งแบบเรียนดุริยางคศาสตรสากล ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย มีเนื้อหาเกี่ยวกับการปูพื้นฐานทางทฤษฎีดนตรี
ตะวันตกในขั้นพื้นฐาน
จากขอมูลที่ไมสอดคลองกันดังกลาวดังที่ผูวิจัยแสดงขอคิดเห็นวาตําราแบบเรียนและ
คูมือทางดนตรีของพระเจนดุริยางคที่ไดแปลและเรียบเรียงไวแตแรกอาจถูกนําไปรวมเลมเพื่อจัดพิมพจําหนายตามประเภทของ
เนื้อหาสาระ นอกจากการที่ผูวิจัยไดทําการรวบรวมแบบเรียนตําราและคูมือทางดนตรีของพระเจนดุริยางคยังพบวาพระเจน
ดุริยางค ไดสั่ งซื้อ และสะสมตําราดนตรีจากตางประเทศหลายเล มและไดถู กนํ ามาแปลและถูก นํามาอางอิง ซึ่ งปรากฎใน
แบบเรียน ตํารา และคูมือทางดนตรีตะวันตกของพระเจนดุริยางค ไดแก
1) สมุ ด เพลงที่ ชื่ อ ว า “Songs The Children Love To Sing”ของสํ า นั ก พิ ม พ D.
Appleton and Company จําหนายทั้ง New York และLondon ปค.ศ. 1916 ใชเปนสื่อประกอบการสอนในแบบเรียนการ
ดนตรีและการขับรองเลม 1 – 3
2) หนังสือ Harmony for Students เขียนโดย A.Eaglefield Hull ตีพิมพในป พ.ศ.
2434 (ค.ศ.1891) ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยสํานักพิมพ Augener พระเจนดุริยางคไดแปลเนื้อหาและใชตัวอยางใน
แบบเรียนวิชาการประสานเสียง ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย
3) หนังสือ Method of Teaching Harmony เขียนโดย Frederick G.Shin ตีพิมพใน
ป พ.ศ. 2447 (ค.ศ.1904) ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยสํานักพิมพ The Vincent Music Company Limited พระ
เจนดุริยางคไดนํามาใชอางอิงในแบบเรียนวิชาการประสานเสียง ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย
4) หนังสือ Elementary Harmony Part III เขียนโดย C.H. Kitson ตีพิมพในป พ.ศ.
2476 (ค.ศ.1933) ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยสํานักพิมพ Oxford At The Clarendon Press พระเจนดุริยางคได
นํามาใชอางอิงในแบบเรียนวิชาการประสานเสียง ภาคสอง (ตอนจบ) ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย
5 ) ห นั ง สื อ On the Sensations of Tone เ ขี ย น โ ด ย HERMANN L. F.
HELMHOLTZ นักวิทยาศาสตรชาวเยอรมัน แปลเปนภาษาอังกฤษโดย ALEXANDER J. ELLIS ตีพิมพในปพ.ศ. 2438 (ค.ศ.
1895) พิ ม พ ที่ ก รุ ง ลอนดอนประเทศอั ง กฤษ โดยสํ า นั ก พิ ม พ Longmans,Green and Co และหนั ง สื อ Harmonie
Universelle เขียนโดย Marin Mersenne ชาวฝรั่งเศส ซึ่งพระเจนดุริยางคไดนํามาอางอิงในหนังสือทฤษฎีการดนตรีเกี่ยวกับ
เสียงและเครื่อง
6) หนั ง สื อ 400 Questions on the Rudiments of Music เขี ย นโดย James
Simpson ตีพิมพปพ.ศ.2443 เปนหนังสือ Augener กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เปนตําราคําถามทางทฤษฎีดนตรี โดยพระ
เจนดุริยางคไดนํามาแปลและเปนไปไดที่พระเจนดุริยางคไดทําเฉลยเฉลยคําตอบขึ้นเอง ซึ่งตําราตางประเทศดังกลาวพบวาไมมี
เฉลยคําตอบมาให
ผูวิจัยเห็น วาผลจากการที่พ ระเจนดุริยางคแปลและเรียบเรียงตําราดนตรีตะวันตก
หลายวิชา ทําใหลูกศิษยและคนไทยที่สนใจในดนตรีตะวันตกมีโอกาสเขาถึงความรูทางทฤษฎีดนตรีตะวันตกงายขึ้นโดยไมตอง
ไปศึกษาตางประเทศ หรือตองพยายามแปลตําราเอง ชวยยกระดับความรูทางทฤษฎีดนตรีตะวันตกและหลักการประสานเสียง
แตอยางไรก็ตามผลจากการแปลและเรียบเรียงตําราของพระเจนดุริยางคก็อาจสงผลใหลูกศิษยและคนไทยที่สนใจดนตรี
ตะวันตกขาดโอกาสเขาถึงองคความรูทางดนตรีที่มาจากตําราดนตรีตนฉบับ อีกทั้งผลที่ไดจากการทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย
แบบเรียนดนตรี อาจเปนการทําใหเกิดการผูกขาดความรูทางดนตรีตะวันตกอาจเนื่องมาจากการเปนขาราชบริภารที่ถวายการ
รับใชพ ระมหากษั ตริยถึง 5 รัชสมัย และมีบรรดาศักดิ์และศักดินาชนชั้น จึงทําใหไดรับอภิสิทธิ์ในการเขาถึงโอกาสในการ
เผยแพรผลงานมากกวาคนทั่วไป
สําหรับ ลูกศิ ษ ยที่ ไดรับ อิท ธิพ ลจากพระเจนดุริย างค ดานวิชาการมากที่ สุ ด ผู วิจัย มี
ความเห็ น ว า ชลหมู ชลานุ เ คราะห มี บ ทบาทหน า ที่ ท างราชการในกรมศิ ล ปากร ซึ่ ง สมั ย ป พ .ศ. 2513 ยั ง สั ง กั ด
กระทรวงศึกษาธิการ มีนายเชื้อ สาริมานเปนอธิบดีกรมศิลปากร ไดมอบหมายใหชลหมู ชลานุเคราะหสอนวิชาดริยางคสากล
เบื้องตน และการประสานเสียงใหกับสมาชิกครูในคุรุสภา หรือสามัคยาจารย (ปญญา นิตยสุวรรณ,2524: 85) จนไดเกิดเปน
แรงดลใจใหชลหมู ชลานุเคราะห เขียนคูมือคําถาม - คําตอบ วิชาดุริยางคศาสตรสากล (เบื้องตน) ซึ่งไดรับอิทธิพลจากผลงาน
ของพระเจนดุริยางคเปนแบบเรียนที่มีชื่อวา “แบบเรียนดุริยางคศาสตรสากล(เบื้องตน)”ที่ไดใชเป นแบบเรียนโดยไดรับ
อนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการตั้งแตปพ.ศ. 2475 โดยชลหมูไดนําแบบเรียนดังกลาวมาปรับรูปแบบใหมใหมีเนื้อหาแบบ
คําถาม - คําตอบ เพื่อใหสมาชิกครูที่อยูในวัยผูใหญสะดวกในการทบทวนเนื้อหา มีการยนยอหรือปรับรูปแบบการนําเสนอ
เขาใจคําถามและวิธีการตอบไดงายขึ้น (ชลหมู ชลานุเคราะห,2522: คํานํา) ซึ่งสะทอนถึงการไดรับอิทธิพลทางดานวิชาการ
จากพระเจนดุริยางคของชลหมู ชลานุเคราะหไดเปนอยางดี

กิตติกรรมประกาศ

ขอกราบขอบคุณรองศาสตราจารย ดร.เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี อาจารยที่ปรึกษาหลัก ผูชวยศาสตราจารยดร.ไพศาล


สุวรรณนอย อาจารยที่ปรึกษารวม และพันตํารวจโททีฆา โพธิเวสที่ใหคําแนะนําในการทําวิจยั ชิ้นนี้จนสําเร็จลุลวง นอกจากนี้
ขอขอบคุณ ดร. James Mitchell ที่ใหคําแนะนําตั้งแตเริ่มตนในการทําวิจัย ขอขอบคุณคุณรัตนาวดี วงศวโรทัย ทายาทของ
พระเจนดุริยางคที่ใหความอนุเคราะหเอกสารสําคัญที่เกีย่ วกับพระเจนดุริยางค ตลอดจนขอขอบคุณบุปผา สารมาศ
ผูอํานวยการหอสมุดดนตรีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 และหองสมุดดนตรีทูลกระหมอมสิรินธร หอสมุดแหงชาติ
ที่ไดใหความอนุเคราะหขอมูลเกี่ยวกับพระเจนดุริยางค

เอกสารอางอิง

เจนดุรยิ างค,พระ.(2512).หลักวิชาการดนตรีและการขับรองเลมที่ 3 .(พิมพครั้งที่3).พระนคร:กรมแผนที่ทหาร.


_______.(2471).แบบเรียนชัน้ ตนของการดนตรีและการขับรองเลมที1่ .(พิมพครั้งที2่ ).พระนคร:คิมหยิน.
_______.(2479).แบบเขียนเครือ่ งหมายในการดนตรี.พระนคร:คิมหยิน.
_______.(2486).คูม ือดุรยิ างคศาสตรประถม.อัดสําเนา.
_______.(2496).คําแนะนําวิธรี กั ษาเครือ่ งดนตรี.พระนคร:โรงพิมพพระจันทร.
_______.(2497).เรือ่ งการดนตรี.ม.ป.ท.
_______.(2497). บันทึกความทรงจําของพระเจนดุรยิ างค.กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท.
_______.(2499).ทฤษฎีการดนตรีเกีย่ วกับเสียงและเครือ่ ง.ม.ป.ท.
_______.(2520).หลักวิชาการดนตรีและการขับรองเลมที่ 2 .(พิมพครั้งที่5).พระนคร:กรมแผนที่ทหาร.
_______.(2523).หลักวิชาการดนตรีและการขับรองเลมที่ 1 .(พิมพครั้งที่8).พระนคร:กรมแผนที่ทหาร.
_______.(2527).แบบเรียนดุรยิ างคศาสตรสากล ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย.(พิมพครั้งที่ 4).พระนคร:กรมแผนที่ทหาร.
_______.(2542).แบบเรียนวิชาการประสานเสียง.(พิมพครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร:กรมแผนที่ทหาร.
_______.(2542).แบบเรียนวิชาการประสานเสียงภาคสอง(ตอนจบ).(พิมพครัง้ ที่ 6).กรุงเทพมหานคร:กรมแผนที่ทหาร.
_______.(ม.ป.ป.).คําถามวิชาดุรยิ างคศาสตรเบือ้ งตน (Questions on the Rudiments of Music).อัดสําเนา.
ชลหมู ชลานุเคราะห.(2522). คูม อื คําถาม- คําตอบวิชาดุรยิ างคศาสตรสากล (เบือ้ งตน).กรุงเทพมหานคร : เอ็มมอลดส.
________.(2536).พระเจนดุรยิ างค-ผูวางรากฐานทางดนตรีสากลของไทย.ใน110ปศาสตราจารย
ปญญา นิตยสุวรรณ.(2524).ศิลปนที่นา รูจ กั ชลหมู ชลานุเคราะห.ศิลปากร,25 (2),76,78-49.
พระเจนดุรยิ างคผวู างรากฐานดนตรีสากลของไทย.กรุงเทพฯ: เอราวัณการพิมพ.
มนตรี ตราโมท.(2516). พระเจนดุริยางค (ปติ วาทยะกร) ในประวัตคิ รู.กรุงเทพฯ: โรงพิมพครุ ุสภาลาดพราว.
สมาน นภายน.(2536).กําเนิดวงดนตรีแจสมาจาก“วงจุล”.ใน110ปศาสตราจารยพระเจนดุรยิ างคผวู างรากฐานดนตรีสากล
ของไทย.กรุงเทพฯ: เอราวัณการพิมพ.
อภัยพลรบ,พระ.(2455).ประวัตนิ ายพันโทพระอภัยพลรบและดนตรีวทิ ยา.กรุงเทพฯ: โรงพิมพโสภณพิพรรฒธนากร.
Helmholtz,H.L.F.(1895).On The Sensation Of Tone.(Ellis,A.J.Trans.)(3rded.).London:Longman Green.
Hull,A.Eaglefield.(1891).Harmony for Students.London:Augener.
Kitson, C.Herbert.(1933).Elementary Harmony Part III.(4thed.).London:Clarendon Press.
Mersenne,M.(1636).Harmonie Universelle.Paris:n.p.
Shin,G.Frederick.(1904).Method of Teaching Harmony Based Upon Ear-Training.London: Vincent Music.
Simpson,J.(n.d.).400 Question On The Rudiments of Music.(18thed.).London:Augener.
Wier,E.A.(1916).The Songs Children Love to Sing.New York :D.Appleton and Company.

Vous aimerez peut-être aussi