Vous êtes sur la page 1sur 14

• การแยกสารผสมชนิดของเหลว

• ถ้าสารจุดเดือดต่างกันมาก ใช้การกลั่นธรรมดา
• ถ้าสารจุดเดือดใกล้เคียงกัน ใช้การกลั่นลาดับส่วน
• ถ้าสารเป็นสารอินทรีย์ ระเหยง่าย ไม่ทาปฏิกิริยากับน้า
ใช้การกลั่นด้วยไอน้า
การกลั่นธรรมดา เหมาะ
สาหรับสารที่มจี ุดเดือดต่างกัน
ประมาณ 80°C ขึ้นไปและ
เมื่อกลั่นเสร็จแล้วมีของแข็ง
เหลืออยู่ที่ก้นภาชนะ
• เป็นการแยกของเหลวที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกัน
• ให้ความร้อนแก่สาร ไอของสารระเหยจะผ่านขึ้นไปยัง
คอลัมน์ ทาให้ไอแยกออกเป็นส่วนๆ ตามช่วงอุณหภูมิ
• สารที่มีจุดเดือดต่า จะระเหยไปทางด้านบนของคอลัมน์
สารที่มีจุดเดือดสูงกว่า จะอยู่ทางด้านล่างของคอลัมน์
การกลั่นน้ามันดิบ
การกลั่นด้วยไอน้า
• เป็นการแยกสารทีร่ ะเหยเป็นไอได้ง่าย และไม่รวมตัวกับน้า
• ใช้สกัดน้ามันหอมระเหย
• ไอน้าจะพาน้ามันหอมระเหยไปยังส่วนที่ควบแน่น น้ามันและ
น้าจึงถูกควบแน่นเป็นของเหลวและแยกชั้น
การกลั่นด้วยไอน้า
• เป็นการแยกของแข็งที่ละลายอยู่ในของเหลว โดยทาให้เป็น
สารละลายอิ่มตัว แล้วปล่อยให้สารละลายเย็นตัวลงอย่างช้าๆ
ได้ของแข็งตกผลึกออกมา
• ใช้แยกของแข็งที่ปนกันอยู่หลายชนิดออกจากกัน
• ใช้หลักสารต่างชนิดกัน มีความสามารถในการละลายต่างกัน
โครมาโตกราฟี
• เป็นการแยกสารที่มีปริมาณน้อยๆ ได้ดี
• ประกอบด้วย 2 ส่วน
– ตัวทาละลาย เป็นตัวพาให้สารเคลื่อนที่
– ตัวดูดซับ เป็นตัวดูดซับสารในระหว่างที่เคลื่อนที่
• อาศัยสมบัติเกี่ยวกับการละลายในตัวทาละลายที่ต่างกัน และการ
ดูดซับที่ต่างกัน
โครมาโตกราฟีชนิดคอลัมน์
โครมาโตกราฟี
โครมาโตกราฟี
สารที่ละลายในตัวทาละลายได้ดี และถูกดูดซับได้น้อย จะเคลื่อนที่
ได้เร็ว
สารที่ละลายในตัวทาละลายได้ดี และถูกดูดซับไว้ดี จะเคลื่อนที่ได้ช้า
สารที่มีความสามารถในการละลายและถูกดูดซับได้เหมือนกัน จะ
เคลื่อนที่ไปด้วยกัน
โครมาโตกราฟี

• ค่า Rf เป็นค่าเปรียบเทียบระยะทางที่สารเคลื่อนที่กับระยะทาง
ที่ตัวทาละลายเคลื่อนที่ ใช้ในการวิเคราะห์การแยกสาร

Rf =

Vous aimerez peut-être aussi