Vous êtes sur la page 1sur 13

NU Science Journal 2004; 1(1) : 87 - 99 87

วงจรแปลงสัญญาณอนาลอกเปนดิจิตอลสวิตช - คาปาซิเตอร
เดลตามอดูเลชั่นแบบงาย
ธงชัย มณีชูเกตุ
A Simple Analog-to-Digital Switched - Capacitor Delta Modulation Circuit
Thongchai Maneechukate

ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 65000

บทคัดยอ
บทความนี้ไดนําเสนอวงจรแปลงสัญญาณอนาลอกเปนดิจิตอล(A\D) ดวยหลักการเดลตา
มอดูเลชั่น(Delta Modulation) ที่สรางขึ้นจากวงจรสวิตช - คาปาซิเตอรที่สมบูรณ โดยสัญญาณนาฬิกา
ที่ใชในการควบคุมหลักเปนแบบ 2 เฟส และวงจรสรางสัญญาณควบคุมรองใชเพียงแอนดเกท
(And gate) 2 ตัวและอินเวอรเตอร(Inverter) 1 ตัวนอกจากนี้แลววงจรแปลงสัญญาณดิจิตอลเปนอนา
ลอก(D\A)และอินทิเกรเตอรจะถูกรวมไวในวงจรเดียวกัน โดยมีสัญญาณอินพุตเปนสัญญาณไฟตรง
(DC)อางอิงทั้งบวกและลบจึงทําใหวงจร A/D ที่ไดมีขนาดเล็ก โดยผลการเลียนแบบดวยโปรแกรม
พีสไปส(Pspice)แสดงใหเห็นวาวงจรสามารถทํางานไดดีในยานความถี่เสียง และโครงสรางวงจร
ยังเหมาะที่จะนําไปสรางเปนวงจรรวมดวยกระบวนการ CMOS ได

Abstract
In this paper, a simple and compact switch-capacitor (SC) delta modulation is proposed.
Main control clocks are two phase and sub control clock is generated by two AND gate and one
inverter. In addition D/A and integrator is integrated on one circuit that it’s input are composed of
positive and negative dc voltage reference. Simulation results with Pspice confirm that this network
works agree well with principle and proposed circuit convenient to realize in IC form.

บทนํา
ดวยเทคโนโลยีของ CMOS ทั้งวงจรอนาลอกและดิจิตอลสามารถสรางรวมไปในชิฟตัวเดียว
กันได ดวยสมรรถนะที่สูงแตกินเนื้อที่บนชิฟนอย ตัวแปลงสัญญาณอนาลอกเปนดิจิตอลจึงเปนที่
ตองการกันมาก ประกอบกับราคาที่ต่ําทําใหตัวแปลงเหลานี้จะตองเขากันไดกับกระบวนการสราง
วงจรดิจิตอลในปจจุบัน อยางไรก็ตาม สมรรถนะของการทํางานในรูปแบบอนาลอกก็ไมควรจะสูญเสีย
88 NU Science Journal 2004; 1(1)

ไปในระหวางกระบวนการสราง โดยทั่วๆ ไปแลวตัวแปลงสัญญาณ อนาลอกเปนดิจิตอล(A/D) ที่ใช


เทคโนโลยีของ MOS จะถูกสรางดวยเทคนิคของสวิตช – คาปาซิเตอร (SC) เปนสวนใหญ โดยที่มีวิธี
การในการแปลงสัญญาณอนาลอกเปนดิจิตอลหลายวิธี (H. Schmidt 1970; C. W. Barbour 1971; J.
McCreary 1975; James L. McCreary and Paul R. Gray 1975; Anthony Agnello 1990; Anne Watson
Swager 1991; B. Leung 1991; Brain P. Brandt 1991; Max W. Hauser 1991; Frank Goodenough
1991; Michael de Wit et al. 1993) อาทิ Successive Approximation (J. McCreary 1975), Pipeline
Successive Approximation, Charge Redistribution (C. W. Barbour 1971; James L. McCreary and
Paul R. Gray 1975), Delta Modulation และ Delta Sigma Modulation (Anthony Agnello 1990; Anne
Watson Swager 1991; Brain P. Brandt 1991; Frank Goodenough 1991; Max W. Hauser 1991)
เปนตน โดยที่โครงสรางของ A/D เหลานี้ ประกอบไปดวยการทํางานของสวิตชตัวเก็บประจุ
ออปแอมป ตัวเปรียบเทียบและตัวอินทิเกรต ซึ่งลวนแลวแตสรางขึ้นดวยกระบวนการของ CMOS ได
อยางสมบูรณ โดยตัวอยางของ A/D ที่กําลังเปนที่นิยมกันอยางมากในปจจุบันก็คือ เดลตาซิกมามอดูเล
ชั่น (Delta Sigma Modulation) เพราะใหความละเอียดแมนยําสูงในการแปลง และมีความสามารถใน
การกําจัดสัญญาณรบกวนไดเปนอยางดี แตอยางไรก็ตามอุปสรรคที่สําคัญประการหนึ่งของการออก
แบบ A/D เหลานี้ก็คือความซับซอนของสัญญาณนาฬิกาที่ใชในการควบคุมการทํางานของสวิตช
ทําใหเราตองสูญเสียพื้นที่สวนใหญของชิฟ A/D ไปกับวงจรจัดการสัญญาณควบคุม อยางไรก็ตาม
แมวา A/D ประเภทนี้จะมีราคาที่ไมสูงมากนักแตก็หาซื้อไดยาก ดังนั้นในบทความนี้จึงไดเสนอวงจร
เดลตามอดูเลชั่น(DM) ที่มีรูปแบบการทํางานดวยสวิตช - คาปาซิเตอร และใชสัญญาณควบคุมเพียงแค
สัญญาณนาฬิกาสองเฟสกับวงจรสรางสัญญาณควบคุมเงื่อนไขดวยแอนดเกทสองตัวและอินเวอรเตอร
อี ก หนึ่ ง ตั ว โดยวงจรสามารถทํางานไดดีใ นยานความถี่เสีย ง และสามารถพัฒ นาไปเปน A/D
แบบเดลตาซิกมามอดูเลชั่นได นอกจากนี้โครงสรางของวงจรยังสามารถนําไปสรางเปน วงจรรวม
(IC) ไดอยางเหมาะสม สําหรับการเรียบเรียงเนื้อหาในบทความนี้แบงออกเปน 5 สวนดวยกันคือ สวน
ที่ 1 คือบทนํา สวนที่ 2 ที่จะกลาวตอไปคือหลักการทํางานของ DM โดยทั่วๆ ไป และ DM ที่สรางดวย
เทคนิคของ SC สวนที่ 3 เปนการเลียนแบบการทํางานของวงจร SC DM ดวย Pspices สวนที่ 4 เปน
การสรุปและวิเคราะหผลการเลียนแบบ

หลักการและวงจร
กอนที่จะไปทําความเขาใจกับการทํางานของวงจร DM ที่สรางจาก SC จะกลาวถึงการทํางาน
ของ DM โดยทั่วๆ ไปเปนลําดับแรกดวยแผนภูมิในรูปที่ 1
NU Science Journal 2004; 1(1) 89

Comparator
Input Signal +
∑ + Digital Output
-
-

∫ D/A

Input Signal R eference or Predict Signal

Digital O utput

รูปที่ 1 แสดงแผนภูมิหลักการ DM โดยทั่วไป

จากรูปที่ 1 หลักการของ DM จะอาศัยเทคนิคการติดตาม (tracking) สัญญาณอินพุตอยางใกล


ชิดดวยสัญญาณการประมาณคาที่มีขนาด (step size) ของสัญญาณอางอิงนอยๆ นั่นคือสัญญาณ
อินพุตจะถูกประมาณคาดวยชุดสัญญาณอางอิงที่ใชในการทํานายคา(prediction)สัญญาณอินพุต โดยที่
แตละสเต็ปของสัญญาณอางอิงที่ใชในการทํานายจะนํามาเปรียบเทียบกับสัญญาณอินพุตเพื่อตัดสินใจ
วาจะเพิ่มคาหรือลดคาสัญญาณอางอิงในสเต็ปตอไป โดยเงื่อนไขของการทํานายคามีดังนี้ ถาสัญญาณ
อินพุตมากกวาสัญญาณที่ใชในการทํานายใหเพิ่มคาสัญญาณอางอิงไปครั้งละ 1 คา แตถาสัญญาณอิน
พุตนอยกวาสัญญาณการประมาณคาที่ใชในการทํานายใหลดคาสัญญาณอางอิงไปครั้งละ 1 คาเพื่อใช
ในการทํานายครั้งตอไป
สําหรั บ หลักการแปลงสัญ ญาณอนาลอกเปนดิจิตอลแบบเดลตามอดูเลชั่นในบทความนี้
จะใช วิ ธี ก ารเปรี ย บเที ย บค า สั ญ ญาณอิ น พุ ต กั บ สั ญ ญาณอ า งอิ ง ลําดั บ แรกที่ เ ป น ค า คงที่ ค า หนึ่ ง
ถาคาสัญญาณอินพุตมากกวาสัญญาณอางอิงลําดับแรกจะใหบิตออกมาเปน “1” แลวทําการเพิ่มคา
สัญญาณอางอิงไปอีก 1 เทาของสัญญาณอางอิงลําดับแรก นําเอาสัญญาณอางอิงที่ไดไปเปรียบเทียบกับ
สัญญาณอินพุตตอไป แตถาสัญญาณอางอิงลําดับแรกมากกวาสัญญาณอินพุตจะกําหนดคาบิตที่ไดเปน
90 NU Science Journal 2004; 1(1)

“0” หลังจากนั้นใหลดคาสัญญาณอางอิงลง 1 เทาจากสัญญาณอางอิงลําดับแรก หลังจากนั้นนําเอา


สัญญาณอางอิงที่ไดไปเปรียบเทียบกับสัญญาณอินพุตตอไป โดยที่การตัดสินคาบิตตอๆไปกระบวน
การก็จะดําเนินการไปเชนเดียวกับบิตแรก นั่นก็หมายความวาถาบิตเอาตพุตที่ไดเปน “1” จะเพิ่มคา
สัญญาณอางอิงไปทีละ 1 สเต็ป ในทางกลับกันถาเปน “0” ก็จะลดสัญญาณลงทีละ 1 สเต็ปเชนเดียวกัน
จากหลักการที่ไดเราสามารถเขียนแผนภูมิความสัมพันธการทํางานของวงจรไดดังรูปที่ 2

V
Reference Voltage
ref
Circuit
_
Clock Control
1-bit Digital Output
Circuit +

Sample & Hold Comparator


v
in Circuit

รูปที่ 2 แสดงบล็อกไดอะแกรมของวงจรแปลงสัญญาณอนาลอกเปน
ดิจิตอลจากหลักการเดลตามอดูเลชั่นดวยสวิตช-คาปาซิเตอร

การทํางานของวงจรเริ่มจากวงจรสัญญาณนาฬิกาควบคุมสงสัญญาณควบคุมใหกับวงจร
สุมตัวอยางและคงคา เพื่อทําการสุมตัวอยางและคงคาสัญญาณอนาลอกอินพุต vin ในขณะเดียวกันก็
จะสงสัญญาณนาฬิกาควบคุมใหกับวงจรสรางระดับสัญญาณอางอิงดวยเชนกัน เอาตพุตที่ไดจากการ
สุมตัวอยางและคงคาสัญญาณอินพุตและวงจรสรางระดับสัญญาณอางอิงจะนําไปเปรียบเทียบกัน
ที่ออปแอมปคอมพาราเตอร ซึ่งจะไดสัญญาณดิจิตอลเอาตพุตออกมา 1 บิตตอการแปลงสัญญาณ
1 ตัวอยางสัญญาณ และบิตที่ไดจะเปนสัญญาณปอนกลับไปควบคุมวงจร สรางระดับสัญญาณอางอิง
ให เ พิ่ ม ค า หรื อ ลดค า ระดั บ สั ญ ญาณอ า งอิ ง ตั ว ต อ ไป แล ว จึ ง เริ่ ม ทําการปฏิ บั ติ ก ารใหม ตั้ ง แต ต น
กับสัญญาณตัวอยางตัวตอไป จากบล็อกไดอะแกรมของรูปที่ 2 เรานํามาสรางเปนวงจรไดดังรูปที่ 3
NU Science Journal 2004; 1(1) 91

C2

φ1 φC
V
ref
_ φ2
+
+ Comparator & Feedback
C1 φC Opamp1 C3 _
Control Switched
Opamp2 φ2 G1 φC
φC φ1 φC
Reference Voltage Circuit _
Digital Output
φ1 φ2
+

v Opamp5 G3
in +
+
C4 _

Opamp3 C5 _
φ2 G2 φC
Opamp4
Sample & Hold Circuit

รูปที่ 3 แสดงวงจรแปลงสัญญาณอนาลอกเปนดิจิตอลจากหลักการเดลตามอดูเลชั่นที่สรางดวย
สวิตชคาปาซิเตอร

φ1

φ2
T

รูปที่ 4 แสดงแผนภูมิสัญญาณนาฬิกาควบคุม

การทํางานของวงจร
การทํางานในชวงของคาบเวลาแรก
ชวงครึ่งคาบแรก φ ทํางาน แรงดันอางอิง Vref และสัญญาณอนาลอกอินพุต vin จะถูก
1

สุมตัวอยางเขา มาเก็บไวที่ C และ C ตามลําดับ กลาวคือที่ C และ C จะมีแรงดันตกครอม


1 4 1 4

เทากับ Vref และ vin ดังนี้

qc
1
= C1Vref (1)

qc
4
= C4 vin (2)
92 NU Science Journal 2004; 1(1)

V
ref
+
_ C1

v
in +
+
C4 _
_
Opamp3

รูปที่ 5 แสดงวงจรขณะที่ φ1 ทํางาน

ชวงครึ่งคาบหลัง φ 2 ทํางาน เพื่อความสะดวกในการพิจารณาการทํางานของวงจรในจังหวะ


นี้เราจะสมมติให φc ทํางาน ซึ่งทํางานในจังหวะที่ตรงกันกับ φ ดังนั้น วงจรสมมูลของสวนวงจร2

สรางระดับสัญญาณอางอิงและวงจรสุมตัวอยางและคงคาแสดงไดดังรูปที่ 6
C2

V _
ref
+ φ2 G1 φC
+ +
_ C1 C3
_
Opamp1 Opamp2
_
Digital output
+
v G3
in +
+
Opamp5
+
C4 _
C5
φC
_
Opamp3 _
φ2 G2
Opamp4

รูปที่ 6 แสดงวงจรสมมูลขณะที่ φ2 และ φ c ทํางานพรอมกัน

จังหวะที่ φ , φc ทํางาน สวนของวงจรสรางระดับแรงดันอางอิง ที่ C จะสลับกราวดที่ขั้ว


2 1

ของตัวเก็บประจุ ประจุไฟฟาจาก C จะไหลเขาไปใน C โดยที่ออปแอมป1 ทําหนาที่เปนตัวปม


1 2

ประจุ(charge pump) ทําใหเอาตพุตของออปแอมป1 มีแรงดันเทากับ Vref และมีแรงดันตกครอม


C เทากับ Vref ดวย โดยที่
3

qc
2
= C2Vref (3)
NU Science Journal 2004; 1(1) 93

พิจารณาที่ออปแอมป2 จะเห็นไดวาทําหนาที่เปนบัฟเฟอร (Buffer) ดังนั้นที่เอาตพุตของ


ออปแอมป2 จึงมีแรงดันเทากับ Vref ในขณะเดียวกัน สวนของวงจรสุมตัวอยางและคงคา ที่เอาตพุต
ของออปแอมป4 มีแรงดันเทากับ vin ดวย นั่นคือ แรงดัน Vref และ vin จากวงจรทั้งสองสวนจะ
ไปเปรียบเทียบกันที่ออปแอมป5 ซึ่งเอาตพุตจะไดเปนบิตดิจิตอลขนาด 1 บิต ที่มีคาบเวลาเทากับ
คาบเวลาของสัญญาณนาฬิกาควบคุม φ , φ โดยแยกพิจารณาไดเปน 2 กรณี ดังนี้
1 2

กรณีที่ 1 ถาบิตดิจิตอลเปน “1” จะทําใหแอนดเกท G1 เปดทาง


ให φc ทํางานโดยจะมีเฟสตรงกันกับ φ 2

กรณีที่ 2 ถาบิตดิจิตอลเปน “0” แอนดเกท G จะเปดทางให 2

φ c ทํางานซึ่งจังหวะจะตรงกันกับ φ เชนเดียวกัน 2

การทํางานในชวงคาบเวลาที่ 2 ขณะที่ φ ทํางาน ลักษณะการทํางานจะเหมือนกันกับในชวงเวลา


1

คาบแรก กลาวคือวงจรทั้งสองสวนจะนําคา Vref และ vin มาเก็บไวที่ C และ C ตามลําดับ 1 4

ตอจากนั้น φ ก็จะทํางาน ในจังหวะนี้ถา φc ทํางาน วงจรสมมูลสวนสรางแรงดันอางอิงจะเปน


2

C2
+

C1
_
_
+

+
+
_
C3
Opamp1 Opamp2

รูปที่ 7 แสดงขณะที่ φc ทํางานประจุ qc ไหลเขาไปรวมกับประจุ


1
qc
2

ประจุจาก C1 , ( qc1 = C1Vref ) จะไหลเขาไปรวมกับประจุที่อยูใน C2 ที่คางอยูจากคาบเวลาแรก


นั่นคือ

qtotal = qc2 + qc1 (4)


94 NU Science Journal 2004; 1(1)

จากสมการที่ (3) จะได

qtotal = C1Vref + C2Vref


= C1 ( 2Vref ) (C1 = C2 ) (5)

ทําใหไดแรงดันเอาตพุตที่ออปแอมป2เทากับ 2Vref ( แรงดันอางอิงเพิ่มคา 1 สเต็บ ) แตถา φc ทํางาน


วงจรสวนสรางแรงดันอางอิงจะเปน
C2

+
_

+
+
+

_
C1 C3
_ Opamp1 Opamp2

รูปที่ 8 แสดงขณะที่ φc ทํางาน ประจุ qc


1
ไหลเขาไปรวมกับประจุ qc
2

ในกรณีนี้ที่ C1 จะไมเปลี่ยนกราวดประจุรวมที่ C2 จึงเปน

qtotal = qc2 − qc1


= C2Vref − C1Vref (6)
=0 (C1 = C2 )

จะเห็นไดวาระดับแรงดันอางอิงลดคาลง 1 สเต็ป สําหรับการทํางานที่ชวงคาบเวลาตอๆ มา


ลักษณะการทํางานก็จะซ้ํารอยเดิมเหมือนที่กลาวมา

ผลการเลียนแบบวงจร
จากวงจรในรูปที่ 2 เราจําลองการทํางานดวยโปรแกรมพีสไปซโดยใชโมเดลออปแอมปเปน
Ideal_opamp สวิตชใชโมเดลของ Sbreak คาความจุของคาปาซิเตอรทุกตัวเทากับ 0.001 µ F สัญญาณ
นาฬิกาควบคุมออกแบบไวที่ความถี่ 100 kHz และสัญญาณอนาลอกอินพุตมีความถี่ 1 kHz โดยมี
แอมปลิจูดเปน 2โวลต ซึ่งเปนสัญญาณคลื่น -รูปไซน คลื่นรูปสามเหลี่ยม และคลื่นรูปสี่เหลี่ยม
สัญญาณอางอิงเปนไฟดีซี Vref = 0.5 โวลต ซึ่งผลการเลียนแบบการทํางานของวงจรแสดงไดดังรูป
NU Science Journal 2004; 1(1) 95

ที่ 9 รูปที่ 10 และรูปที่ 11 ตามลําดับโดยที่สัญญาณเสนที่ 1 แสดงสัญญาณอนาลอกอินพุต สัญญาณ


เสนที่ 2 แสดงสัญญาณอางอิงที่ได และสัญญาณเสนที่ 3 แสดงบิตดิจิตอลเอาตพุต

รูปที่ 9 แสดงผลการเลียนแบบการทํางานเมื่อสัญญาณอินพุต เปนคลื่นรูปไซน

รูปที่ 10 แสดงผลการเลียนแบบการทํางานเมื่อสัญญาณอินพุตเปนคลื่นรูปสามเหลี่ยม
96 NU Science Journal 2004; 1(1)

รูปที่ 11 แสดงผลการเลียนแบบการทํางานเมื่อสัญญาณอินพุตเปนคลื่นรูปสี่เหลี่ยม

รูปที่ 12 เปนรูปแสดงการติดตามของสัญญาณอินพุตกับเอาตพุตและความผิดพลาดที่เกิดขึ้นโดยที่
สัญญาณเสนที่ 1 เปนสัญญาณอินพุตที่เกิดจากองคประกอบของสัญญาณไซนูซอยดอลสองความถี่
รวมกัน สัญญาณเสนที่ 2 เปนสัญญาณอางอิงที่ไดเพื่อใชเปรียบเทียบ และสัญญาณเสนที่ 3 เปนคาผิด
พลาดของการควันไตซ(quantization error)ระหวางสัญญาณเสนที่ 1 และเสนที่ 2
NU Science Journal 2004; 1(1) 97

สําหรับการหาคาอัตราสวนสัญญาณตอสัญญาณรบกวนจากการควันไตซ (signal to quantization noise


ratio)หาไดจาก
SNR =
( A2 2 ) = 3 A2 (7)
(δ 2 3) 2δ 2
เมื่อ A คือ แอมปลิจูดของสัญญาณไซนูซอยดอลอินพุต และ δ เปนขนาดของขั้นลําดับที่ใชในการ
ทํานายคา(step size)

25
Signal to noise ratio : dB

20

15

10

0.15 0.25 0.35 0.45 0.55 0.65 0.75


:Theory
Step size : Volt :Experiment

รูปที่ 13 แสดง SNR ที่ได เมื่อทําการปรับเปลี่ยนขนาดขั้นลําดับที่ใชในการทํานายคา


กับสัญญาณไซนูซอยดอลอินพุตที่มีแอมปลิจูด 2 โวลต

25
Signal to noise ratio : dB

20

15

10

1.0 2.0 3.0 4.0 5.0


:Theory
Amplitude : Volt :Experiment

รูปที่ 14 แสดง SNR เมื่อทําการปรับเปลี่ยนแอมปลิจูดสัญญาณไซนูซอยดอลอินพุต


โดยมีขนาดของขั้นลําดับที่ใชในการทํานายคา กําหนดไวที่ 0.25 โวลต
98 NU Science Journal 2004; 1(1)

สรุปผลการทดลอง
จากการทํางานของวงจรและผลการเลียนแบบ แสดงใหเห็นวาวงจร SC DM ที่ไดนําเสนอนี้
สามารถทํางานเปน A/D ขนาดหนึ่งบิตไดเปนอยางดีในยานความถี่เสียง โดยจากผลการเลียนแบบใน
รูปที่ 9,10,11 และ 12 แสดงใหเห็นถึงการติดตามสัญญาณอินพุตดวยสัญญาณที่ทํานายไดมีความ
ใกลชิดกัน ทั้งนี้คาความแมนยําขึ้นอยูกับขนาดของขั้นลําดับ (step size) ในการทํานาย อยางไรก็ตาม
เนื่องจากในตอนเริ่มตนของการทํางาน การเริ่มตนทํานายคาอินพุตอยูที่ไฟเลี้ยงดานลบดังนั้นการติด
ตามสัญญาณในชวงแรกจึงไมทัน เนื่องจากบทความนี้มุงเนนที่จะเสนอโครงสรางของวงจรที่เล็กและ
สามารถสรางเปนวงจรรวมไดดวยกระบวนการของ CMOS ในที่นี้จึงยังไมมีการสรางวงจรจริง ดังนั้น
คาความผิดพลาดและคุณสมบัติบางประการของ A/D จึงมิไดนําเสนอไว คงมีแตเพียงผลของความผิด
พลาดของการควันไตซจากการเลียนแบบการทํางานของวงจรแสดงไวเทานั้น

เอกสารอางอิง
Anne Watson Swager. 1991. “Oversampling data conversion,” Technology Update, September,
77-86.
Anthony Agnello. 1990 “16-Bit conversion paves the way to high-quality audio for PC’s”
Electronic Design, 26 July, 61-66.
B. Leung. 1991. “The oversampling technique for analog to digital conversion: A tutorial
overview,” Analog Integrated Circ. Signal Process., 1, 65-74.
Brain P. Brandt. 1991. “A 50-MHz multibit sigma-delta modulator for 12-b 2-MHz A/D
conversion,” IEEE J. Solid State Circuits, 26 (12), 1746-1756.
C. W. Barbour. 1971. “ Simplified PCM analog to digital converter using capacity charge transfer,”
Telemetering Conference, pp. 4.1-4.11.
Frank Goodenough. 1991. “20-bit delta-sigma ADC’s vie for integrator jobs,” Electronic Design,
25 April, 93-96
H. Schmidt. 1970. Analog-Digital Conversion, Van Nostrand Reinhold, New York.
James L. McCreary, and Paul R. Gray. 1975. “All MOS charge redistribution analog-to-digital
conversion techniques,” IEEE J. Solid State Circuits, Part I, SC-10, 371-379.
J. McCreary. 1975. “Successive approximation analog-to-digital conversion in MOS integrated
circuits,” Ph.D. dissertation, University of California, Berkeley.
NU Science Journal 2004; 1(1) 99

Michael de Wit, Khen - Sang Tan, and Richard K. Hester. 1993. “A low power 12 - b analog – to -
digital converter with on-chip precision trimming,” IEEE J. Solid State Circuits, 28, No.
(4),455 - 461.
Max W. Hauser. 1991. “Principles of oversampling A/D conversion,” J. Audio Eng. Soc., 39 (1/2).

Vous aimerez peut-être aussi