Vous êtes sur la page 1sur 13

รายงานเชิงวิชาการ

การอานและพิจารณาวรรณคดีบทละครพูดคําฉันท เรื่องมัทนะพาธา
โดย

นางสาวณัฐธิดา อํานวยเงินตรา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/6 เลขที่ 1


นางสาวนัทธมน จูงวัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/6 เลขที่ 4
นางสาวศุภาพิชญ งามสงาพงษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/6 เลขที่ 9
นางสาวสิรดา วิทูรวรากร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/6 เลขที่ 20

เสนอ

อ.พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2558
โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน (Project Based Learning)

รายงาน
วิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
คํานํา
รายงานเรื่องนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โดย
จุดประสงคมีไวเพื่อศึกษาหาความรูที่ไดจากเรื่องมัทนะพาธาซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการอานและ
พิจารณาเนื้อหา ประโยชนและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม ที่แสดงถึงเนื้อหา โครงสรางและประโยชน
ของเรื่องนี้อยางละเอียดถี่ถวน

ผูจัดทําตองขอขอบคุณอ.พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ ผูใหความรู แนวทางการศึกษากับพวกและได


ชวยเหลือมาโดยตลอด พวกเราผูจักทําหวังวารายงานเลมนี้จะเปนประโยชนตอผูอานทุกคน

นางสาวณัฐธิดา อํานวยเงินตรา
นางสาวนัทธมน จูงวัฒนา
นางสาวศุภาพิชญ งามสงาพงษ
นางสาวสิรดา วิทูรวรากร

คณะผูจัดทํา

1
สารบัญ
หนา
การอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม ประกอบดวย 3
เนื้อเรื่อง 3
โครงเรื่อง 3
ตัวละคร 3
ฉากทองเรื่อง 4
บทเจรจารําพึงรําพัน 4
แกนเรื่องหรือสารัตถะของเรื่อง 5
การอานและพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 6
การสรรคํา 6
การเรียบเรียงคํา 8
การใชโวหาร 8
การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม 10
คุณคาดานอารมณ 10
คุณคาดานคุณธรรม 11
คุณคาดานวัฒนธรรม 11
บรรณานุกรม 12

2
สรุปประเด็นการอานและพิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรม

การอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม ประกอบดวย

เนื้อเรื่อง
มัทนะพาธาเปนเรื่องสมมุติของตนกําเนิดของดอกกุหลาบ กลาวคือ เทวดาสุเทษณทรงหลงรัก
นางฟามัทนา แตนางไมรับรัก สุเทษณจึงขอใหวิทยาธรมายาวินใชเวทมนตรสะกดเรียกนางมา มัทนาเจรจา
ตอบสุเทษณอยางคนไมรูสึกตัว สุเทษณไมโปรดจึงใหวิทยาธรมายาวินคลายมนตร เมื่อมัทนารูสึกตัวจึงไดตอบ
ปฏิเสธสุเทษณไป สุเทษณจึงกริ้วและสงนางมาเกิดเปนดอกกุหลาบที่โลกมนุษยเปนการชดใช โดยถูกกําหนดไว
วาดอกกุหลาบนั้นจะคืนรางเปนหญิงสาวเฉพาะวันเพ็ญเพียงวันและคืนเดียวเทานั้น ตอเมื่อมีความรักจึงจะพน
สภาพจากการเปนดอกกุหลาบ เมื่อนางมัทนาไดพบรักกับพระชัยเสน ความรักก็ไมราบรื่นเพราะมีอุปสรรคคือ
พระชัยเสนไดเสกสมรสกับนางจัณฑีแลว มัทนาตองถูกพรากจากพระชัยเสน และไดพบกับสุเทษณอีกครั้ง
แตมัทนาก็ยังไมเปลี่ยนใจจากพระชัยเสนเพื่อมารักสุเทษณ เรื่องจึงจบดวยความสูญเสีย สุเทษณไมสมหวังใน
ความรัก พระชัยเสนสูญเสียคนรัก และมัทนาตองเปลี่ยนสภาพเปนมาเปนเพียงดอกกุหลาบ

โครงเรื่อง
มัทนะพาธาเปนบทละครพูดคําฉันทที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงคิดโคลงขึ้นมาดวยพระองค
เอง ไมไดตัดมาจากวรรณคดีเรื่องใด โดยแกนสําคัญของเรือ่ งมีอยูสองประการคือ

1) ทรงปราถนาจะกลาวถึงตํานานดอกกุหลาบ ซึ่งเปนดอกไมที่สวยงาม แตไมเคยมีตํานานในเทพนิยายา


จึงพระราชนิพนธใหดอกกุหลาบมีกําเนิดมาตากนางฟาที่ถูกสาปใหจุตืลงมาเกิดเปนดอกไมชื่อวา "ดอก
กุพชกะ" คือ "ดอกกุหลาบ"

2) เพื่อแสดงความเจ็บปวดอันเกิดจากความรัก ทรงแสดงใหเห็นวาความรักมีอานุภาพอยางยิ่ง ผูใดมี


ความรักก็อาจเกิดความหลงขึ้นตามมาดวย ทรงใชชื่อเรื่องวา "มัทนะพาธา" อันเปนชื่อของตัวละคร
เองของเรื่องซึ่งมีความหมายวา "ความเจ็บปวดหรือความเดือดรอนอันเกิดจากความรัก" มีการผูกเรื่อง
ใหมีความขัดแยงซึ่งเปนปม

ตัวละคร
นางมัทนาเปนผูมีรูปสวยงดงาม เปนคนพูดจาไพเราะออนหวาน ซื่อตรงกลาหาญและเปนคนที่มั่นคงในความ
รัก
มัทนา ฟงถอยดํารัสมะธุระวอน ดนุนี้ผิเอออวย
จักเปนมุสาวะจะนะดวย บมิตรงกะความจริง

3
สุเทษณเปนเทพบุตรที่เจาอารมณและหมกมุนในตัณหา เอาแตใจตัวเองและไมนึกถึงความรูสึกของผูอื่น
พี่รักและหวังวธุจะรัก และ บ ทอด บ ทิ้งไป

มายาวินเปนผูมีวิชาอาคม ชวยสุเทษณเสกนางมัทนาใหเชื่อฟงคําสั่งของสุเทษณ

เทวะ, ที่นาง อาการเปนอยาง นี้เพราะฤทธิ์มนตร;


โยคะอันขลัง บังคับไดจน ใหตอบยุบล ไดตามตองการ
แตจะบังคับ ใครใครใหกลับ มโนวิญญาณ,
ใหชอบใหชัง ยืนยังอยูนาน ยอมจะเปนการ สุดพนวิสัย
หากวาพระองค มีพระประสงค อยูเพียงจะให
นงคราญฉลอง รองพระบาทไซร ขาอาจผูกใจ ไวดวยมนตรา.
มิใหนงรัตน ดื้อดึงขึงขัด ซึ่งพระอัชฌา,
บังคับใหยอม ประนอมเปนขา บาทบริจา ริกาเทวัญ.

ฉากทองเรื่อง
มัทนะพาธาเปนเรื่องสมมุติวาเกิดในอินเดียโบราณ มีปรากฏฉากสวรรคและเมืองหัสตินาปุระในอดีต
กาล เมืองหัสตินาปุระตั้งอยูทางฝงขวาของแมน้ําคงคา ปจจุบันอยูใน รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ในอดีต
มีกษัตริยปกครองหลายพระองค ในสวนของฉากสวรรคเปนวิมานของเทพบุตรสุเทษณ ผูหลงรักนางฟามัทนา
แตในเมื่อนางไมรับรัก สุเทษณจึงสาปนางลงไปเปนดอกกุหลาบที่โลกมนุษย มัทนากลายเปนดอกกุหลาบที่ปา
หิมะวัน หรือปาหิมพานต ซึ่งเปนปาในวรรณคดีตามความเชื่อในเรื่องไตรภูมิของศาสนาพุทธและฮินดู ปาหิม
พานตตั้งอยูบนเชิงเขาพระสุเมรุ ประดับดวยยอด 84,000 ยอด มีสระใหญ 7 สระ เต็มไปดวยสัตวนานาชนิด
ซึ่งลวนแปลกประหลาดตางจากสัตวที่มนุษยทั่วไปรูจัก

บทเจรจารําพึงรําพัน
มัทนะพาธาเปนบทละครพูดคําฉันท ประกอบดวยบทเจรจาหลายชวงหลายตอน อาทิเชน
อาโฉมวิไลยะสุปริยา มะทะนาสุรางคศรี,
พี่รักและกอบอภิระตี บมิเวนสิเนหนัก ;
บอกหนอยเถิดวาดะรุณิเจา ก็จะยอมสมัครรัก

ในบทนี้ สุเทษณบอกนางมัทนาวา ตนหลงรักนางมาเนิ่นนาน บอกตนมาเถิดวานางก็รักตนเชนกัน


นะมายาวิน เหตุใดยุพิน จึ่งเปนเชนนี้?
ดูราวละเมอ เผลอเลอฤดี ประดุจไมมี ชีวิตจิตใจ,

4
คราใดเราถาม หลอนก็ยอนความ เหมือนเชนถามไป.
ดังนี้จะยวน ชวนเชยฉันใด เปรียบเหมือนไป พูดกับหุนยนต.

สุเทษณกลาวถามมายาวินวา เหตุใดมัทนาจึงมีอาการเหมือนคนที่กําลังละเมอ ไมมีชีวิตจิตใจเชนนี้


เมื่อถามอะไรไป นางก็ตอบยอกยอนกวนใจ เหมือนคุยกับหุนยนต

เทวะ,อันขานี้ไซร มานี่อยางไร บทราบสํานึกสักนิด;


จําไดวาขาสถิต ในสวนมาลิศ และลมรําเพยเชยใจ,
แตอยูดีดีทันใด บังเกิดรอนใน อุระประหนึ่งไฟผลาญ,
รอนจนสุดที่ทนทาน แรงไฟในราน ก็ลมลงสิ้นสมฤดี.
ฉันใดมาไดแหงนี้? หรือวาไดมี ผูใดไปอุมขามา?
ขอพระองคจงเมตตา และงดโทษขา ผูบุกรุกถึงลานใน.

นางมัทนาเอยถามสุเทษณหลังจากที่มายาวินปดเปามนตรออกไปวา องคเทวะ หมอมฉันมาอยูที่นี่ได


อยางไร จําไดวาขาอยูในสวนดอกไมเย็นชื่นใจ แตอยูดีๆก็เกิดรอนในใจ ราวกับโดนไฟผลาญ แลวก็สิ้นสติลง
หมอมฉันมาทีน่ ี่ไดอยางไร ขอพระองคทรงใหอภัยหมอมฉันที่บุกรุกถึงลานใน

แกนเรื่องหรือสารัตถะของเรื่อง
แกนสําคัญของเรื่องมีอยู ๒ ประการ คือ ประการแรก คือ ตํานานของดอกกุหลาบ แมกุหลาบจะเปน
ดอกไมที่สวยงาม แตก็ไมเคยมีตํานานในเทพนิยายเลย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวจึงพระราช
นิพนธใหดอกกุหลาบมีตนกําเนิดมาจากนางฟาที่ถูกสาปใหลงมาจุติเปนดอกไมที่ชื่อวา "ดอกกุพฺ ชกะ" คือ
"ดอกกุหลาบ” สวนประการทีสอง คือ เพื่อแสดงความเจ็บปวดที่เกิดจากความรัก ทานทรงแสดงใหเห็นวา
ความรักมีอนุภาพมาก เมื่อผูใดมีความรักก็อาจเกิดความหลงตามมา ทานทรงใชชื่อเรื่องวา "มัทนะพาธา" ซึ่ง
เปนชื่อของตัวละครเอกของเรื่อง มีความหมายวา "ความเจ็บปวดอันเกิดจากความรัก"

5
การอานและพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
การสรรคํา
ผูแตงจะตองสรรคําใหตรงตามที่ตองการ เหมาะแกบริบท เนื้อเรื่อง และฐานะของบุคคลในเรื่องโวหาร
และรูปแบบคําประพันธ นอกจากนี้ยังตองสรรคําโดยคํานึงถึงความงามดานเสียงดวยดังนี้

เลือกใชคําไวพจนใหถูกตองตรงตามความหมายที่ตองการ “คําไวพจน” หมายถึง คําที่เขียนตางกันแตมี


ความหมายเหมือนกันหรือใกลเคียงกัน คําทีเ่ ปนไวพจนของกันนั้น หลายคําไมอาจใชแทนกันไดเสมอไป เชน
อาโฉมวิลัยะสุปริยา มะทะนะนาสุรางคศรี
พี่รักและกอบอภิระดี บ มิเวนสิเนหห นัก ;
บอกหนอยเถอะวาดะรุณิเจา ก็จะยอมสมัครรัก
ในตัวอยางขางตนนี้ คําวา สุปริยาและอภิระดีทั้งสองคํานี้มีความหมายวา ที่รักยิ่ง และนางผูนารักใครอยางยิ่ง

เลือกใชคําโดยคํานึงถึงเสียง กวีมักใชเสียงหนักเบาและจังหวะอันเกิดจากวิธีอาน ทําใหเขาถึงความหมายที่


แทจริงของกวีบทนั้นๆ บทรอยกรองประเภทฉันทที่กําหนดเสียงหนักเบาไดแก คําครุและคําลหุ เชน บทเกี้ยว
พาราสีตอไปนี้ แตงดวยวสันตดิลกฉันท ๑๔ มีการสลับตําแหนงของคํา ทําใหเกิดความไพเราะไดอยางยอด
เยี่ยม
สุเทษณ : พี่รักและหวังวธุจะรัก และ บ ทอด บ ทิ้งไป
มัทนา : พระรักสมัคร ณ พระหทัย ฤ จะทอดจะทิ้งเสีย?
สุเทษณ : ความรักละเหี่ยอุระระทด เพราะมิอาจจะคลอเคลีย
มัทนา : ความรักระทดอุระละเหี่ย ฤ จะหายเพราะเคลียคลอ

เลือกคําโดยคํานึงถึงคําพองเสียงและคําซ้าํ เมื่อนําคําพองเสียงมาเรียบเรียงหรือรอยกรองเขาดวยกัน จะทํา


ใหเกิดเสียงไพเราะ เพิ่มความพิศวง นาฟง หากใชในบทพรรณนาหรือบทคร่ําครวญยิ่งทําใหสะเทือนอารมณ
สุเทษณ : โอโอกระไรนะมะทะนา บ มิตอบพะจีพอ?
มัทนา : โอโอกระไรอะมระงอ มะทะนามิพอดี!
สุเทษณ : เสียแรงสุเทษณนะประดิพัทธ มะทะนา บ เปรมปรีดิ์
มัทนา : แมขา บ เปรมปริยะฉะนี้ ผิจะโปรดก็เสียแรง
สุเทษณ : โอรูปวิลัยะศุภะเลิศ บ มิควรจะใจแข็ง
มัทนา : โอรูปวิลัยะมละแรง ละก็จําจะแข็งใจ

6
7
การเรียบเรียงคํา
การเรียงเรียงคํา คือ การจัดวางคําที่เลือกสรรแลวนั้นใหตอเนื่องเปนลําดับ รอยเรียงกันอยางไพเราะ
เหมาะสม ถูกตองตามโครงสรางของภาษา และไดจังหวะ ในกรณีที่เปนบทรอยกรองจะตองถูกตองตาม
กฎเกณฑของฉันทลักษณดวย เชน การเรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นกอน แลวจึงไลไปตามลําดับโดย
นําประโยคที่สําคัญที่ไวทายสุด
ตัวอยาง
สุเทศน : ยิ่งฟงพะจีศรี ก็ระตีประมวลประมูล
ยิ่งขัดก็ยิ่งพูน ทุขะทวมระทมหะทัย!
อาเจาลําเพาพักตร สิริลักษะณาวิไล
พี่จวนจะคลั่งไคล สติเพื่อพะวงอนงค

การใชโวหาร
มัทนะพาธามีการใชโวหารภาพพจนมากมาย ประกอบไปดวย อุปมา อุปลักษณ สัญลักษณ อติพจน
เปนตน
อุปมา
คณานางสนมเปรียบ ประหนึ่งกาและถอยที
วธูยอดฤดีพี่ ประหนึ่งหงสสุพรรณพรรณ
อุปมา คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่ง มีคําที่แสดงความหมายเดียวกับคําวา
“เหมือน” ปรากฏอยู เชนในบทนี้ เปนการใชอุปมาในการเปรียบเทียบความงามระหวางนางสนมและมัทนา
ของทาวชัยเสน โดยเปรียบนางสนมเหมือนกับอีกา และเปรียบมัทนาเหมือนกับหงส
โดยความหึงสหนักเพราะรักครั้น คะดิประทะทุษะพลัน
พลุงประหนึ่งควัน กระทบตา,

บทนี้ แสดงถึงความหึงเพราะความรักที่มากเกินไปของสุเทษณที่มีตอนางมัทนา ความหึงพุงขึ้นมา


เหมือนควันที่ลอยมากระทบตา ทําใหระคายเคือง โกรธแคนจนสุเทษณสงั่ ฆามัทนาในทีส่ ุด
อุปลักษณ
จิตระรถ: ผูนี้มีความรูชิน เชิงชาญโยคิน และเชี่ยวอาถรรพวิทยา,
รูจักใชโยคะนิทรา ไปผูกหทยา แหงผูที่อยูแมไกล,
อาจรายมนตรเรียกมาได
สุเทษณ: อะ ! จริงหรือไฉน?
จิตระรถ: ขาบาทไดเห็นเองแลว

8
สุเทษณ: ถาจริงเฃาก็เปนแกว !
จิตระรถ: ขาบาททราบแลว
จึงกลานําตัวเขามา
อุปลักษณ คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเปนอีกสิ่ง ที่มีคณ ุ สมบัติบางประการรวมกัน มักใชคําวา
“คือ” และ “เปน” ในตัวอยางขางตนนี้ สุเทษณเอยถึงมายาวินวา ถามายาวินมีความรูดังที่กลาวมาจริง เขาก็
เปนแกว ซึ่งแกวเปนสิ่งที่มีคา เพราะมายาวินมีความรูความสามารถที่มีคาหาไดยาก
อติพจน
เจานายองคใดในตรีโลก ฤๅจะมี เหมือนพระผูนั่งเกศา
ไปทั่วแดนมนุษสุดไกล บเวนแหงใด กระทั่งยังขอบจักรวาล
ไปทั่วในแดนบาดาล ทั่วทุกสถาน ทุกถิ่นจนจบภพไตร
การใชโวหารอติพจน เปนการกลาวเกินจากความเปนจริง เพื่อเนนความรูสึก ทําใหขอความมีน้ําหนักมากขึ้น
ในตัวอยางนี้ ตองการจะสื่อวา ไมมีพระมหากษัตริยองคใดเสมอเหมือนเทาทานอีกแลวในสามโลกนี้ การ
กลาวถึงสามโลก และทั่วทุกภพจักรวาล เปนการกลาวเกินความจริง แสดงถึงการใชอติพจนในเรื่อง
สัญลักษณ
จิตระรถ. ปรากฏพระนามนาง วิมาลาสุนารี
วิสุทธิ์วิศิษฏที่ จะตินั้นบพึงหา
พระโฉมบแพโฉม สุระเทวะกัญญา.
สุเทษณ. แพยอดฤดีขา ดุจะกากะเปรียบหงส
ในตัวอยางขางตนนี้ เปนการใชสัญลักษณเปรียบเทียบ กา เปนสัญลักษณของคนต่ําตอยไรคา ในขณะที่หงส
เปนสัญลักษณของคนสูงศักดิ์ จิตระรถกลาวกับสุเทษณถึงนางวิมาลา วานางก็เปนผูหญิงที่งดงาม แตสุเทษณ
กลาววา ถึงอยางไรนางวิมาลาก็งามไมเทานางมัทนาอยูดี สุเทษณใชกาเปนสัญลักษณแทนนางวิมาลา และหงส
เปนสัญลักษณของนางมัทนา ซึ่งหงสมีความงดงามและมีคามากกวากา
ไรปนดิลกราชย หรือก็ชาติจะภินพัง
ไหนเลยจะคงตั้ง อิศรานุภาพครอง.
ในบทนี้ ปนเปนสัญลักษณ แทนองคพระมหากษัตริย หรือทาวชัยเสน หากปราศจากปน หรือพระมหากษัตริย
แลว ชาติก็คงไมอาจตั้งอยูเปนอิสรภาพได

9
การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม

คุณคาดานอารมณ
คุณคาทางดานอารมณ หมายถึง แรงบันดาลใจที่เกิดขึ้นจากผูประพันธแลวถายโยงมายังผูอาน ซึ่ง
ผูอานจะตีความวรรณกรรมนัน้ ๆ ออกมาซึ่งอาจจะตรงหรือคลายกับผูประพันธก็ได เชน อารมณโศก อารมณ
รัก อารมณโกรธ เคียดแคน เปนตน โดยวรรณกรรมจะเปนเครื่องขัดเกลาอัธยาศัย และกลอมเกลาอารมณให
คลายความกังวล และความหมกมุน หนุนจิตใจใหเกิดความผองแผวทําใหรูสึกชื่นบาน และราเริงในชีวิต ทําให
หายจากความมีจิตใจที่คับแคบรูคาความงามของธรรมชาติ ความมีระเบียบเรียบรอย ความดี ความงาม และ
ความจริงหรือสัจธรรม ที่แฝงอยูกับความรื่นเริงบันเทิงใจ หรือการไดรองใหกับตัวเอกของเรื่องในหนังสือหรือ
หัวเราะกับคําพูดในหนังสือ ซึ่งถือวาเปนการแสดงออกทางอารมณทั้งสิ้น
ในบทละครพูดคําฉันทเรื่องมัทนะพาธาที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงไดพระราช
นิพนธเอาไวนั้น ทรงพระปรีชาไดสะทอนความรูสึกและอารมณของความรักและความทุกข และเรียบ
เรียงความรูสึกออกมาสื่อสารเปนบทละครพูดไดอยางดี ดั่งตัวอยางในตอนที่หลังจากสุเทษณไดสลายมนตตอ
หนานางมัทนาแลว เมื่อนางมัทนารูสึกตัวก็มคี วามรูสึกทั้งความโศกเศราและความเจ็บปวด จึงไดแตรองไหโอด
ครวญและไดแตชักถามวาทําไมสุเทษณถึงทําแบบนี้

สุเทษณ: อามัทนาโฉมฉาย เฉิดชวงดังสาย วิชชุประโชติอัมพร


ไหนไหนก็เจาสายสมร มาแลวจะรอน จะรนและรีบไปไหน?

มัทนา: เทวะ,อันขานี้ไซร มานี่อยางไร บทราบสํานึกสักนิด;


จําไดวาขาสถิต ในสวนมาลิศ และลมรําเพยเชยใจ,
แตอยูดีดีทันใด บังเกิดรอนใน อุระประหนึ่งไฟผลาญ,
รอนจนสุดที่ทนทาน แรงไฟในราน ก็ลมลงสิ้นสมฤดี.
ฉันใดมาไดแหงนี้? หรือวาไดมี ผูใดไปอุมขามา?
ขอพระองคจงเมตตา และงดโทษขา ผูบุกรุกถึงลานใน.

สุเทษณ: อาอรเอกองคอุไร พี่จะบอกให เจาทราบคดีดังจินต;


พี่เองใชมายาวิน ใหเชิญยุพิน มาที่นี้ดวยอาถรรพณ

มัทนา: เหตุใดพระองคทรงธรรม จึ่งทําเชนนั้น ใหขาพระบาทตองอาย


แกหมูชาวฟาทั้งหลาย? โอพระฦๅสาย พระองคจงทรงปรานี.

10
ซึ่งบทนี้ถือวาเปนบทที่สามารถแสดงออกถึงอารมณของตัวละครไดอยางเห็นไดชัด จึงทําใหผูอานไดรับ
รูและทําความเขาใจเกี่ยวกับสิง่ ที่จะสื่อถึงอารมณของตัวละครในฉากตางๆ ไดอยางงายดาย

คุณคาดานคุณธรรม
บทละครพูดคําฉันทเรื่องมัทนะพาธานี้ยังไดสะทอนแงคิดเอาไวใหคนในสังคมไดเขาใจตรงตามพุทธวัจ
นะที่วา "ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข" ยกตัวอยางเชน สุเทษณไดพบรักกับนางมัทนาแตก็ไมสมหวังก็มีแตจะพลอยทํา
ใหเปนทุกข ถึงแมสุเทษณจะเปนถึงเทพบุตรที่มีอิทธิฤทธิ์มากมายแตก็ไมสามารถครองใจแมกระทั้งความรัก
ของนางมัทนาได จึงมุงหวังแตจะทําลาย ความรักลักษณะเชนนี้จึงเปนความรักที่เต็มไปดวยความลุมหลงและ
ความเห็นแกตัว จึงแนะนําใหควรหลีกเลี่ยงความรักลักษณะนี้ไว
นอกจากนี้ บทละครพูดยังสะทอนใหเห็นคานิยมเกี่ยวกับการครองรักระหวางหญิงชายตองเกิดจาก
ความพึงพอใจทั้งสองฝาย มิใชเกิดจากการบังคับขูเข็ญใหรับรัก จึงจะเกิดความสุขในชีวิตไดอีกดวย

คุณคาดานวัฒนธรรม
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวซึ่งเปนกวีผูแตงเรื่องนี้ ทรงไดกําหนดเนื้อเรื่อง ตัวละคร และ
ฉากตางๆตรงตามวัฒนธรรมของชาวอินเดียโบราณที่ถือวาสอดคลองกับวัฒนธรรมไทย เนื่องจากวาไทยนั้น
ไดรับวัฒนธรรมสวนใหญมาจากอินเดียทั้งนั้น โดยเฉพาะความเชื่อตางๆ ที่เกี่ยวกับความเชื่อเรื่องสวรรค ซึ่งมี
เทวดาอันมีฤธานุภาพสามารถดลบันดาลใหเปนไปตางๆได เห็นไดชัดจากการที่สุเทษณ ซึ่งเปนเทพบุตรผูมี
อํานาจมากมายนั้นสามารถสาปนางมัทนาใหไปจุติเกิดเปนดอกกุหลาบบนโลกมนุษยไดตามที่นางขอ อีกทั้งยัง
รวมไปถึงความเชื่อเรื่องเวทมนตรคาถาที่สามารถบังคับบางสิ่งใหเปนไปตามตองการไดดวย เห็นจากที่มายาวิน
ใชเวทมนตรสะกดนางมัทนาใหมาหาและพูดโตตอบกับสุเทษณได โดยทีต่ ัวนางมัทนาเองนั้นไมรูสึกตัวเลย
แมแตนิดเดียว

11
บรรณานุกรม
กิ่งกาญจน. การใชภาษาใหงดงาม[ออนไลน]. เขาถึงเมื่อ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑. สืบคนไดจาก
https://kingkarnk288.wordpress.com/2015/08/24/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0
%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0
%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%
B8%A1/

ขอมูล ปาหิมพานต สัตวหมิ พานต ปาในวรรณคดีและความเชื่อ ตามคติศาสนาพุทธและฮินดู [ออนไลน].


เขาถึงเมื่อ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑. สืบคนไดจาก https://lifestyle.campus-
star.com/knowledge/86055.html

บุญกวาง ศรีสทุ โธ. มัทนะพาธา [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑. สืบคนไดจาก


http://sites.google.com/a/htp.ac.th/mathna-phatha/7-bth-wikheraah/7-2-khunkha-dan-
wrrnsilp

ศึกษาธิการ, กระทรวง. หนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวิจักษชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕.


พิมพครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพสกสค. ลาดพราว, ๒๕๕๖. ๑๓๑ หนา

12

Vous aimerez peut-être aussi