Vous êtes sur la page 1sur 1

ยุคของดนตรี

ดนตรี สากลแบ่งเป็ น สมัยใหญ่ ๆ ดังนี


. สมัยกลาง ( The Middle Ages ค.ศ. – 1450 ) พ.ศ. – 1993 ก่อนสมัยนีราวศตวรรษที ดนตรี ขึนอยูก่ บั ศาสนา
Pope Gregorian เป็ นผูร้ วบรวมบทสวด เป็ นทํานองเดียว ( Monophony ) โดยได้ตน้ ฉบับจากกรี ก เป็ นภาษาละติน ต่อมาจึง
มี ทํานอง( Polyphony ) ศตวรรษที การศึกษาเริ มในโบสถ์ในสมัยกลางนีเองได้เริ มมีการบันทึกตัวโน้ต โดยมีพระองค์หนึงเป็ น
ชาวอิตาเลียนชือ Guido D’Arezzo ( พ.ศ. – 1593 ) ได้สังเกตเพลงสวดเก่าแก่เป็ นภาษาละตินเพลงหนึงแต่ละประโยคจะมีเสี ยง
ค่อย ๆ สู งขึน จึงนําเอาเฉพาะตัวแรกของบทสวดมาเรี ยงกัน จึงออกเป็ น Do Re Mi Fa Sol La Te Do( เว้นตัว Te เอาตัวที )
ต่อมา ค.ศ. ( พ.ศ. ) ดนตรี กเ็ ริ มเกียวกับศาสนาอย่างแน่นแฟ้นยิงขึน
. สมัยฟื นฟูศิลปวิทยา ( The Renaissance Period ค.ศ. – 1600 ) ยุคนีเริ มตังแต่ พ.ศ. – 2143 ตรงกับ
สมัยโคลัมบัส และเชคสเปี ยร์ ดนตรี ในยุคนีมักจะเป็ นการเริ มร้องหมู่เล็ก ๆ ส่ วนใหญ่จะเกียวกับการร้องเพือสรรเสริ ญพระเจ้า ร้องกันในโบสถ์
มี แนว คือ โซปราโน อัลโต เทเนอร์ และเบส การร้องจะมีออร์ แกนหรื อขลุ่ยคลอ ดนตรี ในสมัยนียังไม่มีโน้ตอ่าน และมักเล่นตามเสี ยงร้อง
. สมัยบาโรค ( BaroQue ค.ศ. – 1750 ) ยุคนีเริ มตังแต่ พ.ศ. – 2293 และนักดนตรี ทีมีชือเสี ยงในยุคนีได้แก่ บาค ไฮ
เดิล ในยุคต้นของสมัยบาโรค ( พ.ศ. – 2218 ) มีเครื องดนตรี ประมาณ – 30 ชินสลับกันเล่น เพือให้มีรสชาติในการฟังเครื องดนตรี ใน
การคลอเสี ยงร้อง เช่น ลิวท์ ขลุ่ย ต่อมาได้ววิ ฒั นาการใช้เครื องสายมากขึนเพือประกอบการเต้นรํา รวมทังเครื องลมไม้ดว้ ย ในสมัยนีผูอ้ าํ นวย
เพลงจะเล่นฮาร์ พซิคอร์ ด
. สมัยคลาสสิ ค ( Classical Period ค.ศ. – 1825 ) ตังแต่ พ.ศ. – 2368 สมัยนีตรงกับการปฏิวตั ิและการปฏิรูป
ในอเมริ กา ไฮเดิลเป็ นผูร้ ิ เริ มในการแต่งเพลงและคลาสสิ ค การแต่งเพลงในยุคนีเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการของคีตกวีทีจะ
เลือกใช้เครื องมือให้เหมาะสมกับลีลา และโอกาสตามอารมณ์ของดนตรี เช่น ดนตรี ลกั ษณะหวานก็ใช้ไวโอลิน ถ้าแสดงความองอาจกล้าหาญ ก็
ใช้แตรทรัมเปต มีการเดียวเครื องดนตรี นักดนตรี ตอ้ งศึกษาและเล่นให้ถูกต้องตามแบบแผน เพราะดนตรี ในยุคนีเริ มเข้าร่ องเข้ารอย คีตกวีในยุค
ทีมีไฮเดิล โมสาร์ ท กลุก๊ บีโธเฟน โดยเฉพาะบีโธเฟน เป็ นคีตกวีในสมัยโรแมนติกด้วย
. สมัยโรแมนติก ( Romantic Period ค.ศ. – 1900 ) พ.ศ. – 2443 สมัยนีตรงกับสมัยนโปเลียนแห่งฝรังเศส
เพลงในสมัยนี ผิดไปจากเพลงในสมัยก่อน ๆ คือเมือก่อนเริ มแรกเกียวกับศาสนา ต่อมามีการเลือกใช้เครื องดนตรี และในสมัยนี จะแต่งตาม
จุดประสงค์ตามความคิดฝันของคีตกวี เน้นอารมณ์เป็ นสําคัญนักแต่งเพลงทีมีชือเสี ยงในสมัยนันมี ชูเบิร์ต เสตร้าส์ เมนโดโซน โชแปง ชูมานน์
บราหมส์ ไชคอฟสกี โดยเฉพาะในยุคนี แต่ละประเทศในยุโรปจะมีความนิยมไม่เหมือนกัน เช่น ลักษณะของเพลงร้อง เพลงประกอบละคร
เพลงเต้นรําแบบวอลท์ เป็ นไปตามคีตกวีและความนิยมส่ วนใหญ่
. สมัยอิมเพรสชันนิสซึม ( Impressionism ค.ศ. – 1930 ) ประมาณ พ.ศ. – 2473 เป็ นสมัยแห่งการใช้ความคิด
สร้างสรรค์ ดัดแปลงดังเดิมจากสมัยโรแมนติกให้แปลกออกไปตามจินตนาการของผูแ้ ต่ง เปรี ยบเทียบได้กบั การใช้สีสันในการเขียนรู ปให้
ฉูดฉาด ในด้านดนตรี ผปู ้ ระพันธ์มกั สรรหาเครื องดนตรี แปลก ๆ จากต่างประเทศ เช่น จากอินเดียมาผสมให้มีรสชาติดีขึน การประสานเสี ยง
บางครังแปร่ ง ๆ ไม่รืนหูเหมือนสมัยก่อน ทํานองเพลงอาจนํามาจากทางเอเชียหรื อประเทศใกล้เคียง แล้วมาดัดแปลงให้เหมาะสมกับดุริยางค์
นักดนตรี ทีมีชือเสี ยงในสมัยนันมี คลาวด์อบุชชี อิกอร์ สตราวินสกี อาร์ โนลด์ โชนเบิร์ล
. สมัยคอนเทมพอลารี ( Contempolary ค.ศ. – ปัจจุบัน ) หรื อ Modern Music – Eletronics ตังแต่
พ.ศ. จนถึงปั จจุบนั ชีวติ ของคนในปั จจุบนั อยูก่ ีบความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์ ได้รู้ได้เห็นสิ งแปลก ๆ ใหม่ ๆ เช่น ไอพ่น ยานอวกาศ
โทรทัศน์ นักแต่งเพลงปั จจุบนั จึงเปลียนวิธีการของการประพันธ์เพลงให้เป็ นไปในแบบปั จจุบนั

Vous aimerez peut-être aussi