Vous êtes sur la page 1sur 21

โครงงาน

การใช้ประโยชน์จากสิง่ แวดล้อมในการสร้างสรรค์วฒ
ั นธรรมใน
ประเทศไทย
เรือ
่ ง อาหารภาคใต้

จัดทาโดย
นางสาว ญาณิน เกษมสิน ชัน
้ ม. ๕/๑ เลขที่ ๕
นางสาว กุลวรางค์ วัยวัฒน์ ชัน
้ ม. ๕/๑ เลขที่ ๒๔
นางสาว ณัฐกร มัศยาอานนท์ ชัน
้ ม. ๕/๑ เลขที่ ๑๑
เสนอ
อาจารย์ อัจฉรา เก่งบัญชา
ชือ
่ โครงงาน
โครงงานการใช้ประโยชน์จากสิง่ แวดล้อมในการสร้างสรรค์วฒ
ั นธรรมในป
ระเทศไทย
ผูจ้ ดั ทา นางสาว ญาณิน เกษมสิน เลขที่ ๕
นางสาว กุลวรางค์ วัยวัฒน์ เลขที่ ๒๔
นางสาว ณัฐกร มัศยาอานนท์ เลขที่ ๑๑
ระดับชัน
้ ม. ๕/๑
ครูทป
ี่ รึกษา ครู อัจฉรา เก่งบัญชา
โรงเรียน โรงเรียนสาธิตนานาชาติมหาวิทยาลัยมหิดล
ปี พ.ศ. ๒๕๖๑

บทคัดย่อ
ผูจ้ ดั ทาได้เห็นถึงความสาคัญในการศึกษาและเผยแพร่ความรูเ้ กีย่ วกับอาห
า ร ท้ อ ง ถิ่ น ข อ ง ภ า ค ใ ต้
เพื่ อ ให้ ค นในปั จ จุ บ ัน ได้ ต ระหนัก และหัน มาอนุ รัก ษ์ วัฒ นธรรมของไทย
คณะผูจ้ ดั ทาจึงได้เลือกทาโครงงานเกีย่ วกับการวิเคราะห์ลกั ษณะของอาหารภาคใ
ต้ โดยเนื้ อ หาครอบคลุ ม เรื่อ งลัก ษณะและวัต ถุ ดิบ หลัก อาหารประจ าภาคใต้
อิทธิพลต่างๆ ทีส ่ ง่ ผลต่ออาหาร และความสัมพันธ์ของอาหารต่อทรัพยากรในพื้นที่
ลักษณะอาหารของภาคใต้จะมีรสจัดและครบรสโดยใช้วตั ถุดบ ิ ท้องถิน่ ในก
ารปรุง ทัง้ พืชผักและเนื้อสัตว์ตา่ งๆ
เนื่องจากภาคใต้มีลกั ษณะเป็ นแหลมทีย่ นื่ ไปกลางทะเล
อาหารของภาคใต้จงึ มีสตั ว์ทะเลต่างๆ ประกอบอยู่
สภาพอากาศเป็ นอากาศแบบมรสุมเขตร้อน มีฝนตกชุก
ทาให้มีน้าเพียงพอต่อการทาเกษตรซึง่ ส่งผลให้อาหารของภาคใต้มีพืชผักท้องถิน ่
ทีห
่ าได้งา่ ยและสามารถปลูกได้เป็ นส่วนประกอบ
ทางทิศใต้ของภาคใต้ตด ิ ต่อกับมาเลเซียทาให้มีการแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมของอาห
ารฮาลาล รวมทัง้ ในสมัยก่อน
ภาคใต้ยงั เป็ นแหล่งค้าขายของคนหลายชาติทาให้อาหารของภาคใต้มีความหลาก


หลายของวัฒนธรรมผสมอยู่
่ ให้เกิดเอกลักษณ์ ของอาหารภาคใต้ซงึ่ มีความอร่อย
ทัง้ หมดทัง้ มวลนี้กอ
มีคณ ุ ค่าทางโภชนาการ และเป็ นทีแ
่ พร่หลายในภูมภ
ิ าคอืน
่ ๆ
ของประเทศไทยเช่นกัน

กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณอาจารย์อจั ฉรา ครูประจาวิชาและครูทีป ่ รึกษา
ขอบคุณคุณแม่นางสาวกุลวรางค์และณัฐกรทีช ่ ว่ ยสนับสนุนการทาข้าวยาประกอบ
การนาเสนอในครัง้ นี้ ขอขอบคุณเพือ ่ นๆ ทีร่ บ
ั ฟังการนาเสนอ
และท้ายสุดขอขอบคุณเพือ ่ นร่วมกลุม
่ ทีช
่ ว่ ยกันทาโครงงานนี้จนสาเร็จ

คณะผูจ้ ดั ทา
นางสาว ญาณิน เกษมสิน
นางสาว กุลวรางค์ วัยวัฒน์
นางสาว ณัฐกร มัศยาอานนท์
ชัน
้ ม. ๕/๑


สารบัญ
บทคัดย่อ ๑
กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

บทที่ ๑ บทนา
๔-๕
ทีม
่ าและความสาคัญ
วัตถุประสงค์
ขอบเขตการศึกษา
บทที่ ๒ เอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง
๖-๑๑
ลักษณะอาหารภาคใต้
วัตถุดบ
ิ หลัก
วัฒนธรรมการกินอาหารภาคใต้
บทที่ ๓ อุปกรณ์ และวิธีการศึกษา
๑๒
บทที่ ๔ ผลการศึกษาและอภิปรายผลการศึกษา
๑๓-๑๔
อิทธิพลทีส
่ ง่ ผลต่ออาหารภาคใต้


บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษา
๑๕
คุณค่าของอาหารภาคใต้
ข้อเสนอแนะ
แหล่งอ้างอิง ๑๖-๑๗

บทที่ ๑
บทนา
ทีม
่ าและความสาคัญของโครงงาน
ในประเทศไทย สังคมในปัจจุบน ั คนไทยหันไปนิยมอาหารต่างประเทศ
เช่น อาหารตะวันตก
อาหารญีป่ ุ่ นอาหารเกาหลีมากขึน ้ ทาให้วฒั นธรรมอาหารพื้นบ้านและท้องถิน
่ เริม
่ เ
ลือนหายไปจากสังคมไทย โดยเฉพาะอาหารเอกลักษณ์ ของภาคต่างๆ เช่น
ภาคใต้ อาหารต่างประเทศจะใช้วตั ถุดบ ิ ทีห
่ าได้ยากในท้องถิน

ทาให้จาเป็ นต้องเสียค่าขนส่งต่างๆ สิน ้ เปลืองพลังงาน
และละเลยการใช้วตั ถุดบ ิ ท้องถิน
่ ไป

ผูจ้ ดั ทาได้เห็นถึงความสาคัญในการศึกษาและเผยแพร่ความรูเ้ กีย่ วกับอาหารท้อง


ถิน
่ ของภาคใต้
เพือ ่ ให้คนในปัจจุบนั ได้เห็นถึงความสาคัญของอาหารท้องถิน
่ และหันมาสนใจ
อนุรกั ษ์ วฒั นธรรมดัง้ เดิมของประเทศไทยมากขึน้
โครงงานอาหารภาคใต้
จึงเป็ นส่วนหนึ่งในการช่วยอนุ รกั ษ์ วฒ
ั นธรรมและภูมป ิ ญั ญาไทย
โดยทีเ่ ราจะสืบหาค้นคว้าข้อมูลผ่านสือ ่ ต่างๆ เกีย่ วกับวิธีทาอาหารประจาภาคใต้
และความสัมพันธ์ตอ ่ วัตถุดบ
ิ ท้องถิน
่ โดยจะนาเสนอเป็ น PowerPoint
presentation


วัตถุประสงค์
๑. เพือ
่ ศึกษาถึงทีม
่ าคุณค่าความสาคัญ
ของอาหารและวัตถุดบ ิ ในพื้นทีข
่ องภาคใต้
๒. เพือ
่ เผยแพร่ถงึ ความเป็ นเอกลักษณ์ ของอาหารภาคใต้
๓. เพือ ้
่ รณรงค์อนุ รกั ษ์ ให้คนไทยสืบสานวัฒนธรรมของอาหารภาคใต้มากขึน


ขอบเขตเนื้อหาของการทาโครงงาน
๑. ลักษณะและวัตถุดบ ิ หลักในอาหารภาคใต้
๒. อาหารประจาภาคใต้อน ั ประกอบด้วย
- แกงไตปลา
- ข้าวยาน้าบูดู
- สะตอผัดกะปิ กุง้
- คั่วกลิง้
- ปลาทอดขมิน ้
๓. อิทธิพลทีส ่ ง่ ผลต่ออาหารภาคใต้
๔. ความสัมพันธ์ของอาหารต่อทรัพยากรในพื้นที่

บทที่ ๒
เอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง


ใ น ก า ร จั ด ท า โ ค ร ง ง า น ค รั้ ง นี้
ผูจ้ ดั ทาได้คน
้ หาข้อมูลและศึกษาวัฒนธรรมอาหารพื้นบ้านของภาคใต้จากอินเตอ
ร์เน็ตและได้เรียบเรียงเป็ นหัวข้อต่างๆดังนี้
๑. ลักษณะอาหารภาคใต้
๒. วัตถุดบ
ิ หลักในอาหารภาคใต้
๓. วัฒนธรรมการกินอาหาร

ลักษณะอาหารภาคใต้
เอกลักษณ์ ของอาหารใต้คอ ื เป็ นอาหารทีม ่ ีรสจัด ครบรสเปรี้ยว เผ็ด และเค็ม
รสเหล่านี้ได้จากวัตถุดบ
ิ ทีห
่ าได้ในท้องทีอ่ ย่าง ขมิน ้ กะปิ หรือทีเ่ รียกว่าเคย กะทิ
เครือ
่ งเทศสมุนไพร ปลาและสัตว์ทะเลต่างๆ และผักแกล้มในแต่ละมื้อ
อาหารใต้มีอาหารหลายประเภท จากการใช้การปรุงและถนอมอาหารหลายวิธี
สามารถแบ่งประเภทอาหารใต้ได้แก่ แกง ต้ม น้าพริก ทอด ผัด ย่าง และยา
- แกง เป็ นวิธีการปรุงวัตถุดบ ิ หลายๆ อย่างมาต้มกับน้าและเครือ ่ งแกง เช่น
แกงเหลือง แกงไตปลา แกงส้ม และแกงเผ็ดต่างๆ
- ต้ม หมายถึงการนาวัตถุดบ ิ มาใส่รวมกันในน้าจนเดือด
อาหารใต้สว่ นใหญ่จะนามาต้มกับขมิน ้ สมุนไพรต่างๆ และผักสด เช่น
ต้มข่าไก่ ต้มส้ม
- น้าพริก หรือ น้าชุบ เป็ นการถนอมอาหารชนิดหนึ่ง
ทาจากพริกตาละเอียดผสมเครือ ่ งเทศ จิม ้ กินกับผักสด เช่น น้าพริกระกา
- ผัด คือการปรุงอาหารด้วยความร้อนกับน้ามัน
พลิกไปพลิกมาจนทาให้เครือ ่ งปรุงและวัตถุดบ ิ คลุกเคล้าเข้ากัน
ในอาหารใต้นิยมผัดกับเครือ ่ งแกงหรือผัก เช่น กุง้ ผัดสะตอ คั่วกลิง้
ผัดพริกแกง
- ทอด คือการนาวัตถุดบ ิ ลงไปทอดในน้ามันเดือด
นิยมทอดเนื้อสัตว์และสัตว์ทะเลปรุงรส เช่น ลูกเห็ดทอด ปลาทอดขมิน ้
- ย่าง การย่างของภาคใต้จะนาอาหารปิ้ งไฟจนสุกสนิท
ทาให้หอมเครือ ่ งเทศในวัตถุดบ ิ เช่น ปิ้ งงบ ไก่ยา่ งมุสลิม
- ยา คือการนาส่วนผสมวัตถุดบ ิ และเครือ ่ งปรุงมาคลุกเคล้าให้เข้ากัน
ในเมนูยาส่วนใหญ่ของภาคใต้จะให้น้าบูดูจากปลาทะเลหมักเกลือ
เป็ นหนึ่งในเครือ่ งปรุงรส เช่น ข้าวยาน้าบูดู ยาลูกมุด


ด้ ว ย เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ใ น ร ส ข อ ง อ า ห า ร ภ า ค ใ ต้
อาหารภาคใต้จึงเป็ นที่นิย มและแพร่ห ลายมากในหลายๆ พื้ นที่ในประเทศไทย
ตัวอย่างเช่น แกงไตปลา ข้าวยาน้าบูดู สะตอผัดกะปิ กุง้ คั่วกลิง้ และ ปลาทอดขมิน

แกงไตปลา
แกงไตปลา หรือแกงพุงปลา เป็ นแกงทีม ่ ีไตปลาเป็ นส่วนประกอบหลัก
สามารถปรุงได้สองแบบ แบบใส่กะทิหรือไม่ใส่กะทิ
แบบใส่กะทิจะเป็ นทีน่ ิยมในบางพื้นที่ เช่นจังหวัดชุมพร
เมือ ้
่ ใส่กะทิจะทาให้ได้รสเข้มเค็มมันมากยิง่ ขึน แต่ถา้ หากไม่ใส่กะทิ

แกงไตปลาจะมีเนื้อใส สามารถเพิม
่ รสเปรี้ยวด้วยส้มแขกได้

ข้าวยาน้าบูดู
ข้าวยาเป็ นเมนูทมี่ ีสารอาหารครบ 5 หมู่ ดีตอ
่ สุขภาพ
ส่วนประกอบหลักของข้าวยาน้าบูดป ู ระกอบด้วยพริกป่ น พืชผักสมุนไพร ผลไม้
ข้าว และน้าบูดู ซึง่ เป็ นตัวชูรสทีส
่ าคัญทีส
่ ุด ส่วนใหญ่
ถั่วงอกถั่วฝักยาวและใบมะกรูดจะเป็ นทีน ่ ิยมในการนามาเป็ นส่วนประกอบของข้า

วยา บางสูตรยังมีการหุงข้าวสีและใส่มะพร้าวคั่วเพือ
่ เพิม
่ สีและความมันอีกด้วย


สะตอผัดกะปิ กุง้ สด
สะตอเป็ นพืชทีเ่ ติบโตได้งา่ ยกับอากาศร้อนชื้น นิยมปลูกในภาคใต้
สะตอจึงเป็ นวัตถุดบ ิ ทีแ
่ พร่หลายในหลายๆเมนูของอาหารภาคใต้
เนื่องจากอาหารใต้เป็ นอาหารทีม ่ ีรสจัด เค็ม เปรี้ยว เผ็ด
กะปิ จึงเป็ นหนึ่งในวัตถุดบ ิ หลักในการปรุง
ตามด้วยพริกขีห ้ นูและมะนาวครบสามรส

คั่วกลิง้
คั่วกลิง้ เป็ นอาหารทีม
่ ีรสเผ็ด จัด
เนื่องจากเอามาผัดกับพริกแกงทีท ่ าจากเครือ ่ งเทศและสมุนไพร
เครือ่ งเทศและสมุนไพรสามารถช่วยดับกลิน ่ เนื้อสัตว์ทีน
่ ามาผัดได้
เนื้อส่วนใหญ่จะเป็ นเนื้อสัตว์ป่าทีไ่ ม่ตด
ิ มัน
ชาวบ้านนิยมพกติดตัวเมือ ่ ออกไปทางาน ทาไร่ ทาสวน
เนื่องจากคั่วกลิง้ เป็ นอาหารแห้ง ไม่เน่ าเสียง่ายและง่ายต่อการพกพา


ปลาทอดขมิน

อาหารใต้สว่ นใหญ่จะได้รสเผ็ดจากพืชผักสมุนไพรโดยเฉพาะขมิน ้ ทีเ่ ป็ นพืชที่
มีฤทธิร์ อ้ น
สร้างความอบอุน ่ ให้กบั ร่างกายและป้ องกันความเจ็บป่ วยได้เป็ นอย่างดี
พื้นทีส
่ ว่ นใหญ่ของภาคใต้ตด ิ ทะเล ปลาจึงเป็ นวัตถุดบ
ิ ท้องถิน
่ ทีพ
่ บในเกือบทุกเมนู
การใช้ขมิน ้ ในการปรุงช่วยบารุงสุขภาพและยังช่วยดับกลิน ่ คาวในตัวปลา
และเพิม ่ สีสนั ได้อีกด้วย

วัตถุดบ
ิ หลักในอาหารภาคใต้

๑๐
ขมิน
้ เป็ นสมุนไพรเอกลักษณ์ ทไี่ ด้ชือ
่ ว่าเป็ น “พญายา”
ดับกลิน
่ คาวได้เป็ นอย่างดีในอาหารใต้ เป็ นส่วนประกอบในเครือ ่ งแกงหลายๆแกง
เช่น แกงเหลือง แกงไตปลา และ

แกงส้มทัง้ ยังช่วยแก้ได้สารพัดโรคเพราะมีคณ
ุ สมบัตฆ
ิ า่ เชื้อแบคทีเรีย
มีฤทธิใ์ นการขับน้าได้ดี

กะปิ เป็ นเครือ


่ งปรุงหลักของอาหารใต้ ทาจากตัวเคย กุง้ หรือปลาหมักเกลือ
ตากแดดและบดจนละเอียด กะปิ ทีด ่ ี ควรจะเป็ นสีแดงม่วง และมีตาของเคยปะปน

กะทิ ขูดจากเนื้อมะพร้าวแก่ และคัน


้ ขอกมาได้น้ามะพร้าวสีขาวข้นคล้ายนม
การใช้มะพร้าวในแกงจะทาให้ได้รสมันและเข้มข้นขึน ้
อย่างในแกงไตปลาหรือแกงคั่วเผ็ด

๑๑
เ ค รื่ อ ง เ ท ศ ส มุ น ไ พ ร ส า ม า ร ถ ห า ไ ด้ ทั่ ว โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น ภ า ค ใ ต้
ซึ่งมีสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะกับการปลูกสมุนไพร เช่น กระเทียม ตะไคร้ กระวาน
ก า น พ ลู ข่ า พ ริ ก แ ก ง ก ร ะ ช า ย แ ล ะ
ส มุ น ไ พ ร บ า ง ช นิ ด ช่ ว ย เ พิ่ ม ร ส ช า ติ ข อ ง อ า ห า ร ไ ด้ เ ช่ น ม ะ น า ว
ช่วยเพิม่ รสชาติเปรี้ยว คับคาว ช่วยให้รสจัดจ้านขึน ้
สัตว์ป่าและสัตว์ทะเล เนื่องจากภาคใต้เป็ นพื้นทีต่ ด
ิ ทะเลและมีพื้นทีป่ ่ าเยอะ
สัตว์ทะเลและสัตว์ป่าจึงสามารถหาได้งา่ ยและเป็ นวัตถุดบ ิ หลักในการประกอบอา
ห า ร
ทาให้มีเมนูอาหารทีส่ ามารถสร้างสรรค์ได้มากขึน ้ เรือ
่ ยๆจะวัตถุดบ ิ ทีห
่ ลากหลาย

ผักแกล้ม ในอาหารแต่ละมื้อจะมีผกั ลวกสดแกล้มอยูเ่ สมอ


ในภาษาท้องถิน ่ เรียกว่า ผักเหนาะ เช่น กระถิน กระเฉด ผักบุง้ แตงกวา ถั่วฝักยาว
ลูกเนียง สะตอ ผักกาด กะหล่าปลี มะเขือ เพราะอาหารใต้รสจัด
ผักสดจึงช่วยลดครวามเผ็ดและแก้คาวได้เป็ นอย่างดี เพราะอาหารทีค ่ รบทัง้ ห้าหมู่
คนใต้จงึ เจ็บป่ วยได้ยาก

วัฒนธรรมการกินของคนภาคใต้
อาชีพของคนใต้สว่ นมากจะการเกษตรและประมงเนื่องจากเป็ นพื้นทีต ่ ด
ิ ทะเล
จึงกินเยอะเผือ่ ท้องในมื้อเช้าและกินเยอะในมื้อเย็นเนื่องจากเหนื่อยล้าจากการทาง
าน ส่วนมื้อกลางวันจะพกอาหารออกไปทางานด้วย เป็ นมื้อทีก ่ น
ิ ไม่หนักมาก
๑๒
ในมื้อเย็นจะนิยมทานพร้อมกันทัง้ ครอบครัวและเพือ่ นบ้านเป็ นมื้อใหญ่
แสดงถึงความเป็ นกันเอง การกินแกงกับข้าวส่วนใหญ่จะแยกใส่ถว้ ยต่างหาก
เพราะจะถือว่าการราดบนข้าวจะเป็ นการลบหลูพ ่ ระแม่โพสพและแสดงถึงความเกี
ยจคร้าน ในอาหารแต่ละมื้อจะมีผกั ลวกสดแกล้มอยูเ่ สมอ ในภาษาท้องถิน ่ เรียกว่า
ผักเหนาะ เช่น กระถิน กระเฉด ผักบุง้ แตงกวา ถั่วฝักยาว ลูกเนียง สะตอ ผักกาด
กะหล่าปลี มะเขือ เพราะอาหารใต้รสจัด
ผักสดจึงช่วยลดครวามเผ็ดและแก้คาวได้เป็ นอย่างดี เพราะอาหารทีค ่ รบทัง้ ห้าหมู่
คนใต้จงึ เจ็บป่ วยได้ยาก

บทที่ ๓
อุปกรณ์ และวิธก
ี ารศึกษา
ขัน
้ ตอนการทาโครงงาน
๑. ตัง้ ประเด็นการศึกษา
ระดมความคิดเรือ ่ งประเด็นทีจ่ ะศึกษาทีเ่ กีย่ วข้องกับการใช้ประโยชน์จากท
รัพยากรในการสร้างสรรค์วฒ ั นธรรมในประเทศไทย
พร้อมทัง้ ระบุทม
ี่ าและความสาคัญ จุดประสงค์ในการศึกษา
๒. กาหนดขอบเขตการศึกษาและแบ่งหน้าที่
- นาวสาวณัฐกร รับผิดชอบการสืบค้นข้อมูล แบ่งหัวข้อการสืบค้น
รวบรวม และสรุป
- นางสาวกุลวรางค์ รับผิดชอบการสืบค้นข้อมูลและทาอาหาร
- นางสาวญาณิน รับผิดชอบเรือ ่ งการสืบค้นข้อมูลและสือ ่ อุปกรณ์ นาเสนอ
เนื่องจากโครงงานของทางคณะผูจ้ ดั ทาเป็ นโครงงานประเภทสืบค้น
อุปกรณ์ ทใี่ ช้จงึ เป็ นอุปกรณ์ ในการสืบค้นทัง้ หมด คือ

๑๓
คอมพิวเตอร์ทใี่ ช้ในการสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต
และโปรแกรมต่างๆทีใ่ ช้ในการสรุปข้อมูลและทาไสลด์ในการนาเสนอ
๓. สืบค้นข้อมูลเกีย่ วกับอาหารภาคใต้
๔. รวบรวมและวิเคราะห์ขอ ้ มูล พร้อมทัง้ สรุปคุณค่าของอาหารภาคใต้
๕. จัดทารายงาน
๖. ทาสือ
่ นาเสนอ ประกอบด้วยสไลด์ PowerPoint
และเมนูอาหารใต้ฟิวชั่นสาหรับคุณครูและเพือ ่ นๆ
ได้ลองรับประทานประกอบการนาเสนอ
โดยนาข้าวยามาห่อด้วยแป้ งแบบก๋วยเตีย๋ วลุยสวน ลักษณะเล็กพอดีคา
หยิบทานได้งา่ ย
๗. นาเสนอคุณครูและเพือ ่ น

บทที่ ๔
ผลการศึกษาอภิปรายผลการศึกษา
อิทธิพลทีส
่ ง่ ผลต่ออาหารภาคใต้
อาหารภาคใต้ เป็ นอาหารทีม ่ ีลกั ษณะเฉพาะทัง้ ในด้านรสชาติและวัตถุดบ

ซึง่ เหล่านี้เป็ นผลมาจากสามปัจจัยสาคัญคือ
๑. สภาพภูมศ
ิ าสตร์ของภาคใต้
ภาคใต้มีลกั ษณะเป็ นแหลมยืน ่ ออกไปในทะเล
ทางด้านตะวันออกขนาบด้วยทะเลอ่าวไทย มหาสมุทรแปซิฟิก
ทางด้านตะวันตกขนาบด้วยทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย
มีคอคอดกระซึง่ มีลกั ษณะแคบอยูท ่ จี่ งั หวัดระนอง
มีเทือกเขาสาคัญสามเทือกเขาคือเทือกเขาภูเก็ต เทือกเขานครศรีธรรมราช
และเทือกเขาสันกาลาคีรี ทอดตัวในลักษณะเหนือใต้
ระหว่างเทือกเขามีทรี่ าบเชิงเขา ซึง่ ทีร่ าบหลักๆ คือทีร่ าบสุราษฏร์ธานี

๑๔
ทีร่ าบทีใ่ หญ่ทสี่ ุดของภาคใต้ระหว่างเทือกเขาภูเก็ตและเทือกเขานครศรีธรรมราช
นอกจากนี้ก็มีทรี่ าบพัทลุงและทีร่ าบปัตตานี
ซึง่ อยูร่ ะหว่างเทือกเขาและชายฝั่งทะเล ด้านแม่น้ามีลกั ษณะเป็ นแม่น้าสายสัน ้ ๆ
ไหลลงสูท ่ ะเลอย่างรวดเร็ว โดยแม่น้าสายทีย่ าวทีส ่ ุดคือแม่น้าตาปี
กาเนิดจากตาน้าบนเทือกเขานครศรีธรรมราชและไหลลงสูอ ่ า่ วไทยทีจ่ งั หวัดสุราษ
ฎร์ธานี
ทางตอนใต้ยงั มีทะเลสาบสงขลาเป็ นทะเลสาบทีใ่ หญ่ทส ี่ ุดของภาคใต้อีกด้วย

ลักษณะพื้นทีข ่ องภาคใต้จงึ มีทง้ ั ทีร่ าบชายฝั่งทะเลจานวนมากทัง้ สองฝั่ง


ทีร่ าบเชิงเขา และเทือกเขาสูง อันนามาสูท่ รัพยากรต่างๆ คือป่ า
ประกอบด้วยป่ าชายเลน ป่ าชายหาด ป่ าดิบชื้น มีทรัพยากรสัตว์น้าทัง้ น้าจืดน้าเค็ม
นามาประกอบอาหารได้ เช่นกุง้ กุลาดา ปูมา้ หอยแครง หอยนางรม หอยแมลงภู่
ปลากระพงขาว ปลากระบอก ปลาช่อน ปลานิล ปลากุเลา ปลาหมึก ฯลฯ
อีกทัง้ ยังมีผกั พื้นบ้านทีห
่ าได้งา่ ยเนื่องจากลักษณะของป่ าดิบชื้น คือ สะตอ ลูกเนียง
ลูกเหรียง ผักกูด ใบเหลียง ชะคราม มะเขือ กะหล่าปลี หัวปลี ดอกขจร หน่ อไม้
ดอกแค ผักเสี้ยน ฯลฯ ด้วย นอกจากนี้ทรี่ าบยังใช้ปลูกข้าวเจ้าพันธุ์พื้นบ้านได้ดว้ ย

๒. สภาพภูมอ
ิ ากาศของภาคใต้

๑๕
ภาคใต้มีลกั ษณะภูมอ ิ ากาศแบบมรสุมเขตร้อน
เนื่องจากมีมหาสมุทรขนาบทัง้ สองฝั่ง
ทาให้ได้รบ ั อิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉี ยงเหนือในช่วงเดือนตุลาคม-
กุมภาพันธ์ และมรสุมตะวันตกเฉี ยงใต้ในเดือนพฤษภาคม-ตุลาคมอย่างเต็มที่
ความชื้นปริมาณมากทีถ ่ ูกพัดมาส่งผลให้ภาคใต้มีฝนตกชุกเกือบตลอดทัง้ ปี
หรือทีเ่ รียกว่าสภาพอากาศแบบ “ฝนแปดแดดสี”่ ด้วยเหตุนี้ อาหารของภาคใต้
จึงประกอบด้วยผัดหลายหลายชนิดเพราะพืชพันธุ์เจริญเติบโตได้ดี
และมีลกั ษณะเผ็ดร้อนเพือ ่ ช่วยให้รา่ งกายอบอุน
่ และแข็งแรง ไม่เจ็บป่ วยง่าย

๓. อิทธิพลจากต่างชาติ
เนื่องจากภาคใต้มีสภาพพื้นทีเ่ ป็ นแหลมติดทะเลทัง้ สองฝั่ง
ทาให้กลายเป็ นแหล่งพักเรือและติดต่อค้าขายของพ่อค้าชาวอินเดียและจีนมาตัง้ แ
ต่สมัยทวารวดี ราวๆ พุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ (คริสตศตวรรษที่ ๙-๑๐)
มีหลักฐานพบว่าพ่อค้าชาวอินเดียซึง่ เดินทางมาจากตอนใต้ของอินเดียได้เดินทาง
มาขึน ้ บกทีไ่ ทยทีจ่ งั หวัดพังงา และล่องเรือไปจนถึงเมืองไชยา
จังหวัดสุราษฎร์ธานี บางส่วนเข้าฝั่งทีจ่ งั หวัดนครศรีธรรมราช
หลักฐานทีพ ่ บคือโบราณวัตถุหลายชิน ้ อาทิเช่น
เครือ่ งถ้วยจีนและลูกปัดทีจ่ งั หวัดสุราษฎร์ธานี และชิ้นส่วนของเรือทีจ่ งั หวัดกระบี่
ต่อมาในสมัยอยุธยา
เมือ
่ การค้าของสยามและนานาชาติขยายตัวมากขึน ้ เนื่องด้วยชัยภูมอิ น ่ งึ่ กลาง
ั อยูก
ระหว่างแหล่งอารยธรรมต่างๆ ในสมัยนัน ้ หลายๆ
จังหวัดในภาคใต้ได้กลายเป็ นเมืองท่าสาคัญทัง้ เมืองนครศรีธรรมราช สงขลา
ปัตตานี ด้วยเหตุนี้ ภาคใต้จงึ ได้รบั การใช้เครือ ่ งเทศอย่างเช่นขมิน ้
รวมถึงอาหารจากอินเดียเช่นหมูสะเต๊ะและโรตีมาอยูใ่ นวัฒนธรรมการทาอาหาร
นอกจากนี้
การทีภ ่ าคใต้มีอาณาเขตติดต่อกับหมูเ่ กาะมลายูคอ ื ประเทศมาเลเซียในปัจจุบน ั ยัง
ทาให้มีการผสมผสานอาหารอิสลามเข้าไปอีกด้วย

บทที่ ๕
สรุปผลการศึกษา

๑๖
คุณค่าของอาหารภาคใต้
จากการศึกษาลักษณะของอาหารภาคใต้พบว่า
นอกจากรสชาติอร่อยจัดจ้านจากการใช้เครือ ่ งแกงและวัตถุดบ ิ อันเป็ นเอกลักษณ์
อาหารภาคใต้ยงั แสดงถึงภูมป ิ ญญาการทาอาหารทีช
่ าญฉลาด
สัมพันธ์เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
มีการนาทรัพยากรทีม่ ากรวมถึงการรับวัฒนธรรมจากชาติอืน ่ มาสร้างสูตรอาหาร
ต่างๆ ซึง่ มีความหลากหลายและมีคณ ุ ค่าทางโภชนาการครบถ้วน
ทาให้อาหารภาคใต้มีความโดดเด่น
และกลายเป็ นส่วนหนึ่งของอัตลักษณ์ ภาคใต้ในปัจจุบนั

ข้อเสนอแนะ
หากศึกษาข้อมูลของวัตถุดิบแต่ละขนิดทีน
่ ามาประกอบอาหารภาคใต้อย่าง
ล ะ เ อี ย ด
และภูมป ิ ญ
ั ญาการประกอบอาหารดัง้ เดิมจะทาให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสภาพพื้
นที่ ทรัพยากร และภูมป
ิ ญ
ั ญาการทาอาหารภาคใต้ได้ลก ึ ซึง้ มากยิง่ ขึน

แหล่งอ้างอิง
๑๗
Anupab Khlabut. (๙ ธันวาคม, ๒๕๕๔). อาหารพื้นบ้านภาคใต้ (ออนไลน์).
แหล่งทีม
่ า
http://khlabut.blogspot.com/2011/12/1-14-5-6-1.html
PakKimji. (๙ ธันวาคม, ๒๕๕๙). ปลานิลทอดขมิน

สารับภาคใต้หรอยแรงครบเครือ
่ งสมุนไพร (ออนไลน์ ).
แหล่งทีม
่ า https://goodlifeupdate.com/healthy-
food/recipe/42130.html
Pitchaorn. (๑๓ มิถุนายน, ๒๕๕๗). “สะตอ” ผักพื้นบ้านภาคใต้มากประโยชน์
(ออนไลน์). แหล่งทีม
่ า
https://live.phuketindex.com/th/stinkbean-6298.html
แกงไตปลา แกงรสชาติเผ็ดร้อนของภาคใต้ (ออนไลน์). แหล่งทีม
่ า
http://cooking.teenee.com/side-
dish/158.html
โครงการจัดทาฐานข้อมูลอาหารพื้นบ้านภาคใต้ (ม.ป.ป.),
วัฒนธรรมอาหารภาคใต้ (ออนไลน์). แหล่งทีม
่ า
http://www.dusittrang.com/food/
ฑูรย์ ศิรริ กั ษ์ . (๒๙ มิถุนายน, ๒๕๕๓), ภูมป
ิ ญ
ั ญาอาหารภาคใต้ (ออนไลน์).
แหล่งทีม่ า
https://www.gotoknow.org/posts/370383
ปาจรีย์ เรืองคล้าย. (ม.ป.ป.). ลักษณะทางกายภาพภาคใต้ (ออนไลน์ ).
แหล่งทีม
่ า
file:///C:/Users/khing/Downloads/050320141717%E0%B8%A
5%E0%B8%B1%E0%B8%81%
E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0
%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B
8%A2%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%

๑๘
A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B9%83%E0%B8%95
%E0%B9%892.ppt
ผศ.ดร.พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (ม.ป.ป.). คั่วกลิง้ (ออนไลน์). แหล่งทีม
่ า
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/3744/%E0%B
8%84%E0%B8%B1%E0%B
9%88%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%
B4%E0%B9%89%E0%B8%87
โรงเรียนดรุณานุกูลหัวถนน. (ม.ป.ป.). วัฒนธรรมภาคใต้ (ออนไลน์ ). แหล่งทีม
่ า
http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type1/soci
al03/01/contents/culture_s
outh2.html
อาหารภาคใต้ (ออนไลน์). (๘ กันยายน, ๒๕๕๗). แหล่งทีม
่ า
https://www.slideshare.net/Songsak1/ss-38852957
เอิบเปรม วัชรางกูร. (ม.ป.ป.). การค้าทางทะเลในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
(ออนไลน์). แหล่งทีม่ า
http://www.km.moi.go.th/km/asean/neighbor/neighbor6.pdf

๑๙
๒๐

Vous aimerez peut-être aussi