Vous êtes sur la page 1sur 34

ขอความ

้ ภาพประกอบ
ป ตาราง แผนภาพ หรอขอมู
ื ้ ลใดๆใ
ที่ปรากฏในหลักสูตรอบรม ถือเป็ นลิขสิทธ์ ิ
ของศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรูต้ ลาดทุน
ห้ามทําซํา้ ดั
หามทาซา ดดแปลง
ดแปลง หรื อเผยแพร่ส่วนหนึ่ งส่วนใด
หรอเผยแพรสวนหนงสวนใด
หรือทัง้ หมดในทุกรูปแบบ
และห้้ามอดเสีั ียง ภาพ หรือื วิ ดีโอในระหวางการบรรยาย
ใ ่
หากผูใ้ ดกระทําการที่เข้าข่าย จะถือว่าเป็ นการละเมิดลิขสิทธ์ ิ

ลงทุ
หลกสู
หลั ตน
ุ รหุ้นุ ฉบับมือใหม่
กสตร
เงินิ ทองต้้ องวางแผน
บรรยายโดย
บรรยายโดย
คุคุณณนฤมล
ภูริภทั รบุญ
เขีสนอง
ียวบริิบรู ณ์์

2
หัวข้อการบรรยาย
 ลงทุนหุ้น...ทางลัดสู่ความมังคั
่ งอย่
่ างมันคง

 เริ่มต้น...ค้นหา“หุ้นตัวแรก”
 ซืื้อขายหุ้นอยางมนใจ
่ ั ่ ใ ตองเขาใจกลไกตลาด
้ ้ใ ไ
 ฉลาดลงทุุน ต้องรู้จู กั ใช้สิทธิและภาษี

 ลงทุนุ หุ้นุ ...


ทางลัดสู่ความมังคั
่ ง่ อย่างมันคง

• หุห้นสามญ...ขุ
สามัญ ขมทรั
มทรพยสู
พย์สค่ วามมงคง
วามมังคั
่ ง่
• ราคาหุน้ มาจากไหน...ใครบอกที?

4
หุ้นุ สามัญ... ขุมุ ทรัพย์ส่คู วามมังคั
่ ง่

ลงทนห้
ลงทุ
นหุน...ดอยางไร?
ดีอย่างไร?
฿
฿
โอกาสในการสร้าง ความน่ าสนใจ เป็ นเจ้าของกิ จการ
ของเงิิ นปัันผล โ ไ ต่ ้องนัับ 1
โดยไม่
ผลตอบแทน
>> >>
• ห้หุนผลตอบแทนทดทสุ
ผลตอบแทนที่ดีที่สด • Di
Dividend
id d Yield
Yi ld เฉลยี่ ของหุ้น • โโอกาสในการเป็
ใ ป็ นเจ้้าของ
ในระยะยาว ในตลาดหลักทรัพย์อยู่ที่ กิ จการดีๆ โดยไม่ต้องเริ่ มต้น
• ลงทุนหุ้นไทยมีโอกาสได้กาํ ไร 3.55% เอง
มากกว่่าขาดทุน • มากกว่่า 50 %ของบริิ ษทั จด
• ยิ่ งลงทุนหุ้นไทยในระยะยาว ทะเบียนจ่ายเงิ นปันผล
แทบไม่มีโอกาสขาดทุน • เงิ นปันผลเครดิ ตภาษี ได้

หุ้นใให้้ผลตอบแทนทีี่ดีที่สดุ ในระยะยาว

Total nominal return 2006 - 2016 ระยะเวลาตงแตป
ระยะเวลาตัง้ แต่ปี 2549 –ปีป 2559
หน่ วย : บาท
4,000
3,500
3 429 82
3,429.82 CAGR
3,000
เงิ นลงทุนเริ่ มต้น = 12.88%
2 500
2,500 2 257 58
2,257.58
2,000
ทีี่ 1,000 บาท = 6.11%
1,500
1,776.32 = 5.36%
1,000 1,246.10 1 82%
= 1.82%
500
0
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

ห้นสามัญ ทองคํา ตราสารหนี้ เงิ นฝาก


Source : SET Analysis

6
แม้จ้ ะมีีความผันั ผวน...แต่่ลงทุนหุ้นไไทยมีีโอกาสได้
ไ ้กาํ ไรมากกว่
ไ ่าขาดทุน
ผลตอบแทนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในช่วงปี 2518 - 2559 (41 ปี )
ผลตอบแทนรายปี จํานวนปี ที่กาํ ไร มี 26 ปี
140%
129.41% ผลตอบแทนเฉลี่ย
120%
123.52% 118.48% +40 93 %
+40.93
100%
90.37%
80%
66.90%
66 90%
60% 57.84%
39.56% 38.74%
40% 24.36%
5.64%47.68% 15.85% 41.38% 28.50% 43.52% 22.83%
20% 14 89%
14.89% 19 66%
19.66% 36.05%
% 20
20.04%
04% 18.26%
8 6%
29.53% 3.00%
2.99% 14.94% 10.21%
0%
-10.64%
-20% 2518 2520 2522 2524 2526 2528 2530 2532 2534 2536 2538 2540 2542 2544 2546 2548 2550 2552 2554 2556 2558
-4.91%
4 91% -26.66% -3.58% -3.19% -10.73%
10 73% -3.46%
-40% -7.13% -17.32% -0.51%
-32.85% -31.57% -42.36% -40.99%
-60% -49.14%
จานวนปทขาดทุ
จํานวนปี ที่ขาดทนน มมี 15 ปปี
ผลตอบแทนเฉลี่ย -19.00 %
7

ยิ่ งลงทุนหุ้นไไทยยาวๆ...แทบไม่
ไ ม่ ีโอกาสขาดทุน
ผลตอบแทนจากการลงทุนหุนในตลาดหลกทรพยไทย
ผลตอบแทนจากการลงทนห้ ในตลาดหลักทรัพย์ไทย
ผลตอบแทนสําหรับ 2518 - 2559
การลงทุนระยะเวลาสัน้ ๆ 200%
มีความผันผวนมากกว่า 40.93%
150%
การลงทุนระยะยาว 100%
18 70%
18.70%
50% 16.23% 11.72% 8.69% 9.64%
โดยหากลงทุนใน
0%
ตลาดห้นไทย
ตลาดหุ 1-Year 5-Year 10-Year 15-Year 20-Year 25-Year
-50% Periods Periods Periods Periods Periods Periods
ระยะยาว 20 ปี ขึน้ ไป -100% -19.00% -13.90% -4.08% -2.56%
แทบไม่มีโอกาสขาดทนน
แทบไมมโอกาสขาดทุ High Average Low

Source : Setsmart
8
“หุ้น” คืืออะไร?

• ตราสารประเภทหุ
ป ้นทุน
• ออกโดยบริษทั จํากัดมหาชน เงิ นปันผล (Dividend)
ทีต่ ้องการระดมเงินทุน
กําไรจากส่วนต่างราคา
(C it l G
(Capital Gain
i )

สิ ทธิ (Rights)
( g )

ตัวกลางการซื้อขาย

ลงทุนในหุ
ใ ้นไได้้อะไร?

เงิ นปันผล ส่วนต่างราคา

ผลตอบแทน รับเงิ นปันผล ผลตอบแทน ขาย กําไร


10 120 20

ซื้อ ซื้อ
100 100
ความเสี่ยง ไม่ได้รบั ความเสี่ยง ขาย ขาดทุน
เงิ นปันผล 80 20

10
ราคาหุ้นุ มาจากไหน...ใครบอกที?
ปัจจัยที่เป็ นตัวกําหนดราคาหุ้น ปัจจัยที่ทาํ ให้ราคาตลาดหุ้นขึน้ ลง

Sentiment
เศรษฐกิ
ฐ จ อุตุ สาหกรรม บริ ษทั ในการลงทุุน

แรงซื้อและแรงขาย
แรงซอและแรงขาย
ผลตอบแทน ความเสี่ยงที่จะต้องเผชิ ญ
ที่คาดว่าจะได้รบั จากการลงทุน
ซื้อ > ขาย  ราคาตลาดสูงขึน้
มูลค่าที่แท้จริ ง
ขาย > ซอ
ซื้อ  ราคาตลาดตาลง
ราคาตลาดตํา่ ลง
เปรียบเทียบกับ
ซื้อ ขาย
มูลค่าที่แท้จริ ง มูลค่าที่แท้จริ ง
> ราคาตลาด ราคาหุ้นในตลาด < ราคาตลาด

11

SET Index...ดัชั นีี ราคาชีี้ทิศทางตลาด


SSET Index
de คืออะไร?
ดัชนี ราคาหุ้นตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET Index) คือ ดัชนีทส่ี ะท้อนการเคลื่อนไหว
ของราคาหลักทรัพย์ทงั ้ หมด ((Compositep Index)) ซึง่ ตัวเลขทีเ่ คลือ่ นทีข่ น้ึ หรือลงเปรียบเสมือน
ตัวชีว้ ดั ให้เราเห็นภาพว่าตลาดกําลังเป็ นเช่นไร

สูตรการคํานวณดัชนี ราคาหุ้นตลาดหลักทรัพย์ มูลค่าตลาดรวมวันปั จจุบนั (Current Market Value) x 100


=
(SET Index) มูลค่าตลาดรวมวันฐาน (Base Market Value)

สีเขียว หากดัชนีเป็ นสีเขียว: มูลค่าตลาดรวมวันนี้ สูงกว่า วันก่อนหน้า

สีแดง หากดัชนีเป็ นสีแดง: มูลค่าตลาดรวมวันนี้ ตํา่ กว่า วันก่อนหน้า

12
ดัชั นีี สาํ คัญ
ั ที่ีนักลงทุนควรรู้จกั
1 SET50 2 SET100 3 SET HD 4 sSET
แสดงระดับและความ แสดงระดับและความ สะท้อนความ สะท้อนความ
เคลื่อนไหวของราคาห้น
เคลอนไหวของราคาหุ เคลื่อนไหวของราคาห้น
เคลอนไหวของราคาหุ เคลื่อนไหวราคาของกล่ม เคลื
เคลอนไหวราคาของกลุ เคลอนไหวของราคาหุ
่อนไหวของราคาห้น
สามัญ 50 ตัวที่... สามัญ 100 ตัวที่... หุ้น 30 ตัวที่... ซึ่งอยู่นอกเหนื อดัชนี
SET50 และ SET100 ที่...
• เป็ป็ นหุน้ ขนาดใหญ่
ใ ่ • มีี Market Cap.สูง • มี Market Cap.สูง • ม ี Market
M k t CCap. อยูใ่ น
• มี Market Cap. สูง • การซือ้ ขายมีสภาพคล่อง • มีสภาพคล่องสูง ลําดับตัง้ แต่ 90% ขึน้ ไป
• การซือ้ ขายมีสภาพคล่อง สูงู อย่างสมํ่าเสมอ แต่ไม่เกินลําดับที่ 98%
อย่างสมํ่าเสมอ
อยางสมาเสมอ ของหุน้ สามัญ ั ทังั ้ ตลาด
สูงอย่างสมํ่าเสมอ • มีสดั ส่วนผูถ้ อื หุน้ ราย • มีอตั ราผลตอบแทน
• มีสดั ส่วนผูถ้ อื หุน้ ราย ย่อยผ่านเกณฑ์ท่ี • มีสภาพคล่องในการซือ้
จากเงินปั นผลสูงและ ขายสมํ่าเสมอ
ย่อยผ่านเกณฑ์ท่ี
ยอยผานเกณฑท กําหนด
กาหนด ต่่อเนื่อื ง (มีนโยบายจ่าย • มีสดั ส่วนผูถ้ อื หุน้ รายย่อย
กําหนด เงินปั นผลมากกว่า 85% ของ ตามทีก่ าํ หนด
กําไร 3 ปี ยอ้ นหลัง)

13

ิ่ ้ คนหา
 เรมตน... ้ “ ้นตวแรก”
“หุ ั

• เลื
เลอกหุ
อกห้นใหโดนใจ
ให้โดนใจ ต้ตองรู
องร้จกสไตลหุ
กั สไตล์หน้
• เทคนิควิเคราะห์หนุ้ แบบง่าย ฉบับมือใหม่ลงทุน

14
เลือกหุ้นุ ให้โดนใจ ต้องรู้จู กั สไตล์ห้นุ
สํารวจตัวเองก่อน....คุณต้องการลงทุนในหุ้นเพราะอะไร?
กําหนดเป้ าหมายให้ชดั เจน
ลงทุนเพื่ออะไร จะบรรลุเป้ าหมายเมื่อไหร่
เพราะเป้ าหมายจะตอบโจทย์ได้เป็็ นอย่างดีว่า

“หุ้นุ แบบไหนทีเ่ หมาะกับคุณ


ุ ”
เป้ าหมาย ประเภทหุ้นที่เหมาะสม
หุ้นกิ จการขนาดใหญ่ ผลการดําเนินงานดี ฐานะการเงินมันคง ่ เช่น หุน้ ในกลุม่ SET50
ลงทุนระยะยาว 10 - 15 ปี หุน้ คุณค่าทีร่ าคาตลาดตํ่ากว่ามูลค่าทีแ่ ท้จริง มีปัจจัยพืน้ ฐานแข็งแกร่ง
หุ้นเติ บโต ทีม่ ผี ลการดําเนินงานโดดเด่น มีแนวโน้มการเติบโตสูงในอนาคต
ลงทุุนเพื่อรับเงิ นปันผล หุ้นุ ทีม่ ีปันผลดี จ่ายปั นผลสมํ่าเสมอ มีอตั ราการเติบโตทีด่ ี เช่น หุนุ้ ในกลุุม่ SET High Dividend 30 Index
ลงทุนเพื่อทํากําไรระยะสัน้ หุ้นขนาดกลางหรือขนาดเล็กทีม่ กี ารเติบโตสูงอย่างต่อเนื่อง แล้วหาจังหวะขายทํากําไรเป็ นระยะๆ
ยังไม่ชดั เจน อยากสร้าง ่ หุน้ ทีจ่ า่ ยเงินปั นผลดี และหุน้ ขนาดกลางหรือขนาดเล็กทีเ่ ติบโตอย่าง
หุน้ กิจการขนาดใหญ่ทม่ี คี วามมันคง
ความมงคงเฉยๆ
ั่ ั่ รวดเรว็

15

เราสามารถแบ่ง่ “หุ้น” ออกเป็็ นกลุ่มๆ


กลุ่มุ หุ้นุ ตาม
ลักษณะของกิ จการ
มีห้นุ ดีๆ ในตลาดฯ กลุ่มหุ้นตาม
รอคอยให้เราค้นหา สไตล์ของหุ้นุ
ตัง้ มากมาย
กลุ่มหุ้น
ตามขนาด

อื่นๆ

จํานวนบริษทั จดทะเบียน (หุ้นสามัญ)


SET = 569 บริ ษทั เกิ ดผูล้ งทุนประเภทต่างๆ
Mai = 130 บริ ษทั
รวม 699 บรษท
บริ ษทั

16
กลุ่มหุ้นตามลักั ษณะของกิ จการ
• กิจการทีจ่ ดั ตัง้ มานาน มีปัจจัยพืน้ ฐานดี
หุ้นบลูชิบ (Blue Chip Stock) • เป็ นบริ ษทั ชัน้ นํา เสาหลักสําคัญของอุตสาหกรรม
• อัตราผลตอบแทนไม่ผนั ผวน
• กิ จการที่กาํ ลังเจริ ญก้าวหน้ า มีผลการดําเนินงานโดดเด่น
หุ้นเติ บโต (Growth Stock) • จ่ายเงิ นปันผลในอัตราที่ไม่สงู นัก
• อัตราผลตอบแทนสูงกว่าหุ้นตัวอื่นๆ
• กจการทมผลการดาเนนงานสมาเสมอ
กิจการทีม่ ผี ลการดําเนิ นงานสมํา่ เสมอ ไม่
ไมแปรผนตามภาวะเศรษฐกจ
แปรผันตามภาวะเศรษฐกิ จ
หุ้นตัง้ รับ (Defensive Stock) • ความเสี่ยงทางธุรกิ จและความเสี่ยงทางการเงิ นตํา่
• จ่ายเงิ นปันผลในช่วงที่เศรษฐกิ จซบเซาได้ดี

• กิจการทีผ่ ลการดําเนินงานได้รบั อิ ทธิ พลโดยตรงจากวัฏจักรเศรษฐกิ จ


หุ้นวัฏจักร (Cyclical Stock) • อัตราผลตอบแทนเปลี่ยนแปลงมากกว่าอัตราผลตอบแทนของตลาด
• ยอดขายและกําไรเติ บโตสูงมากในช่วงเศรษฐกิ จรุง่ เรือง

• ราคาหุน้ ขึน้ ลงเร็วในระยะสัน้ จากปั จจัยทัง้ ทีม่ เี หตุผลและไม่มเี หตุผล


หุ้นเก็งกําไร (Speculative Stock) • มีโอกาสสูงที่จะสร้างผลตอบแทนตํา่ มากหรือขาดทุน
และมีโอกาสตํา่ ที่จะสร้างผลตอบแทนปกติ หรือสงมาก
และมโอกาสตาทจะสรางผลตอบแทนปกตหรอสู งมาก

17

กลุ่มหุ้นตามสไตล์
ไ ข์ องหุ้น
• เป็
เปนหุนห้นทราคาตากวามู
ทีร่ าคาตํ่ากว่ามลค่
ลคาทแทจรง
าทีแ่ ท้จริง
(ของดี ราคาถูก) อัตราการขยายตัวของกําไร สินทรัพย์ และรายได้ ตํา่
“หุ้นคุณค่า” • ผลการดําเนินงานดี อัตราส่วนราคาต่อกําไรต่อหุน้ ตํา่
(V l Stock)
(Value St k) พืน้ื ฐานทางการเงินแข็ง็ แกร่ง อัตราส่วนราคาต่อมูลค่าทางบัญชีต่อหุน้ ตํา่
• จ่ายเงินปั นผลดี อัตราผลตอบแทนจากเงินปั นผล สูง
• สินทรัพย์และรายได้ไม่คอ่ ยขยายตัว

• หุน้ ทีม่ รี าคาสูง (ของดี ราคาสูง)


• ยอดขาย กาไร ํ ไ หรอสนทรพยขยายตว
ื ิ ั ์ ั อัตราการขยายตัวของกําไร สนทรพย
อตราการขยายตวของกาไร สินทรัพย์ และรายได
และรายได้ สงู
“หุ้นเติ บโต” สูงกว่าค่าเฉลีย่ ตลาด อัตราส่วนราคาต่อกําไรต่อหุน้ สูง
(Growth • จ่ายเงินปั นผลตํา่ อัตราส่วนราคาต่อมูลค่าทางบัญชีต่อหุน้ สูง
Stock) • เหมาะสําหรับผูล้ งทุนทีส่ ามารถ อัตราผลตอบแทนจากเงินปั นผล ตํา่
รับความเสีย่ งจากความผันผวน
ของราคาหุน้ ได้

18
กลุ่มหุ้นตามขนาดของตลาดหุ้นไไทย
No. Market Cap.
Large-cap • มีสภาพคล่องสูง 1 XXX
Stock • มีผลการดําเนิ นงานและฐานะทางการเงิ
ฐ น … XXX
แข็งแกร่ง แม้ในช่วงวิ กฤติ เศรษฐกิ จ 50 XXX
• เตบโตมาจากกลุ
เติ บโตมาจากกล่ม Small
Small-cap
cap 51 XXX
Mid-cap
• มีการบริ หารจัดการที่ดี … XXX
Stock
• ไดรบความสนใจจากผู
ได้รบั ความสนใจจากผ้ลงทุงทนเฉพาะกล่
นเฉพาะกลุม 100 XXX
101 XXX
• กําไรมีโอกาสขยายตัว
Small cap
Small-cap … XXX
• ไม่ค่อยมีบทวิ เคราะห์
Stock
• มีโอกาสหาหุ้นที่มีราคาตลาดตํา่ กว่ามูลค่าที่แท้จริ ง (Undervalued)

19

กลุ่มหุ้นตามลักั ษณะอื่ืนๆ
ห้หุน Turn • บริษทั ทีเ่ คยมีปัญหาจนประสบภาวะขาดทุนุ อย่างมาก
Around • มีการปรับปรุงการบริ หารงาน หรือเมือ่ การประกอบธุรกิจทีบ่ ริษทั ดําเนินงานอยูป่ รับตัวดีขน้ึ
• ส่งผลให้ผลประกอบการพลิ กกลับมามีกาํ ไร
หุ้น
• หุน้ ทีจ่ ะได้ประโยชน์ จากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ จหรือกระตุ้นการฟื้ นตัวของ
Domestic
ภาคเศรษฐกิ จภายในประเทศ
Play

หุ้น Earning • หุน้ ทีร่ าคาหุ้นถูกขับเคลื่อนด้วยพลังของปัจจัยพืน้ ฐาน โดยจะให้น้ําหนักไปทีก่ ารเติบโต


Play ของผลประกอบการในอนาคต

หุ้น Super • หุน้ ทีส่ ามารถสร้างผลตอบแทนได้สงู จากราคาหุ้นที่ปรับตัวขึน้ อย่างมีนัยสําคัญ


Stock และต่อเนื่ อง

ตอบได้หรือยัง...ห้นุ แบบไหนที่คณอยากลงทน?
ุ ุ
20
เทคนิ ควิเคราะห์ห้นุ แบบง่าย ฉบับมือใหม่ลงทุนุ

าใจองค์ประกอบของการวิเคราะห์ห้น
เขาใจองคประกอบของการวเคราะหหุ
เข้

ข้อมูลเศรษฐกิ จ Public ข้้อมูลราคาและปริ มาณซื้อ


อุตสาหกรรม และบริ ษทั Information ขายหลักทรัพย์

การวิ เคราะห์
การวิ เคราะห์ปัจจัยพืน้ ฐาน
ปัจจัยทางเทคนิ ค

ค้นหาบริ ษทั ดี / ค้นหาจังหวะ


หุ้นุ ดีราคาเหมาะสม ที่จะเข้าลงทุุน

การตัดสิ นใจลงทุนอย่างมีเหตผุล

21

เริ่ มต้้นอย่่างมันั ่ ใจ
ใ ใช้
ใ ้ปัจจัยั พืืน้ ฐาน
องค์ประกอบของการวิเคราะห์ปัจจัยพืน้ ฐาน
การวิิ เคราะห์เ์ ศรษฐกิิ จ
วัฏจักรธุรกิจ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)อัตราดอกเบีย้ ทัง้ ในและต่างประเทศ นโยบายการเงินการคลัง
และตัวแปรมหภาคอืน่ ๆ เช่น โครงสร้างประชากร วัฒนธรรม เทคโนโลยี กฎหมาย ฯลฯ

การวิ เคราะห์อตุ สาหกรรม


วฏจกรธุ
ั ั รกิจิ วงจรการขยายตวของอุ
ั ตสาหกรรม โครงสร้
โ า้ งการแข่ง่ ขนของอุ
ั ตสาหกรรม ฯลฯ

การวิ เคราะห์บริ ษทั


ประเภทของบริษทั ลักษณะของบริษทั ในเชิงคุณภาพ (ขนาดของบริษทั อัตราการขยายตัวในอดีต)
ลักษณะของบริษทั ในเชิงปริมาณ ฯลฯ

หลักทรัพย์ ABC หลักทรัพย์ที่ให้อตั ราผลตอบแทน


สูงสุด ณ ระดับความเสี่ยงหนึ่ ง
กลุ่มหลักทรัพย์
ทีี่เลืือกลงทุน (ABC) XYZ
XYZ,KAP,MNO,JKL,PQR
KAP MNO JKL PQR และหลกทรพยอนๆ
และหลักทรัพย์อื่นๆ

22
ตัวั อย่่าง การวิเคราะห์เ์ ศรษฐกิจและผลกระทบต่่อธุรกิจ
การวิ เคราะห์เศรษฐกิ
ฐ จและปัจจัยมหภาคจะช่วยให้เราประเมิ นทิ ศทาง
หรือผลสุทธิ (บวกหรือลบ) ที่มีต่อหุ้นของบริ ษทั จดทะเบียนได้
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร พ.ศ. 2503 – 2573 การคาดการณ์โครงสร้างและจํานวนประชากรไทยใน พ.ศ. 2573
จํานวน สัดส่วน
ที่
(ล้านคน) (%)
เดก็ 9 4
9.54 13 1%
13.51%
วัยทํางาน 43.35 61.37%
ผูสู้ งู อายุุ 17.74 25.12%
รวม 70.63 100%
“สังคมไทยก้าวเข้าสู่สู งั คมผูสู้ งู อายุ”ุ ทีม่ า : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ปัจจัยส่งเสริ มการเป็ นสังคมผูส้ งู อายุ :


การคุมกําเนิ ดที่ได้ผล / คนแต่งงานช้าลง / เทคโนโลยีการแพทย์เจริ ญก้าวหน้ าขึน้

23

านคิดว่าจะเกิดอะไรขึน้ กับสังคมและเศรษฐกิจไทยในอนาคต
“ทานคดวาจะเกดอะไรขนกบสงคมและเศรษฐกจไทยในอนาคต
“ท่
และธุรกิจอะไรที่น่าสนใจลงทุน”

• ความต้องการบริการทางการแพทย์สงู ขึน้ ธุรกิจอะไร


• ความกังวลว่าจะมีเงินพอใช้จบั จ่ายหลังเกษียณหรือไม่ ทีี่น่ าสนใจลงทุ
ใ น
• รัฐต้องคิดวิธดี แู ลสวัสดิการให้กบั ประชาชนให้ดขี น้ึ
• วัยแรงงานมีนี ้อยลง แต่ตอ้ งดูแลผูส้ งู อายุมากขึน้ึ
• บางวิชาชีพ อาจต้องเลือ่ นเวลาการเกษียณออกไป
• คนจะหันั มาดูแลสุขภาพมากขึน้ึ ไม่ ไ อ่ ยากแก่่
• เด็กมีน้อยลง พ่อแม่ตามใจ ดูแลมากขึน้
ฯลฯ

24
ตัวั อย่่าง การวิเคราะห์เ์ ศรษฐกิจและผลกระทบต่่อธุรกิจ

ดังนัน้ จะส่งผลดีต่อธุรกิจเหล่านี้
แลวจะเลอก
แล้ วจะเลือก
• การเงิน / การวางแผนการลงทุน ลงทุนบริษทั
อะไรดี ?
อะไรด
• โรงพยาบาล / เภสัชกรรม
• อุอปกรณ์
ปกรณออกกาลงกาย
ออกกําลังกาย / สถานออกกาลงกาย
สถานออกกําลังกาย
• การท่องเที่ยว / ทัศนาจร

25

การวิเคราะห์บ์ ริษทั
วิเคราะห์ ขอมู
คืคออ การรวบรวม วเคราะห ข้อมลในด้
ลในดานตางๆ ของบริษทั จดทะเบียน
านต่างๆ ของบรษทจดทะเบยน
ทัง้ เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ทัง้ ในอดีต ปัจจุบนั และคาดการณ์ ในอนาคต

1 2
การวิ เคราะห์เชิ งคุณภาพ วิ เคราะห์เชิ งปริ มาณ
(Qualitative Analysis) (Quantitative Analysis)
เป็ นการประเมิ นระดับความสามารถในการแข่งขัน เป็ นการวิ เคราะห์ตวั เลขต่างๆ ในงบการเงิ น
และทํากําไรของบริ ษทั ในด้านต่างๆ ทไมเกยวของ
และทากาไรของบรษทในดานตางๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง ได้แก่ งบดลุ งบกําไรขาดทนุ งบกระแสเงิ นสด
กับตัวเลข ซึ่งปกติ จะใช้เครื่องมือวิ เคราะห์อตั ราส่วนทาง
การเงิ น และการประเมิ นราคาหลักทรัพย์เป็ นหลัก

เพือ่ ประเมินความน่ าสนใจ ในการลงทุนในบริษทั นัน้

26
ศึศกษาขอมู
กษาข้อมลบร ิ ษทั หรือหลักทรัพย์จาก
ลบรษทหรอหลกทรพยจาก
สรุปข้อสนเทศบริษทั จดทะเบียน แบบ56-1 และงบการเงินปี ล่าสุด
1
www.set.or.th
รวบรวมข้้อมูล
รายละเอียดของ 3
หลักทรัพย์ทงั ้ หมด
2
ในตลาด รวมทัง้ 4&5
กฏเกณฑ์ และข้อมูล
การซื้อขาย
วิ ธีการดาวน์ โหลด
1. ใส่ชื่อย่อหลักทรัพย์ (Quote) ที่ต้องการทราบข้อมูล
2. เลือกเมนูู “บริ ษทั /หลักทรัพย์”
3. คลิ ก ดาวน์ โหลด สรุปข้อสนเทศบริ ษทั จดทะเบียน
4. คลิ ก ดาวน์ โหลด แบบ 56-1
5. คลิ ก ดาวน์ โหลด งบการเงิ นปี ล่าสุด

27

สรุปข้้อสนเทศบริษทั จดทะเบีียน... เข้้าใจบร


ใ ิ ษทั ได้
ไ ้ใน 1 หน้้ า

ข้อมูลสําคัญที่ควรพิจารณา
• ลัลกษณะการประกอบธุ
กษณะการประกอบธรกิ รกจจ
• รายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่
• ข้อมูลู สถิตแิ ละการจ่ายเงินปั นผล
• งบการเงิน 3 ปี ยอ้ นหลัง
• อัตราส่วนทางการเงินและอัตราการเปลีย่ นแปลง

28
แบบ 56-1... ตัวั ช่่วยเจาะลึึกข้้อมูลกิจการ
แบบแสดงรายการข้อมลประจํ
แบบแสดงรายการขอมูลประจาป
าปี (แบบ 56 - 1)
• เป็ นรายงานการเปิ ดเผยข้อมูลทีบ่ ริษทั จดทะเบียน จัดทําขึน้ เป็ นประจําทุกปี
• แสดงข้อมูล ลักษณะธุรกิ จ รายได้ โครงสร้างการถือหุ้นและ

การบรหารงาน และขอมู
้ ลเกีี่ยวกบผลการดาเนนงาน
ั ํ ิ เปนตน
ป็ ้
• ผูล้ งทุนสามารถศึกษาข้อมูลและเข้าใจภาพรวมของบริษทั เปรียบเสมือนเป็ น
หนังสือชี้ชวนให้ผลู้ งทุนุ

อ่าน 56-1 แล้ว... ต้องเข้าใจ


ข้อมูลเบือ้ งต้นของบริ ษทั
และสามารถสรุปออกมา
เป็ นประเด็นต่างๆ ได้

29

งบการเงิน... ตัวั ช่่วยประเม


ป ิ นศักั ยภาพกิจการ
ไ ่
รวยไมรวย.. ดูที่ ่ ไ ่ ่ ดูที่
เกงไมเกง.. ไ ่
รอดไมรอด.. ดูที่ ่ ใ ือไไม..่ ดูที่
โปรงใสหรื
โป
งบแสดงฐานะการเงิ น งบกําไรขาดทุน งบกระแสเงิ นสด หมายเหตุประกอบงบ
แสดงฐานะการเงินของกิจการ แสดงผลการดําเนินงานของ แสดงเงินสดทีธ่ ุรกิจได้รบั รายละเอียดรายการ
ณ วันใดวันหนึ่ง กิจการในรอบระยะเวลาหนึ่ง เข้ามาและจ่ายออกไป ทางบัญชีทส่ี าํ คัญ

ประเด็นสําคัญที่ควรพิจารณา
• ขนาดของกิจการ • กําไรขาดทุนของกิจการ • คุณภาพการบริหารงาน • นโยบายของกิจการ
• ทรัพยากรทีใ่ ช้ในการ • ต้นทุนของกิจการ • ความมันคงของกิ
่ จการ • เหตุการณ์ทผ่ี ดิ ปกติ
ดําเนินงาน • แนวโน้มการเจริญเติบโต • ขีดความสามารถทาง • สาระสําคัญทีไ่ ม่ได้แสดง
• ภาระผูกพันในการชําระหนี้ ของกิจการ การเงิน ในงบ
• จํานวนทุนของกิจิ การ
ทีไ่ ด้มาจากเจ้าของ

30
อัตั ราส่่วนทางการเงิน... ตัวั ช่่วยคัดั เลืือกหุ้นดีี มีีคณ
ุ ภาพ
ติห้นดดี
คุคณสมบั
ณสมบตหุ อัตราส่วนทางการเงิ น
อตราสวนทางการเงน สูสตรคํ
ตรคานวณ
านวณ เกณฑ
เกณฑ์
การพิ จารณา
มีกาํ ไรสมํา่ เสมอ อัตรากําไรสุทธิ กําไรสุทธิ x 100 ยิ่ งสูง ยิ่ งดี
(Net Profit margin) รายได้
ไ ร้ วม
เติ บโตอย่างต่อเนื่ อง อัตราการเติบโตของยอดขายและกําไรสุทธิ ยอดขาย/กําไรปี ลา่ สุด – ยอดขาย/กําไรปี ก่อนหน้า ยิ่ งสูง ยิ่ งดี
ยอดขาย/กําไรปี ก่อนหน้า
(Growth Rate)
ให้ผลตอบแทนที่ดี อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ กําไรสุทธิ x 100 ยิ่ งสูง ยิ่ งดี
(Return on Equity : ROE) ส่วนของผูถ้ อื หุน้
มีมการดาเนนงาน
การดําเนิ นงาน อัอตราผลตอบแทนตอสนทรพย
ตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ กํกาไรสุ
าไรสทธิ
ทธ x 100 ่ งสงง ยงด
ยิยงสู ยิ่ งดี
ที่มีประสิ ทธิ ภาพ (Return on Assets : ROA) สินทรัพย์รวม
มีหนี้ สิน อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อทุนุ หนี้สนิ รวม x 100 ยิ่ งตํา่ ยิ่ งดี
ในระดับที่เหมาะสม (Dept to Equity Ratio : D/E) ส่วนของผูถ้ อื หุน้

ทีม่ี า : หนังั สือื ตามหาหุน้ ตัวั แรก

31

ป ิ นมูลค่่าหลักั ทรัพั ย์์


ตรวจสอบว่่าหุ้นถูกหรืือแพง...จากการประเม
มูลค่่าที่ีแท้้จริ ง (Intrinsic Value) คืือ...???
• มูลค่าทีเ่ กิดจากสินทรัพย์นนั ้ จริงๆ
ิ ธีการประเมินมลค่
ววธการประเมนมู าที่นิยม
ลคาทนยม
• มูลค่าทีเ่ หมาะสมของกิจการใดๆ ย่อมเท่ากับ
มูลค่าปัจจุบนั ของผลประโยชน์ ที่เกิ ดขึน้ 1 แบบจําลองเงินปันผลคิ ดลด
จากการถืือครองสิิ นทรัพั ย์น์ ัน้ ตลอดอายุ (
(Dividend Discounted Model))
สิ นทรัพย์
2 ราคาตลาดตอกาไรตอหุ
ราคาตลาดต่อกําไรต่อห้น
• ความน่่าเชือ่ื ถือื ของประเมิ
ป นิ มูลคาที ่ ี่เหมาะสม
(P/E Ratio : PER)
ขึน้ อยูก่ บั ความน่าเชือ่ ถือของประมาณการ
ทางการเงิน และความเหมาะสมของวิ
ทางการเงน และความเหมาะสมของวธการ ธกี าร 3 ราคาตลาดต่่อมูลค่่าหุ้นตามบัญั ชีี
ทีเ่ ลือกมาใช้ในการประเมินมูลค่าหุน้ (Price to Book Value : PBV)

32
1
แบบจําํ ลองเงิ นปันผลคิ ดลด
((Dividend Discounted Model : DDM))
• เป็ นการประเมินราคาหุน้ จากมูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสดทีน่ กั ลงทุนได้
• มพนฐานมาจากหลกการ
มีพน้ื ฐานมาจากหลักการ Discount Cash Flow วา ว่า มลค่
มูลคาของสนทรพย
าของสินทรัพย์ ณ ขณะใดๆ มีมคาเทากบ
คา่ เท่ากับ
กระแสเงินสดทีจ่ ะได้รบั จากการลงทุนในสินทรัพย์นนั ้ ๆ ในอนาคตทัง้ หมดคิดลดมาเป็ นมูลค่า
ปั จจุุบนั ด้วยอัตราผลตอบแทนทีน่ กั ลงทุนุ ต้องการ


D
P0 = D1

D2
(1  k s )1 (1  k s ) 2
 ... 
Dt
(1  k s ) t
=  (1  kt )t
t 1 s

โดยที่ P = มูลค่าทีแ่ ท้จริงของหุน้ สามัญ


Dt = เงินปั นผลในปี ท่ี t โดย t = 1,2,3…,
ks = อัตราผลตอบแทนขัน้ ตํ่าทีน่ กั ลงทนต้
ุ องการ ((Required
q Rate of Return))

33

2
อัตั ราส่่วนราคาตลาดต่่อกําํ ไรต่
ไ ่อหุ้น
((P/E Ratio : PER))
P/E Ratio ราคาตลาดของหุ้น
ราคาตลาดต่อกําไรต่อห้น
ราคาตลาดตอกาไรตอหุ กําไรต่อห้น (EPS)
กาไรตอหุ (EPS)*

• นักลงทุนจะเต็มใจซื้อหุ้นนี้ ในราคาเท่าใดเพื่อแลกกับกําไรและเงิ นปันผลที่จะได้รบั ในอนาคต


• หุ้นตัวั นััน้ จะใช้ ไ ่ีบริิ ษทั ทําํ ได้
ใ ้เวลากีี่ปีทีี่ผลตอบแทนหรือื กําํ ไรที ไ ้จะรวมกันั เท่่ากับั เงิิ นทังั ้ หมดทีี่ใช้้ซื้อหุ้นไป
P/E ของหุ้นนัน้ ในอดีต
เมื่อ
เราควรเลืือกลงทุนหุ้นทีี่มี P/E ตาํ่ เทียบกับ P/E เฉลีี่ยของอุตสาหกรรม
P/E เฉลี่ยของตลาด
สามารถใช้ P/E Ratio ประเมิ นมูลค่าที่เหมาะสมของหุ้นสามัญได้โดย
มูลู ค่าที่เหมาะสมของหุ้นุ สามัญ = P/E X EPS
34
2
อัตั ราส่่วนราคาตลาดต่่อมูลค่่าตามบัญ
ั ชีีต่อหุ้น
((P/BV Ratio))
P/BV Ratio ราคาตลาดของหุ้น
ราคาตลาดต่อมููลค่าหุ้นุ ตามบัญชี มูมลค่ าตามบัญชีต่อห้น (BPS)
ลคาตามบญชตอหุ (BPS)*

• ราคาหุ้น ณ ขณะนัน้ สูงเป็ นกี่เท่าของมูลค่าทางบัญชีของหุ้น


P/BV ของหุ้นนัน้ ในอดีต
เมื่อ
เราควรเลือกลงทนห้
ุ นุ ที่มี P/BVตํา่ P/BV เฉลยของอุ
เฉลี่ยของอตสาหกรรม
ตสาหกรรม
เทียบกับ
P/BV เฉลี่ยของตลาด

สามารถใช้ ป ิ นมูลค่่าที่ีเหมาะสมของหุ้นสามัญ
ใ ้ P/BV Ratio ประเม ั ไได้้โดย
มูลค่าที่เหมาะสมของหุ้นสามัญ = P/BV X BPS

35

หลักั เกณฑ์ใ์ นการตัดั สิ นใใจลงทุน


ขาย/
มูลค่าที่แท้จริ ง
ซื้อ มูลค่าที่แท้จริ ง ไม่ซื้อ
มากกว่า ราคาตลาด ณ ปจจุ
มากกวา ปัจจบั
บน น้ อยกว่า ราคาตลาด ณ ปจจุ
นอยกวา ปัจจบั
บน

แสดงว่าราคาหุ้นุ ที่ซื้อขายถูกู กว่า แสดงว่าราคาหุ้นุ ที่ซื้อขายสูงกว่า


มูลค่าที่ควรจะป็ น มูลค่าที่ควรจะป็ น
(Undervalue / Underpriced) (Overvalue / Overpriced)

สําหรับมือใหม่
เราสามารถประเมิ น “มูลค่าหุ้นแท้จริ ง” ได้จากบทวิ เคราะห์ของโบรกเกอร์
เพื่อตัดสิ นใจ “ซื้อ” หรือ “ขาย” หุ้นได้ในราคาที่เหมาะสม

36
สรุปการวิ เคราะห์ป์ ัจจัยั พืืน้ ฐาน
การวิเคราะห์เศรษฐก
ฐ ิ จ, อุตุ สาหกรรม, บริษทั ประเมินมูลู ค่าหุ้นุ

G d Company
Good C + G d St
Good Stockk

ซื้อหุ้น

แล้ว...ผูล้ งทุนควรซื้อหุ้นใน ช่วงเวลาไหน ???

การวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค ((Technical Analysis)


y )
37

จับั จังั หวะลงทุน...ด้้วยปััจจัยั เทคนิค


เป็ นการวิเคราะห์พฤติกรรมของหลักทรัพย์ เพอหาชวงเวลาทเหมาะสม
เปนการวเคราะหพฤตกรรมของหลกทรพย เพื่อหาช่วงเวลาที่เหมาะสม
ตามสัญญาณซื้อ (Buy Signal) และสัญญาณขาย (Sell Signal)
โดยวิเคราะห์จากราคาหลักทรัพย์ ปริมาณการซื้อขายและช่วงจังหวะเวลา
มิได้หาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทาํ ให้ราคาหลักทรัพย์เปลี่ยนแปลง

ข้อสมมติฐาน
1 พฤติ
1. พฤตกรรมของราคาหุ
กรรมของราคาห้นทแสดงออกมานนไดดู
ทีแ่ สดงออกมานัน้ ได้ดดซั
ดซบเหตุ
บเหตการณ์
การณทุทกกสิสงทุ
ง่ ทกอย่
กอยางทเกดขนเอาไวแลว
างทีเ่ กิดขึน้ เอาไว้แล้ว
(รวมทัง้ ข้อมูลปั จจัยพืน้ ฐานด้วย)
2. ราคาหุน้ จะยังคงเคลือ่ นไหวไปตามแนวโน้มเดิมจนกระทังแนวโน้ ่ มเดิมหมดลงจริง
3. รูปแบบหรือพฤติกรรมของหุน้ ทีเ่ กิดขึน้ ในอดีตสามารถทีจ่ ะนํามาใช้ได้ในปั จจุบนั และอนาคต

38
กราฟราคาถู
ฟ ไ ้อย่่างไร…??
กสร้้างมาได้ ไ
องค์ประกอบในกราฟแท่งเทียน

ราคาสูงสุด
ราคาสูงสุด

ราคาปิ ด ราคาเปิ ด

แท่งสีเขียว คือ แท่งสีแดง คือ


ราคาเปิ ดตํ่ากว่าราคาปิ ด ราคาปิ ดตํ่ากว่าราคาเปิ ด

ราคาเปิ ด ราคาปิ ด

ราคาตํ่าสุด ราคาตํ่าสุด

39

แนวโน้
โ ้ มและเส้้นแนวโน้
โ ้ม
ราคาหลักทรัพย์มกั เคลื่อนไหวขึน้ ลงจนกลายเป็ นแนวโน้ ม (Trend)
และแนวโน้ มจะไม่เปลี่ยนทิ ศทางตราบจนมีปัจจัยมาส่งผลให้ราคาหุ้นเปลี่ยนทิ ศทาง
เส้นแนวโน้ มขาขึน้ เส้นแนวโน้ มขาลง เส้นแนวโน้ มแนวราบ

• ราคาหุ้นสูงสุดสูงกว่าราคาสูงสุด • ราคาหุ้นตํา่ สุดตํา่ กว่าราคาตํา่ สุด • ราคาหุ้นขึน้ ลงอยู่ภายในช่วงแคบๆ


ครังก่
้ อน ครังก่
้ อน • การคาดการณ์ราคาหุ้นทําได้ยาก
• ราคาหุ้นตํา่ สุดจะสูงกว่าราคาหุ้น • ราคาหุ้นสูงสุดตํา่ กว่าราคาหุ้นครัง้ จนกว่าจะมีปัจจัยมาทําให้
ครังก่
้ อน ก่อน เปลี่ยนแปลง จนราคาหุ้นทะลุผา่ น
ช่วงราคาตํา่ สุดหรือสูงสุดไป

40
เส้้นแนวรับั และแนวต้้าน

ราคาหุ้นสูงถึงแนวต้าน
จะมีแรงขายมาก ราคามี
แนวโน้ มไม่สงู ไปกว่านี้

ราคาหุ้นลดมาถึงแนวรับ
ี ซื้ ้
จะมแรงซอเขามารองรบ ั ราคา
มีแนวโน้ มไม่ลดตํา่ ลง

41

 ซอขายหุ
ซื้อขายห้นมั
มนใจ
นใจ
่ ตองเขาใจ
ต้องเข้าใจ
กลไกและกฎเกณฑ์ตลาด

• เปดบญชซอขายหุ
เปิ ดบัญชีซอ้ื ขายห้น ลงทุ
ลงทนอย่
นอยางใจคด
างใจคิด
• เข้าใจกลไกการซือ้ ขาย สร้างความมันใจการลงทุ
่ น
• ซือ้ ขายให้ถกู กฎ ต้องรูจ้ กั เครือ่ งหมาย
• เลือกกลยทธ์
เลอกกลยุ ทธเปนเป็ น เห็
เหนผลตอบแทน
นผลตอบแทน

42
เปิ ดบัญชีซื้อขายหุ้นุ ลงทุนุ อย่างใจคิด
Check ความพร้อมก่อนเริ่มซื้อขายหุ้นุ
มีเงินพร้อม? • มีการจัดสรรเงินลงทุนส่วนอืน่ ๆ เช่น เงินสํารองเผือ่ ฉุกเฉิน
• มีเงิ นเย็นพร้อมสําหรับการลงทุุน
มีเป้ าหมายพร้อม? • ต้องการลงทุนเพื่ออะไร?
• ต้องการบรรลุเป้ าหมายนัน้ เมื่อใด?
มีความรูพ้ ร้อม? • ความรูเ้ กีย่ วกับหลักทรัพย์ทจ่ี ะลงทุน?
• ปั จจัยในการวิเคราะห์การลงทุน
มีใจพร้อม? รับได้ไหมหากมี “โอกาสในการขาดทุน” เกิดขึน้ ?

เมือ่ พร้อมแล้ว ก็เปิดบัญชีซื้อขายหุ้นุ กันเลย

43

โ อ์ ย่่างไรดี
เลืือกโบรกเกอร์ ไ ี
• ฐานะทางการเงินมันคง ่
Broker ทีด่ ี ต้องมี CLASS
• ได้รบั ใบอนุ ญาตในการประกอบธุรกิจ
• บริการข้อมูล บทวิเคราะห์ และเครือ่ งมือช่วยตัดสินใจลงทุน
C - Capital • ค่าธรรมเนียมขัน้ ตํ่าและบริ การที่มีให้เหมาะสม
L - License • การให้บริการแก่ลกู ค้าก่อนและหลังการซื้อขาย เต็มใจ
A - Advice ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา
S - System& Control • บริ การระบบซื้อขายหุ้นผ่านโทรศัพท์มือถือ Smart Phone
และ Tablet หรือการจัดสัมมนาให้ความรูแ้ ก่ลกู ค้าเป็ นระยะ
S - Staff
• มีความพร้อมด้านบุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถและมี
จรรยาบรรณ

44
ขันั ้ ตอนการเปปิ ดบัญ
ั ชีี และประเภทบั
ป ญ ั ชีี

เอกสารประกอบการเปิ ดบัญชี
• สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน
• สาเนาทะเบยนบาน
สําเนาทะเบียนบ้าน
• สําเนาสมุดบัญชีออมทรัพย์ (หน้าแรกทีม่ เี ลขทีบ่ ญ
ั ชี)
• สําเนาบัญชีเงินฝากธนาคารย้อนหลัง 3-6 เดือน (กรณีขอเปิ ดบัญชีประเภทหักบัญชีธนาคารอัตโนมัต)ิ

45

บัญ ไ ใใช่่ตวั คุณ


ั ชีีแบบไหน
1 2 3
บัญชีเงินสด บัญชีแคชบาลานซ์ บัญชีเครดิตบาลานซ์
Cash Account Cash Balance / Credit Balance /
• โบรกเกอร์กาํ หนด Cash Deposit Margin Account
วงเงินซือ้ ขายตาม • ฝากเงินไว้กบั โบรกเกอร์
• เงินจากผูล้ งทุนส่วนหนึ่ง
ความน่าเชือ่ ถือ จํานวนหนึ่ง ไดวงเงนซอ
จานวนหนง ได้วงเงินซือ้
และกูเ้ งินจากโบรกเกอร์
ขายเท่ากับเงินทีฝ่ ากไว้
• วางเงินประกัน อีกส่วนหนึ่ง
• เงินฝากจะได้รบั ดอกเบีย้
20% ของวงเงินิ • มีหนุ้ ทีซ่ อ้ื เป็ นหลักประกัน
• ถ้าวงเงินไม่พอ
• ชําระค่าหุน้ ด้วยเงินสด สามารถโอนเงินเพิม่ • ต้องจ่ายดอกเบีย้ หากกูเ้ งิน
เต็มจํานวนภายใน
เตมจานวนภายใน
3 วันทําการ

46
เข้าใจกลไกการซื้อขาย สร้างความมันใจการลงทุ
่ นุ

วัน – เวลาทาการซอขาย
วน เวลาทําการซื้อขาย
วันทําการ : วันจันทร์ – ศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดทําการของธนาคารพาณิชย์)
เวลาทําการ : 09.30 – 17.00 น.

47

รู้จกั ช่่องทางและกลไกการซื
ไ ื้อขาย
1 2

48
ช่่วงราคา (Price Spread)

ราคาหลักทรัพย์ที่จะ
เสนอซื้อหรือเสนอขาย
ขึน้ กับระดับราคาตลาด
ของหลักั ทรัพั ย์์

49

ราคาเคลือ่ื นไหวได้
ไ ไ ้
ไม่เกิ น 30% ของ
Ceiling & Floor
ราคาปิ ด (Close)
ของวนทํั าํ การ
ก่อนหน้า

Price Spread
± 1 บาท

หุ้น PTT 500 หุ้นุ ราคา 286 บาท

5050
ค่่าธรรมเนีี ยมการซืื้อขาย
ผ่านเจ้าหน้ าที่การตลาด
ผานเจาหนาทการตลาด ค่าคอมมิ ชชัน่ 0.18
คาคอมมชชน 0 18 - 1%
Commissioon

ผ่านอินเทอร์เน็ต ค่าคอมมิ ชชัน่ 0.11 - 1%


อัตราค่า อัตราค่า Commissionผ่านอิ นเตอร์เน็ต* (%)
มูลค่าการซื้อขายต่อวัน Commission
(บาท) ผ่านเจ้าหน้ าที่
ผานเจาหนาท C h AAccount
Cash C h BBalance
Cash l / Credit
C di BBalance
l
การตลาด* (%)
มูลค่า < 5 ล้าน > 0.25 – 1 > 0.20 – 1 > 0.15 – 1
5 ล้าน < มูลค่า < 10 ล้าน > 0.22 – 1 > 0.18 – 1 > 0.13 – 1
10 ล้าน < มูลค่า < 20 ล้าน > 0.18 – 1 > 0.15 – 1 > 0.11 – 1
มูลค่่า > 20 ล้้าน อัตั ราทีี่ตกลงกันั แต่่ไม่่เกิิ นกว่่าร้้อยละ 1

* ค่าคอมมิชชันยั
่ งไม่รวม VAT 7% / ค่าธรรมเนียมตลาดหลักทรัพย์ฯ 0.005% ของมูลค่าการซือ้ ขายต่อวัน / ค่าธรรมเนียมการชําระราคาและส่งมอบ
หลักทรัพย์ 0.001%
หลกทรพย 0 001% ของมู
ของมลค่
ลคาการซอขายตอวน
าการซือ้ ขายต่อวัน / คาธรรมเนยมการกากบดู
ค่าธรรมเนียมการกํากับดแล
แล 0.0018%
0 0018% ของมู
ของมลค่
ลคาการซอขายตอวน
าการซือ้ ขายต่อวัน

51

ซื้อขายให้ถกู กฎฎ ต้องรู้จู กั เครื่องหมาย


เครื่องหมายตระกูล X = แสดงถึงการไม่ได้รบั สิ ทธิ ต่างๆ
XD ผูซ้ อ้ื ไม่ได้รบั สิ ทธิ ได้รบั เงิ นปันผล
Excluding Dividend
XE ผูซ้ อ้ื ไม่ได้รบั สิทธิในการนําตราสาร
XR อ้ื ไม่ได้รบั สิ ทธิ จองห้นออกใหม
ผูผ้ซอไมไดรบสทธจองหุ ออกใหม่ Excluding Exercise สิ ทธิ ไปแปลงสภาพเป็ นห้นอ้อางอง
สทธไปแปลงสภาพเปนหุ างอิ ง
Excluding Right
XM ผูซ้ อ้ื ไม่ได้รบั สิ ทธิ เข้าประชุมผูถ้ ือหุ้น
ผูซ้ อ้ื ไม่ได้รบั สิ ทธิ ได้รบั ใบสําคัญแสดง
XW Excluding Meetings
Excluding Warrant สิ ทธิ ที่จะซื้อหลักทรัพย์
สทธทจะซอหลกทรพย
ผูซ้ อ้ื ไม่มีสิทธิ ในการรับเงิ นคืนจาก
XT XN
Excluding Transferable
ผูซ้ อ้ื ไม่ได้สิทธิ รบั ใบสําคัญแสดงสิ ทธิ Excluding
Excluding CapitalWarrant
return การลดทุน
Subscription Right ในการซื้อหุ้นเพิ่ มทุนที่โอนสิ ทธิ ได้ XT
XB ไ ไ่ ด้้สิทธิิ จองซืื้อหุ้นออกใหม่
ผูซ้ อ้ื ไม่ ใ ่
XI ผูซ้ อ้ื ไม่ได้สิทธิ รบั ดอกเบีย้ Excluding Other Benefit
Excluding Interest

XP ผูซู้ อ้ื ไม่ได้สิทธิ ได้รบั เงิ นต้นที่บริ ษทั ประกาศ


Excluding Principal จ่ายคืนในคราวนัน้
XA ผูซ้ อ้ื ไม่ได้สิทธิ ทุกประเภทที่บริ ษทั ประกาศ
Excluding All ให้ในคราวนัน้
ใหในคราวนน

52
เครืื่องหมายทีี่ควรให้
ใ ้ความระมัดั ระวังั !!
H ห้ามซื้อขายหลักทรัพย์เป็ นการชัวคราวโดยระยะเวลาไม่
่ เกิ นกว่าหนึ่ งรอบการซื้อขาย
(Halt) เพราะมีขี า่ วทีส่ี ง่ ผลกระทบต่่อราคาหุน้ แต่บ่ ริษิ ทั ยังั ไม่
ไ ไ่ ด้แ้ จ้ง้ ข้อ้ มูล และอาจกระทบกับั การซือ้ื
ขายอย่างร้ายแรง

SP ห้ามซื้อขายหลักทรัพย์จดทะเบียนเป็ นการชัวคราว่ โดยมีระยะเวลาเกิ นกว่าหนึ่ งรอบ


(Suspension) การซื้อขาย เพราะบริ ษทั ยังไม่สามารถชี้แจงหรือเปิ ดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ /
หรือ บริ ษทั ไม่ส่งงบการเงิ นให้ภายในเวลาที่กาํ หนด
NP (N
(Notice
ti
Pending) บริษทั จดทะเบียนต้องรายงาน และตลาดหลักทรัพย์ฯ อยู่ระหว่างรอข้อมูลจากบริ ษทั

NR ((Notice ตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้รบั การชีแ้ จงข้อมลจากบริ


ู ษทั จดทะเบียนทีข่ น้ึ เครือ่ งหมาย NP แล้ว
Received) และจะขึน้ เครือ่ งหมาย NR เป็ นเวลา 1 วัน
NC (non-
Compliance) บริษทั จดทะเบียนทีเ่ ข้าข่ายถกเพิ
บรษทจดทะเบยนทเขาขายถู กเพกถอนออกจากตลาดหลกทรพย
กถอนออกจากตลาดหลักทรัพย์

ST
หุน้ ของบริษทั จดทะเบียนทีม่ ีการซื้อหุ้นเพื่อส่งมอบหุ้นที่จดั สรรเกิ น
(Stabilization)

53

เลือกกลยุทุ ธ์เป็ น เห็นผลตอบแทน

Market Timing จบจงหวะลงทุ


จับจังหวะลงทนเป็
นเปนน เห็
เหนกาไร
นกําไร
Market Timing คือ กลยุทุ ธ์การลงทุนุ ด้วยการพยากรณ์ทศิ ทางตลาด โดยใช้วธิ กี ารวิเคราะห์
ทางเทคนิค และการวิเคราะห์เศรษฐกิจประกอบกัน แล้วนําผลวิเคราะห์ทไ่ี ด้มาใช้ประกอบการ
ตัดสินใจลงทุน โดยต้องการทีจ่ ะซื้อหุ้นให้ได้ในราคาทีด่ ีทีส่ ดุ และขายในราคาทีด่ ีทีส่ ดุ
เช่่นกันั เหมาะกับั การลงทุนด้้วยเงิิ นก้้อน

เหมาะกับใคร?
นักลงทุนที่สามารถวิ เคราะห์ปัจจัยพืน้ ฐานและภาวะเศรษฐกิ จได้ดี
นักลงทุนที่มีความรู้เรื่องการวิ เคราะห์ทางเทคนิ ค

นักลงทุนที่มีเงิ นก้อน (Lump sum)


และรอคอยเวลาที่เหมาะสมในการลงทุนได้

54
DCA เงินน้้ อย ทยอยลงทุน
Dollar Cost Averaging : DCA เป็ นการทยอยลงทุนแบบถัวเฉลีย่ ต้นทุน หรือพูดง่ายๆ คือ
เป็ นการซือ้ หลักทรัพย์ดว้ ยจํานวนเงินทีเ่ ท่าๆ กันทุกเดือน ซึง่ จะทําให้ได้ราคาต้นทุนของ
หลักั ทรัพั ย์แ์ บบถัวั เฉลี่ีย จึงึ มีโี อกาสได้
ไ ร้ บั ผลตอบแทนทีด่ี ใี นระยะยาว เพราะถึงึ แม้ว้ า่ จะไม่
ไ ไ่ ด้้
กําไรสูงสุด แต่กไ็ ม่มที างขาดทุนแบบกู่ไม่กลับ

เหมาะกับใคร?
นักลงทุนที่มีวินัยในการลงทุน

นักลงทนไม่
นกลงทุนไมมเวลาในการตดตามขอมู
มีเวลาในการติ ดตามข้อมลห้
ลหุนมากนั
มากนกก

นักลงทุนที่มีเงิ นเริ่ มต้นลงทุนไม่มากนัก

55

ขันั ้ ตอนการทําํ DCA


ปัปจจุ
จจบั
บนนมมี บลจ. หลายแห่งให้บริการการออมแบบ DCA โดยการหกจาก
บลจ หลายแหงใหบรการการออมแบบ โดยการหักจาก
บัญชีเงินฝากอัตโนมัติ เพื่อนําไปออมใน “หุ้น” ที่คณ
ุ เลือกไว้
วิธีการง่ายๆ ดังนี้
1 2 3 4

กําหนด กําหนด “ความถี่” กําหนด “ระยะเวลา” เลือก “หุ้น”


านวนเงิน”
“จํจานวนเงน ในการออม ในการออม ที่ต้องการออม
ทตองการออม
ที่จะทยอยออม

56
Case Study : Market Timing VS DCA 5 000 บาท/เดอน
5,000 / ื
นาย A ต้องการลงทุนหุ้น XYZ ทุกวันที่ 30 (12 เดือน)
โดยมีเงิ นลงทุนทัง้ หมด 60,000 บาท
วิ ธีคาํ นวณอัตราผลตอบแทน
หากลงทุนด้วยวิ ธี Dollar-Cost Averaging (DCA) 1. คํานวณมูลู ค่าพอร์ตปลายงวด
เดือน ราคาซื้อ (บาท/หุ้น) เงิ นลงทุน (บาท) จํานวนหุ้น (หุ้น) = ราคาตลาด ณ สิ้ นงวด x จํานวนหุ้นในพอร์ต
1 10.00 5,000 500 = 10.50 x 6,316 = 66,318 บาท
2 9.50 5,000 526
3 9.25 5,000 540 2. คํานวณอัตราผลตอบแทน
4 8.00 5,000 625
5 8.50 5,000 588 = มูลค่าพอร์ตปลายงวด - เงิ นลงทุน
6 9 00
9.00 5 000
5,000 555 เงิิ นลงทุน
7 9.50 5,000 526 = (66,318 – 60,000) = 10.53%
8 9.00 5,000 550 60,000
9 10.50 5,000 476
10 10.00 5,000 500
11 11.00 5,000 454 เมือ่ ครบ 12 เดือน หากนาย A ขายหุน้ XYZ
12 10.50 5,000 476
จะได้รบั ผลตอบแทน 10.53%
ราคาเฉลี่ย
ราคาเฉลย 9 56
9.56 60 000
60,000 6 316
6,316

57

ถ้านาย A จับจังหวะถูกู เข้าซื้อตอน เม.ย.


เมือ่ ครบ 12 เดือน หากนาย A ขายหุน้ XYZ
หากลงทุนด้วยวิ ธี Market Timing
จะได้รบั ผลตอบแทน 31.25%
เดือน ราคาซื้อ (บาท/หุ้น) เงิ นลงทุน (บาท) จํานวนหุ้น (หุ้น)
1 10.00 = มูลค่าพอร์ตปลายงวด - เงิ นลงทุน
2 9.50 จับจังหวะถูก เงิ นลงทุน
3 9.25 = (78,570 – 60,000) = 31.25%
4 8.00 60,000 7,500 60,000
5 8.50
6 9.00 ถ้านาย A จับจังหวะผิ ด เข้าซื้อตอน พ.ย.
7 9.50
8 9.00 เมือ่ ครบ 12 เดือน หากนาย A ขายหุน้ XYZ
9 10.50 จบจงหวะผิ
ั ั ิด จะขาดทุน -4.55% %
10 10.00
11 11.00 60,000 5,454 = มูลค่าพอร์ตปลายงวด - เงิ นลงทุน
12 10.50 เงิ นลงทุน
= (57,267 – 60,000) = -4.55%
60,000

58
ต้นทุนราคาหุน้ 10 บาท Lump sum
L
Lump sum ซือ้ ห้นได
ซอหุ ได้ 6,000 หุห้น
ราคาหุน้ ณ สิน้ ปี 10.5 บาท
ลงทุน ต้ตนทุ
นทนราคาห้
นราคาหุน 11 บาท
ซือ้ หุน้ ได้ 5,455 หุน้
ลงทุน ได้กาํ ไร 0.5 บาท/หุน้ = 3,000 บาท 60,000 บาท ราคาหุน้ ณ สิน้ ปี 10.50 บาท
60,000 บาท อัตราผลตอบแทน = 5% ครังเดี
้ ยว ขาดทุน 0.5 บาท/หุน้ = -2,727.50 บาท
ครังเดี
ครงเดยว
้ ยว อัตราผลตอบแทน = -4.55%
ต้น้ ทุนราคาหุน้ 8 บาท
ซือ้ หุน้ ได้ 7,500 หุน้ 11
Lump sum ราคาหุน้ ณ สิน้ ปี 10.5 บาท

ลงทุน
ลงทน
ได้กาํ ไร 2.5 บาท/หุน้ = 18,750 บาท
อัตราผลตอบแทน = 31.25%
อตราผลตอบแทน 10.5
10 60,000 บาท 10 10.5
ครังเดี
้ ยว
9.5 95
9.5
9.25 9 สรุป
9
8.5 • การลงทุนแบบ Market Timing มีโอกาสสร้าง
ผลตอบแทนได้มากกว่าการลงทุนแบบ DCA
DCA 8 แต่ผลู้ งทุนต้องสามารถจับจังหวะลงทุนได้
เบือ้ งต้น
ลงทุนเดอนละ
ลงทนเดื อนละ ต้น้ ทุนราคาหุน้ 9.50 บาท • การลงทุนแบบ DCA แม้จะได้ผลตอบแทนน้ อย
5,000บาท ซือ้ หุน้ ได้ 6,316 หุน้
ราคาหุน้ ณ สิน้ ปี 10.5 บาท กว่า แต่กแ็ ลกกับการถัวเฉลี่ยความเสี่ยงในการ
ทุกเดือน ได้กาํ ไร 1 บาท/หุน้ = 6,316 บาท จับจังหวะลงทุนผิ ดได้
อัตราผลตอบแทน = 10.53%

59

 ฉลาดลงทุนุ ต้องรู้จู กั
ใช้สิทธิ และภาษี

• ภาษี
ภาษและเครดตภาษเงนปนผล
และเครดิตภาษีเงินปั นผล
ผลประโยชน์ทไ่ี ม่ควรมองข้าม
• รอบรูเ้ รือ่ งสิทธิและหน้าทีข่ องผูล้ งทุน

60
ภาษี และเครดิตภาษี เงินปันผล ผลประโยชน์ ที่ไม่ควรมองข้าม

ภาษี ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุุนในหุ้นุ สามัญ


ในตลาดหลักทรัพย์ฯ
กํกาไรจาก
าไรจาก ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การขายหุ้น นอกตลาดหลักทรัพย์ฯ
ถูกู หักภาษี ณ ทีจ่ า่ ยตามอัตราก้าวหน้า
ห้น
หุ และต้องนํามารวมคํานวณตอนสิน้ ปี
ถูกู หักภาษี ณ ที่จ่าย 10%
เงินปัันผล โดยมี 2 ทางเลือก คือ
1. ยอมถูกหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ย 10% และไม่ตอ้ งนํา
เงินิ ปนผลไปรวมคํ
ปั ไป าํ นวณเป็ป็ นเงินิ ไได้้ เพือ่ื เสียี ภาษีตี อนสิน้ิ ปี
2. นําเงินปั นผลไปรวมคํานวณเป็ นเงินได้ เพือ่ เสียภาษี
ตอนสิน้ ปี ซึง่ จะมีสทิ ธิได้รบั เครดิ ตภาษี เงิ นปันผล

61

“เครดิตภาษี เงินปันผล” ถือเป็็ นเงินได้


ไ ้ชนิดหนึ่ ง
อัตราภาษีเงิ นได้
ของนิ ติบคุ คลที่จ่าย
เงิ นปันผล
เงนปนผล
ตัวอย่างเช่น
20 1
เครดิตภาษี เงินปันผล = =
100 - 20 4

แต่หากได้รบั เงินปันผลจาก...
“บริ ษทั ที่ได้รบั การส่งเสริมการลงทนน (BOI)
บรษททไดรบการสงเสรมการลงทุ (BOI)” ไ ้ ั
ไดรบยกเวน

ขอคืนภาษี ไม่ได้ ภาษี นิติบคุ คล

62
ซื้อหุ้น 1
กําไรสุทธิ 100 บาท
ภาษี เงิ นได้นิติบคคล
ภาษเงนไดนตบุ คคล 20%
เสียภาษี 20 บาท
นาย A บริ ษทั ไทยเดิ นเล่น จํากัด

นาย A ได้เงิ นปันผลจริ ง


เพียง 72 บาท เครดิ ตภาษี ได้ กําํ ไไรสุทธิิ คงเหลืือ
80 บาท
ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย
10% จาก 80 บาท
8 บาท
2 จ่ายเงิ นปันผล
เสียภาษี ซาํ้ ซ้อน นาย A

63

เทคนิคในการพิจารณา 80,000 x
จะใช้เครดิตภาษี
ว่า จะใชเครดตภาษ
วา... [20/(100–20)] 80,000
20,000

เงินปันผลหรือไม่?

44,000

(33,500)
80,000 x 10%
(8,000)
(20,000)

(17,500)

64
รอบรู้เู รื่องสิทธิและหน้ าที่ของผูล้ ู งทุนุ

ิ ทธิขนั ้ พืน้ ฐาน


สสทธขนพนฐาน ิ ทธิในการบริหารบริษทั
สสทธในการบรหารบรษท

1 สิ ทธิ ในการเข้าร่วมประชมผ้
สทธในการเขารวมประชุ มผูถือหุ
อห้น
1 สิ ทธิ ในการรับทราบข้อมูลข่าวสาร
2 สิ ทธิ ในการออกเสียงตัดสิ นใจ
2 สิ ทธิ ในการได้รบั เงิ นปันผล ั ๆ ของบริิ ษทั
ใในเรือ่ื งสําํ คัญ
3 สิ ทธิ ในการเพื่ม / เพิ กถอนวาระ
3 การประชมม
การประชุ
สิ ทธิ ในการจองซื้อหุ้นออกใหม่
4 สิ ทธิ ในการฟ้ องร้องคดี

5 สิ ทธิ ในการได้รบั ความคุ้มครอง


จากกฏหมายหลักทรัพย์

65

หนาท
หน้ าที่ ของผู
ของผ้ลงทุ
งทนในฐานะ
นในฐานะ
หน้้ าที่ ของผูล้ งทุนในฐานะผู
ใ ถ้ ือหุ้น ลูกค้าของโบรกเกอร์

ติ ดตามข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ
1 การดํ 1 ให้ข้อมูลที่ตรงตามความเป็ นจริง
าเนิ นงานของบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร เพื่อให้ได้คาํ แนะนําที่เหมาะสม
และกรรมการ
2 ศึกษาและทําความเข้าใจหนังสือ
2 ศึกษาข้อมูลในหนังสือนัดประชุม หรือสัญญาก่อนลงนาม
และเอกสารต่่างๆ ที่ีบริิ ษทั ส่่งให้
ใ ้
3 เก็บสําเนาเอกสารต่าง ๆ ไว้เป็ น
เข้าประชุมุ ผูถู้ ือหุ้นุ เพื่อใช้สิทธิ หลักฐานเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
3 ออกเสี ยงในการบริ หารบริ ษทั หากเอกสารไม่ถกู ต้องหรือไม่ได้รบั
4 เอกสารต้ องแจ้งให้ Back Office ทราบ
ใ ้สิทธิิ ของผูถ้ ือหุ้นในการสอบถาม
4 ใช้ ใ ให้ความร่วมมือในการปฏิ บตั ิ ตาม
ข้อมูล และแสดงความคิ ดเห็น 5 ระบบที โบรกเกอร์วางไว้

66 66
DON’Ts ... ป้ องกันช่องทางที่ทาํ ใให้เกิดการทุจริต
1• อย่ามอบอํานาจให้เจ้าหน้าทีก่ ารตลาด ตัดสิ นใจซื้อขายหุ้นในบัญชี
เป็ นผูร้ บั เอกสารสําคัญ เป็ นผูร้ บั ส่งมอบหุ้น หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล
2 • อย่ายินยอมให้เจ้าหน้าทีก ่ ารตลาดใช้ใ บญ ั ชีซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อบุคคลอื่น
3 • อย่าส่งคําสังซื ่ ้อขายหุ้นผ่านโทรศัพท์มือถือของเจ้าหน้ าที่การตลาด
ถูกละเมิ ดสิ ทธิ ติดต่อได้
ไ ้ที่.....
4 อย่าเซ็นชื่อในเอกสารเปล่า (Blank Form) ศูนย์รบั เรือ่ งร้องเรียน (Help Center)
ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ
5 อย่าสังจ่
อยาสงจายเชคเงนสดหรอเชคขดครอม
่ ายเช็คเงิ นสดหรือเช็คขีดคร่อม หลักั ทรัพั ย์แ์ ละตลาดหลักั ทรัพั ย์์ (ก.ล.ต)
โทร 02-263-6000 E-mail Info@sec.or.th
6 อย่าให้ก้ยู ืมเงิ นแก่เจ้าหน้ าที่การตลาด
7 อย่่าร่ว่ มมือื กับั เจ้า้ หน้้ าที่ีการตลาดในการหลี
ใ ป ิ บตั ิ ตามเกณฑ์์
ีกเลี่ียงการปฏิ
ของบริ ษทั หรือทางการ เพราะอาจเข้าข่ายปฏิ บตั ิ ผิดกฎหมายด้วย

67

68

Vous aimerez peut-être aussi