Vous êtes sur la page 1sur 338

คํานํา

หนังสือแผนภูมิกฎหมายที่ดินเลมนี้ เปนการปรับปรุงหนังสือแผนภูมิกฎหมายที่ดินที่ผูเขียนไดจัดทํา
ไวใชงานและแจกจายมาแลวครั้งหนึ่ง เมื่อป พ.ศ. 2543 โดยการจัดทําครั้งนั้นเปนการจัดทําไวใชงานคดีในขณะที่
ดํารงตําแหนงหัวหนากลุมงานคดี กองนิติการ เพื่อใหนิติกรไวศึกษาและใชประสานงานกับพนักงานอัยการ
เพื่อดําเนินการฟองคดีหรือตอสูคดีเกี่ยวกับงานที่ดิน เนื่องจากกฎหมายที่ดิน (ประมวลกฎหมายที่ดิน) เปน
กฎหมายเฉพาะที่ตัวบทกฎหมายในแตละเรื่องแมเปนเรื่องเดียวกันก็กระจายอยูในหลายมาตรา ไมตอเนื่องกัน
ตั้งแตตนจนจบ อีกทั้งมีกฎกระทรวงและระเบียบที่เกี่ยวของรองรับการปฏิบัติงานจํานวนมาก จึงเปนเรื่องยาก
ที่จะอธิบายใหบุคคลภายนอก (กรมที่ดิน) ทราบไดอยางรวดเร็ว และชัดเจนในขั้นตอนที่กฎหมายกําหนด
ผูเขียนจึงนําเอาแนวการเขียนเปนแผนภูมิซึ่งผูเขียนเคยเขียนเฉพาะมาตราสําคัญในสมัยที่จัดทําไวใชสอบเลื่อน
ระดับในสมัยสอบซี 5 (พ.ศ. 2535) มาเปนแนวในการเขียน แตในการเขียนใหม (เมื่อป พ.ศ. 2543) นั้นไดเขียน
ทุกมาตรา โดยมีจุดประสงคที่กลาวมาในขางตนวาเพื่อใชเปนคูมือในการศึกษาทําความเขาใจกฎหมายที่ดิน
และใชเปนคูมือในการประสานงานชี้แจงทําความเขาใจเกี่ยวกับคดีกับพนักงานอัยการในกระบวนการที่เปน
ประเด็นปญหาของคดีวาอยูในชวงขั้นตอนใดของกฎหมาย และขั้นตอนใดไดมีการกระทําไปแลวตามกฎหมาย
เมื่อเขาใจประเด็นตรงกัน แลวจึงคอยนําขอเท็จจริงและระเบียบมาปรับเขากับกฎหมาย และในขณะเดียวกันก็มี
เจตนาเผยแพรใหเจาหนาที่ของกรมที่ดินไวศึกษาทําความเขาใจและไวใชปฏิบัติงาน ซึ่งตอมาไดนํามาเปนหนึ่ง
ในผลงานทางวิชาการที่ใชในการเลื่อนระดับเปนนิติกร 8 ว ดวย
ในการจัดทําครั้งนี้ ผูเขียนไดนําแผนภูมิฉบับเดิมมาปรับปรุงใหเปนปจจุบัน แตยังยึดหลักเขียนเปน
แผนภูมิใหเปนรูปธรรม เห็นเปนขั้นตอนและสายทางเดินของกระบวนการในแตละเรื่องเชนเดิม และเพื่อใหสะดวก
ในการปฏิบัติงานจึงไดนําคําพิพากษาของศาลมารวมไวดวย ในการจัดพิมพตนฉบับก็ยังคงไดรับความชวยเหลือ
อนุเคราะหจากคุณสายฝน สมบูรณ นักวิชาการที่ดินชํานาญการ สํานักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน เปนผูรวบรวม
คําพิพากษาของศาลเพิ่มเติมจากของเดิมและเปนผูจัดพิมพตนฉบับให เหมือนหนังสือทุกเลมที่ผูเขียนไดจัดทํา
ขึ้น และในการจัดพิมพเปนรูปเลมไดรับความอนุเคราะหจากคุณอดุลย สังขรัตน ซึ่งเปนผูที่เคารพรักกัน และ
บริษทั จตุโชคการพิมพ จํากัด ไดสนับสนุนการจัดพิมพเชนเคย จึงขอขอบคุณทั้งสามทานมา ณ โอกาสนี้
ผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนแกพนักงานเจาหนาที่ของกรมที่ดินและ
ผูที่ศึกษา หากหนังสือนี้มีความดีประการใด ผูเขียนขอมอบใหแกผูมีพระคุณ ครูอาจารยทั้งที่ยังอยูและลวงลับ
ไปแลวของผูเขียนและผูสนับสนุนทุกทาน หากมีขอผิดพลาดประการใด ผูเขียนขอนอมรับไวทั้งหมด

ชัยชาญ สิทธิวิรัชธรรม
พฤศจิกายน 2555

หนังสือนี้ไมจําหนาย
สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย
อักษรยอ/ความหมาย

ปว. = ประกาศของคณะปฏิวตั ิ

พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน = พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายทีด่ นิ พ.ศ. 2497

ป.ที่ดิน = ประมวลกฎหมายที่ดิน

ป.พ.พ. = ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

ม. = มาตรา

ว. = วรรค

กฎฉบับที่ = กฎกระทรวง ฉบับที่ – ออกตามความในพระราชบัญญัติ


ใหใชประมวลกฎหมายทีด่ ิน

ระเบียบฯ = ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดนิ แหงชาติ

พ.ร.บ. = พระราชบัญญัติ

(เสนทึบ) = เสนแผนภูมหิ ลัก

(เสนปะ) = เสนแผนภูมิสว นขยายความ

สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย
“ถูกตอง สุจริต รวดเร็ว”

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


สารบัญ
หนา

พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดนิ พ.ศ. 2497


มาตรา 1 - 4 การบังคับใชกฎหมาย (ช. 1) 1
มาตรา 5 สิทธิของบุคคลในที่ดินที่มีอยูกอน ป.ที่ดิน (ที่มาของ ส.ค.1) (ช. 2) 2
มาตรา 6 การรับรองสิทธิของผูดําเนินการตามกฎหมายเกาอยูแลว (ช. 3) 3
มาตรา 7 สิทธิของผูไดรับอนุญาตใหจับจองที่ดินตามกฎหมายเกา
(ที่มาของแบบหมายเลข 3 หลัง ป.ที่ดิน) (ช. 4) 5
มาตรา 8 การทําประโยชนในที่ดิน และการโอนที่ดินจับจอง (ช. 5) 6
มาตรา 9 การโอนสิทธิครอบครอง (ช. 6) (ช. 6) 6
มาตรา 10 รับรองการหวงหามที่ดินตามกฎหมายแลว (ช. 7) 7
มาตรา 11 การนําวิธีรังวัดเกาใชกับหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์รุนเกา (ช. 8) 8
มาตรา 12 นิติกรรมที่ทําไวกอน ป.ที่ดิน (การคุมครองการถือสิทธิในที่ดิน) (ช. 9) 9
มาตรา 13 การรับรองสิทธิในที่ดินกรณีขายฝากไวกอน ป.ที่ดินใชบังคับ (ช. 10) 10
มาตรา 14 สิทธิของผูขอจับจองที่ดินกอน ป.ที่ดิน
(ที่มาของใบเหยียบย่ําหลัง ป.ที่ดิน) (ช. 11) 11
มาตรา 15 อํานาจผูรักษาการ พ.ร.บ. (ช. 12) 12

ประมวลกฎหมายที่ดิน
หมวด 1 บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
มาตรา 1 คํานิยาม (ช. 13) 13
มาตรา 2 - 4 ทวิ การมีกรรมสิทธิ์ และการรับรองสิทธิครอบครองในที่ดิน (ช. 14) 15
มาตรา 5 – 6 เวนคืนสิทธิในที่ดินใหรัฐและการทอดทิ้งไมทําประโยชน (ช. 15) 16
มาตรา 8 ว.1 การดูแลรักษาสาธารณสมบัติของแผนดิน (ช. 16) 17
มาตรา 8 ว. 2, 3 การถอนสภาพที่ดินสาธารณสมบัติของแผนดิน (ช. 17) 18
มาตรา 8 ทวิ การนําที่ดินของรัฐขึ้นทะเบียน ประกอบกับกฎกระทรวง
ฉบับที่ 25 (ช. 18) 20
มาตรา 8 ตรี การออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง (น.ส.ล.),
กฎกระทรวง ฉบับที่ 26, 45 (ช. 19) 22
มาตรา 9 การหวงหามที่ดิน ตาม ม.9 และการขออนุญาตเกี่ยวกับที่ดินของรัฐ (ช. 20) 25

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


หนา

มาตรา 9/1 คาตอบแทนมาตรา 9 และการแบงรายไดคาตอบแทน (ช. 21) 28


มาตรา 10, 11 การจัดหาผลประโยชนในที่ดินของรัฐ, กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (ช. 22) 29
มาตรา 12 การขอสัมปทานในที่ดินของรัฐ, กฎกระทรวง ฉบับที่ 12 (ช. 23) 32
มาตรา 13 การตั้งสํานักงานที่ดินจังหวัด/สาขา (ช. 24) 35
หมวด 2 การจัดที่ดินเพือ่ ประชาชน
มาตรา 14, 15, 16, 17, 18, 19, 20, 28 คณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ (ช. 25) 36
มาตรา 21, 22 การมอบหมายใหทบวงการเมืองจัดที่ดิน (ช. 26) 38
มาตรา 23, 24 การใชอํานาจหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ตาม ป.ที่ดิน (ช. 27) 39
มาตรา 25, 26 เขตสํารวจที่ดิน กฎกระทรวง ฉบับที่ 14 (ช. 28) 40
มาตรา 27, 29 การจัดที่ดินเพื่อประชาชน (ผืนใหญ) (ช. 29) 42
มาตรา 27 ทวิ การพิจารณาการผอนผันการแจง ส.ค.1
(สิทธิของผูใชสิทธิขอผอนผันการแจง ส.ค.1) (ช. 30) 43
มาตรา 27 ตรี การแจงความประสงคจะไดสิทธิในที่ดิน
(แจง ส.ค.2) ในการเดินสํารวจ (ช. 31) 44
มาตรา 30, 31, 32 และ 33 การจัดที่ดินและการออกเอกสารสิทธิในที่ดินจากการจัดที่ดิน (ช. 32) 46
หมวด 3 การกําหนดสิทธิในที่ดิน
มาตรา 50, 51, 52, 53, 54, 55 อธิบดีใชอํานาจจําหนายที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน,
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (ช. 33) 50
หมวด 4 การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
มาตรา 56, 57 หลักเกณฑและวิธีการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน (ช. 34) 54
มาตรา 56/1 หลักเกณฑการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินที่มีอาณาเขต
ติดตอคาบเกี่ยวหรืออยูในเขตที่ดินของรัฐที่มีระวางแลว (ช. 35) 56
- ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการตรวจสอบที่ดินเพื่อออกโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรับรองการทําประโยชน กรณีเปนที่ดินที่มีอาณาเขต
ติดตอคาบเกี่ยวหรืออยูในเขตที่ดินของรัฐดวยวิธีอื่น พ.ศ. 2551
(ออกตามมาตรา 56/1 แหงประมวลกฎหมายที่ดิน) (ช. 36) 57
มาตรา 58, 58 ทวิ การเดินสํารวจทั้งตําบล (ช. 37) 62
มาตรา 58 ตรี การยายแปลง (ช. 38) 65
มาตรา 59 ขอออกเฉพาะราย (มีหลักฐาน) (ช. 39) 67

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


หนา

มาตรา 59 ทวิ การขอออกเฉพาะราย (ไมมีหลักฐาน),


ระเบียบคณะกรรมการฯ ฉบับที่ 12 หมวด 1 (ช. 40) 68
มาตรา 59 ตรี การออกเอกสารสิทธิกรณีเนื้อที่ตางจาก ส.ค.1,
ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 12 หมวด 2 (ช. 41) 70
มาตรา 59 จัตวา, 59 เบญจ การจดแจงภาระผูกพันและการยกเลิก
เอกสารสิทธิเดิมเมื่อออกโฉนดที่ดิน (ช. 42) 72
มาตรา 60 การโตแยงสิทธิกรณีออกเอกสารสิทธิใหม (ช. 43) 73
มาตรา 61 การเพิกถอน แกไขเอกสารสิทธิในที่ดินและรายการจดทะเบียน (ช. 44) 74
- กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการ
ในการสอบสวนและการพิจารณาเพิกถอนหรือแกไขการออก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน การจดทะเบียน
สิทธิและนิติกรรม หรือการจดแจงรายการจดทะเบียนโดย
คลาดเคลื่อนหรือไมชอบดวยกฎหมาย พ.ศ. 2553 (ช. 45) 78
มาตรา 62 การแจงผลคดีของศาล (ช. 46) 85
มาตรา 63 การออกใบแทน (กรณีฉบับเจาของที่ดินชํารุด สูญหาย) (ช. 47) 86
มาตรา 64 การจัดทําขึ้นใหมทั้งคูฉบับ (กรณีฉบับสํานักงานที่ดินชํารุด สูญหาย) (ช. 47) 86
หมวด 5 การรังวัด
มาตรา 65 การรังวัดออกโฉนดที่ดิน, กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 และฉบับที่ 49 (ช. 48) 87
มาตรา 66, 70, 70 ทวิ อํานาจของเจาหนาที่ในการรังวัด (ช. 49) 88
มาตรา 67, 68 การจัดทําและการยายหลักเขต (ช. 50) 89
มาตรา 69 สอบเขตที่ดินทั้งตําบล (ช. 51) 91
มาตรา 69 ทวิ สอบเขตเฉพาะราย, มาตรา 79 แบงแยกและรวมที่ดิน,
กฎกระทรวง ฉบับที่ 31 การแจงเจาของที่ดินขางเคียง (ช. 52) 92
หมวด 6 การจดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรม
มาตรา 71 พนักงานเจาหนาที่ผูมีอํานาจจดทะเบียนและ
การจดทะเบียนตางสํานักงาน (ช. 53) 95
มาตรา 72 การขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมและการรับคําขอตางสํานักงาน (ช. 53) 95
มาตรา 73 นิติกรรมโมฆะกรรม โมฆียกรรม (ช. 54) 98
มาตรา 74 อํานาจของพนักงานเจาหนาที่ในการจดทะเบียน (ช. 54) 98
มาตรา 75 จดทะเบียนทั้งสองฉบับ (ช. 55) 99

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


หนา

มาตรา 76 จดทะเบียนใบไตสวน (ช. 55) 99


มาตรา 77 หลักเกณฑวิธีการจดทะเบียน (ช. 55) 99
มาตรา 78 วิธีการจดทะเบียนการไดมาตาม ม.1382 ป.พ.พ. หรือโดยประการอื่น (ช. 55) 99
มาตรา 80 ไถถอนฝายเดียว (ช. 55) 99
มาตรา 81 โอนมรดก , กฎกระทรวง ฉบับที่ 24 (ช. 56) 101
มาตรา 82 จดทะเบียนผูจัดการมรดก, โอนมรดก (ช. 57) 104
มาตรา 83 อายัดที่ดิน (ช. 58) 106
- คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 635/2547 เรื่อง การอายัดที่ดิน (ช. 59) 108
หมวด 7 การกําหนดสิทธิในที่ดินเพือ่ การศาสนา
มาตรา 84, 85 การไดมาซึ่งที่ดินเพื่อการศาสนา (ช. 60) 120
- อํานาจการอนุญาตใหไดมาซึ่งที่ดินตามมาตรา 84
แหงประมวลกฎหมายที่ดิน (ช.61) 122
หมวด 8 การกําหนดสิทธิในที่ดินของคนตางดาว
มาตรา 86 สิทธิการไดมาซึ่งที่ดินของคนตางดาว,
กฎกระทรวง ฉบับที่ 8 การขออนุญาตไดมา (ช. 62) 123
มาตรา 87, 88 จํานวนที่ดินที่คนตางดาวมีสิทธิไดมาซึ่งที่ดิน (ช. 63) 125
มาตรา 89 การใชที่ดิน (ช. 63) 125
มาตรา 90, 91, 92 การจําหนายที่ดินที่คนตางดาวไมมีสิทธิถือครอง (1)
(กรณีเลิกใช, ใชผิดวัตถุประสงค, สวนเกินของกิจการใหม
และไมปฏิบัติตามเงื่อนไข) (ช. 64) 127
มาตรา 93, 96 ทวิ, 96 ตรี การไดมาซึ่งที่ดินของคนตางดาวในฐานะทายาท,
การไดมาซึ่งที่ดินโดยการนําเงินมาลงทุน (ช. 65) 128
- กฎกระทรวง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข
การไดมาซึ่งที่ดินเพื่อใชเปนที่อยูอาศัยของคนตางดาว พ.ศ. 2545 (ช. 66) 130
มาตรา 94, 95, 96 กรณีการจําหนายที่ดินที่คนตางดาวไมมีสิทธิถือครอง (2)
(กรณีไดมาโดยไมชอบ, ไมไดรับอนุญาต, คนไทยเปลี่ยนสัญชาติ
และถือแทนคนตางดาว) (ช. 67) 133
การไดมาซึ่งที่ดินของบุคคลสัญชาติไทยที่มีคูสมรสเปนคนตางดาวทั้งที่ชอบและมิชอบ
ดวยกฎหมาย และบุตรผูเยาวของคนตางดาวที่มีสัญชาติไทย (ช. 68) 134

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


หนา

หมวด 9 การกําหนดสิทธิในที่ดินของนิติบุคคลบางประเภท
มาตรา 97, 98, 99 และ 100 นิติบุคคลเสมือนคนตางดาว (ช. 69) 138
หมวด 10 การคาที่ดิน (ยกเลิกแลว)
มาตรา 101, 102 การคาที่ดิน, กฎกระทรวง ฉบับที่ 9 การขออนุญาตคาที่ดิน (ช. 70) 140
หมวด 11 คาธรรมเนียม
มาตรา 103, 103 ทวิ, 104 คาธรรมเนียมตาม ป.ที่ดิน (ช. 71) 142
มาตรา 105, 105 ทวิ, 105 ตรี, 105 จัตวา, 105 เบญจ คณะกรรมการกําหนด
ราคาประเมินทุนทรัพย (ช. 72) 143
มาตรา 105 อัฎฐ การปรับปรุงราคาประเมินทุนทรัพย (ช. 72) 143
มาตรา 105 ฉ, 105 สัตต คณะอนุกรรมการประจําจังหวัด (ช. 73) 145
หมวด 12 บทกําหนดโทษ
มาตรา 107, 108 ตรี – 113 บทกําหนดโทษ (ช. 74) 146
มาตรา 108, 108 ทวิ บทกําหนดโทษผูฝาฝน มาตรา 9 (ช. 75) 148

กฎกระทรวง
กฎกระทรวง ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 (ช. 76) 150
กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2497) การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (ช. 77) 155
กฎกระทรวง ฉบับที่ 43 (พ.ศ. 2537) การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน (ช. 78) 160
กฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2541) แกไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 48 (พ.ศ. 2542),
ฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2548), ฉบับที่ 51 (พ.ศ. 2549), ฉบับที่ 54 (พ.ศ. 2553) (ช. 79) 177

ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ
ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ (ช. 80) 186
ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ วาดวยการจัดที่ดินเพื่อประชาชน (ช. 81) 187
ขั้นตอนการดําเนินการจัดที่ดินผืนใหญ (ช. 82) 194
ขั้นตอนการดําเนินการจัดที่ดินแปลงเล็กแปลงนอย (ช. 83) 195
ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการเพิกถอนและจําหนายใบจอง
ออกจากทะเบียนที่ดิน พ.ศ. 2527 (ช. 84) 196
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515) วาดวยวิธีปฏิบัติ
ในการแจงและออกคําสั่งแกผูฝาฝนมาตรา 9 แหง ป.ที่ดิน อยูกอนวันที่
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ 2515 ใชบังคับ (ช. 85) 200
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน

หนา

ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2529) วาดวย


การควบคุมการจัดที่ดินของทบวงการเมือง (ช. 86) 205
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2529) วาดวย
การสงวนหรือหวงหามที่ดินของรัฐเพื่อใหประชาชนใชประโยชนรวมกัน (ช. 87) 209
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2529) วาดวย
กรณีจาํ เปนสําหรับอนุญาตใหจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเปนการเฉพาะราย
ในทองที่ที่กําหนดใหมีการออกโฉนดที่ดินสําหรับที่ดินที่มีหนังสือ
รับรองการทําประโยชนโดยใชระวางรูปถายทางอากาศ ตาม ม.58 ตรี (ช. 88) 215
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2532) วาดวย
เงื่อนไขการออกโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองการทําประโยชน (ช. 89) 216

อื่น ๆ
ขั้นตอนการดําเนินการออกโฉนดที่ดินเฉพาะราย (ตามมาตรา 59, 59 ทวิ ป.ที่ดิน) (ช. 90) 220
การสอบสวนเปรียบเทียบตามมาตรา 60 ป.ที่ดิน (ช. 91) 222
การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน/แปลงเดียว
หรือหลายแปลง หรือเปนบางสวน (ช. 92) 228
นโยบายและแนวทางแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ (ช. 93) 232
หนาที่และทุนทรัพยในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมของเจาพนักงานที่ดิน
(คําสั่งกรมที่ดิน ที่ 955/2552 ลว. 22 พฤษภาคม 2552) (ช. 94) 235

คําพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับที่ดิน
พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดนิ พ.ศ. 2497
มาตรา 5 การแจงการครอบครอง (ส.ค.1) 239
มาตรา 9 การโอนที่ดินที่ไดรับคํารับรองแลว 242
มาตรา 10 การหวงหามที่ดินกอน ป.ที่ดินใชบังคับ 243
ประมวลกฎหมายที่ดิน
มาตรา 1 คํานิยาม – ความหมาย 244
มาตรา 2 ที่ดินของรัฐ 245
มาตรา 3 การไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ในที่ดิน 246
มาตรา 4 สิทธิครอบครองกอน ป.ที่ดินใชบังคับ 246

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


หนา

มาตรา 4 ทวิ การโอนตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ 249


มาตรา 8 การดูแลและการถอนสภาพที่สาธารณสมบัติของแผนดิน 250
มาตรา 9 การขออนุญาตเกี่ยวกับที่ดินของรัฐ 253
มาตรา 12 สัมปทาน 263
มาตรา 27 ตรี การแจงสิทธิในที่ดิน 264
มาตรา 30 ใบจอง 264
มาตรา 31 การหามโอนหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินที่ออกสืบเนื่อง
มาจากใบจอง (จัดที่ดิน) 265
มาตรา 54 การจําหนายที่ดิน 269
มาตรา 56 หลักเกณฑการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน 269
มาตรา 57 การออกโฉนดที่ดิน (แบบ) 271
มาตรา 58 เจาหนาที่ในการเดินสํารวจ 271
มาตรา 58 ทวิ การเดินสํารวจออกเอกสารสิทธิในที่ดิน 272
มาตรา 59 การออกโฉนดที่ดินเฉพาะราย 276
มาตรา 59 เบญจ หนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมถูกยกเลิก 276
มาตรา 60 การโตแยงสิทธิในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน 277
มาตรา 61 การเพิกถอน – แกไข 283
มาตรา 63 ใบแทน 291
มาตรา 69 ทวิ สอบสวนไกลเกลี่ย 292
มาตรา 72 การขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย 292
มาตรา 73 นิติกรรมโมฆะ, โมฆียะ 293
มาตรา 75 การจดทะเบียนทั้ง 2 ฉบับ (ฉบับสํานักงานที่ดินและฉบับเจาของที่ดิน) 295
มาตรา 77 วิธีการจดทะเบียน 295
มาตรา 78 การขอจดทะเบียนตามมาตรา 1382 ป.พ.พ.
หรือโดยประการอื่นนอกจากนิติกรรม 296
มาตรา 79 การขอแบงแยก 298
มาตรา 81 การรับมรดก 299
มาตรา 82 ผูจัดการมรดก 300
มาตรา 83 อายัด 300
มาตรา 84 การไดมาซึ่งที่ดินทางศาสนา 302

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


หนา

มาตรา 86 การไดมาซึ่งที่ดินของคนตางดาว 302


มาตรา 94 คนตางดาวไดมาซึ่งที่ดินโดยไมชอบดวยกฎหมาย 304
มาตรา 103 คาธรรมเนียม 307
มาตรา 104 ราคาประเมินที่ดิน 307
มาตรา 108,108 ทวิ บทลงโทษผูฝาฝนมาตรา 9 308

“ถูกตอง สุจริต รวดเร็ว”

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497
1 (ช.1)
พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497
มาตรา 1 - 4 การบังคับใชกฎหมาย
พ.ร.บ.ใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497
(ม. 1)

การใชบังคับ พ.ร.บ. การใชบังคับประมวลกฎหมายที่ดิน


ใหใช ป.ที่ดินฯ ที่ตราไวทาย พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ ดิน

ใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 ธ.ค.2497 เปนตนไป


ใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศ
(ม.3)
ราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป
(ม.2)
มีผลให
(ม.4)
ประกาศราชกิจจานุเบกษา
เลม 71 ตอน 78 (ฉบับพิเศษ) ยกเลิก
ลว. 30 พ.ย.2497

พ.ร.บ. 14 ฉบับ และ บรรดาบทกฎหมายในสวน


พ.ร.บ.ใชบังคับเมื่อวันที่ กฎ และขอบังคับอืน่ ๆ
1 ธ.ค.2497

ที่บัญญัติไวแลวใน ป.ที่ดิน หรือ ซึ่งแยงหรือขัดตอบทแหง ป.ที่ดิน

1. พระราชบัญญัติออกตราจองชั่วคราว ซึ่งประกาศเปลี่ยนนามพระราชบัญญัติเมื่อรัตนโกสินทรศก 124


เปนพระราชบัญญัติออกโฉนดตราจอง
2. พระราชบัญญัติการออกโฉนดที่ดิน รัตนโกสินทรศก 127
3. พระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน ฉบับที่ 2
4. พระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน ฉบับที่ 3
5. พระราชบัญญัติแกไขความในมาตรา 25 แหงพระราชบัญญัติการออกโฉนดที่ดิน ร.ศ. 127
6. พระราชบัญญัติวาดวยการหวงหามที่ดินรกรางวางเปลาอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน พุทธศักราช 2478
7. พระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2479
8. พระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พุทธศักราช 2479
9. พระราชบัญญัติควบคุมการไดมาซึ่งที่ดินโดยหางหุนสวนและบริษัทจํากัด เพื่อคากําไร พุทธศักราช 2485
10. พระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 7) พุทธศักราช 2486
11. พระราชบัญญัติวาดวยพนักงานเจาหนาที่จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย พุทธศักราช 2486
12. พระราชบัญญัติวาดวยพนักงานเจาหนาที่จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2492
13. พระราชบัญญัติที่ดินในสวนที่เกี่ยวกับคนตางดาว พุทธศักราช 2486
14. พระราชบัญญัติที่ดินในสวนที่เกี่ยวกับคนตางดาว (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2493

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


2 (ช.2)
มาตรา 5 สิทธิของบุคคลในที่ดินที่มีอยูกอน ป.ที่ดิน
(ที่มาของ ส.ค.1)

ผูที่ครอบครองและทําประโยชนในที่ดิน

กอน วันที่ ป.ที่ดินใชบังคับ


(กอน 1 ธ.ค.2497)

มีหนังสือสําคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินแลว ไมมีหนังสือสําคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน
(กอน ป.ที่ดินใชบังคับ)
เชน มีแตใบเหยียบย่ํา, แบบหมายเลข 3, ใบนํา ,
คือมี ตราจอง, ใบไตสวน (เดิม)
1. โฉนดแผนที่ (ออกตามประกาศ
พระบรมราชโองการใหออกโฉนดที่ดิน ใหแจงการครอบครอง (ส.ค.1)
มณฑลกรุงเกาและกรุงเทพ ร.ศ. 120
และออกตาม พ.ร.บ.ออกโฉนดที่ดิน
ร.ศ.127) พวกแจง ส.ค.1 ไมแจง ส.ค.1
2. โฉนดตราจอง (เดิมเปนตราจอง
ชั่วคราวตาม พ.ร.บ.ตราจองชั่วคราว
ร.ศ. 121 ตอมาเปลี่ยนนาม พ.ร.บ. แจงตอนายอําเภอ ขอออกเอกสารสิทธิเฉพาะราย
เปน พ.ร.บ.ออกโฉนดตราจอง ร.ศ.124) ทองที่ ตาม ม.59 ป.ที่ดินไมได
3. ตราจองที่ตราวา “ไดทําประโยชนแลว”
(ออกตาม พ.ร.บ.ออกโฉนดที่ดิน ภายใน 180 วัน นับแต ขอออกเอกสารสิทธิเฉพาะราย
(ฉบับที่ 6,7) พ.ศ. 2479) วันที่ พ.ร.บ.ใหใช ตาม ม.59 ทวิ ป.ที่ดินได หรือ
ป.ที่ดินใชบังคับ เดินสํารวจตาม ม.58 ทวิ ป.ที่ดิน
มีฐานะเปนโฉนดที่ดิน ตาม ป.ที่ดิน
(ม.1 ป.ที่ดิน) เสียสิทธิหากถูกปาไม
ประกาศเขตทับ
ผลการแจง ส.ค.1 หลักเกณฑและ
ไมตองแจงการครอบครอง
วิธีการแจง ส.ค.1
(ส.ค.1) เปดรับแจง 1 ธ.ค.2497
– 29 พ.ค.2498)
สิทธิที่มีอยูเดิม สิทธิใหม
ตามที่รัฐมนตรี
มท. กําหนด มีการผอนผันใหแจงได
ยังคงอยู ไมกอใหเกิด โดยประกาศใน จนถึงป 2515
สิทธิใหมแก ราชกิจจานุเบกษา
ผูแจง
ตามนัยมาตรา 27
รมต. ประกาศเรื่อง ทวิ ป.ที่ดิน
เชน หากนําที่สาธารณประโยชนมาแจง ส.ค.1
แจงการครอบครอง
ผูแจงก็ไมไดสิทธิ เพราะเดิมไมมีสิทธิอยูแลว
ที่ดิน ลว. 1 ธ.ค.2497 ดู ช. 30

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


3 (ช.3)
มาตรา 6 การรับรองสิทธิของผูด ําเนินการตามกฎหมายเกาอยูแลว

บุคคลที่ครอบครองและทําประโยชนในที่ดิน

กอนวันที่ พ.ร.บ.ออกโฉนดที่ดิน ตั้งแตวันที่ พ.ร.บ.ออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6)


(ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 ใชบังคับ ใชบังคับ เปนตนมา และกอนที่ ป.ที่ดินใชบังคับ
(กอนวันที่ 12 เม.ย.2480) (12 เม.ย.2480 – 30 พ.ย.2497)

โดยชอบดวยกฎหมาย
ดําเนินการโดยชอบดวยกฎหมาย ไมดําเนินการใหชอบดวย
ที่ใชบังคับขณะนั้น กฎหมายที่ใชบังคับอยูในขณะนั้น
บุคคลที่ครอบครอง ผูรับโอนที่ดิน
และทําประโยชน ไดครอบครองที่ดิน ไมขอจับจองเพื่อรับ
โดยชอบดวยกฎหมาย ใบเหยียบย่ําหรือตราจอง

มีสิทธิขอรับโฉนดที่ดินตามบทบัญญัติแหง ป.ที่ดิน
ปฏิบัติตามกฎหมายโดยขอ มีสิทธิรับโฉนดที่ดิน
จับจองที่ดิน และนายอําเภอ
หรือขาหลวงประจําจังหวัด
กรณีมี - โฉนดแผนที่ ไมมีโฉนดแผนที่ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่
สั่งออกใบอนุญาตใหจับจอง
- โฉนดตราจอง หรือโฉนดตราจอง กําหนดในกฎกระทรวง
(เอกสารสิทธิอื่น ๆ)
ใบอนุญาตใหจับจองตาม
ไมตองแจง ส.ค.1
พ.ร.บ. ออกโฉนดที่ดิน
ตองแจง ส.ค.1 ปจจุบัน กฎ ฉบับที่ 43
(ฉบับที่ 6) มี 2 ชนิด
เพราะเปนหนังสือ
สําคัญแสดงกรรมสิทธิ์ ดู ม.5 (ช. 2) เมื่อ ป.ที่ดินใชบังคับ
ที่ดินแลว พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน

แจง ส.ค.1 ไมแจง ส.ค.1


(ม.5)

ดู ม.5 พ.ร.บ.ใหใช
(ช. 2)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


4

ใบเหยียบย่ํา เทียบกับปจจุบัน ตราจอง


(ป.ที่ดิน) คือ ใบจอง

ตองทําประโยชนใหแลวเสร็จ ตองทําประโยชน
ภายใน 2 ป นับแตวันที่ไดรับ ทําประโยชนไมเสร็จ ใหแลวเสร็จภายใน 3 ป
ใบเหยียบย่ํา ตามระยะเวลา นับแตวันที่ไดรับตราจอง

สิ้นสิทธิในที่ดิน
ทําประโยชนแลวตาม สวนที่ยังไมไดทํา ทําประโยชนแลวตามหลักเกณฑ
หลักเกณฑ ประโยชนในที่ดิน
ยื่นคําขอตอเจาพนักงานที่ดิน
ยื่นขอรับรองจากนายอําเภอ

เจาพนักงานที่ดินออก
นายอําเภอใหคํารับรอง โดย

ตราจองที่ตราวา
1. นําที่ดินขึ้นทะเบียน 2. ออกแบบหมายเลข 3 “ไดทําประโยชนแลว”
(ใหสิทธิครอบครอง)

เปนหนังสือแสดงสิทธิ
เมื่อใช ป.ที่ดินแลว ในที่ดิน

เปนที่ดินประเภท ป.ที่ดินใชบังคับแลว
ที่ตองแจง ส.ค.1
(หากแบบหมายเลข 3
ออกกอน ป.ที่ดิน) ไมตองแจง ส.ค.1

ถือเปนโฉนดที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


5 (ช.4)
มาตรา 7 สิทธิของผูไ ดรับอนุญาตใหจับจองที่ดินตามกฎหมายเกา
(ที่มาของแบบหมายเลข 3 หลัง ป.ที่ดนิ )
ที่ดินที่ไดรับอนุญาตใหจับจองไวแลว ที่ดินที่มีใบเหยียบย่ํา
ตาม พ.ร.บ.ออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) หรือตราจอง

เมื่อ ป.ที่ดินใชบังคับแลว
(1 ธ.ค.2497)

ผูไดรับจับจองยังไมไดรับคํารับรองวาไดทําประโยชนแลว

กรณียังไมสิ้นระยะเวลาแหง กรณีสิ้นระยะเวลาแหงการจับจอง
การจับจอง กอน 1 ธ.ค.2497

ใหถือวาผูไดรับอนุญาตยังมีสิทธิ กรณีใบเหยียบย่ําครบ 2 ปไปกอน


ที่จะมาขอคํารับรอง

หากการทําประโยชนในที่ดินอยูในสภาพ
จากนายอําเภอทองที่ได ที่จะขอคํารับรองวาไดทําประโยชนแลว

ระยะเวลาใชสิทธิ ผูไดรับอนุญาตใหจับจองมีสิทธิ

มีสิทธิขอจนกวาจะครบกําหนด 180 วัน นับจากวันสิ้นสุด


ยื่นคําขอตอนายอําเภอ
เวลาแหงการจับจองตาม พ.ร.บ.ออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6)
ระยะเวลายื่น

ภายใน 180 วันนับแตวันที่ ป.ที่ดินใชบังคับ


(180 วัน นับแตวันที่ 1 ธ.ค.2497)

ยื่นเลยกําหนด ยื่นภายในกําหนด
กฎหมายบัญญัติเฉพาะขอคํา
ถือวาที่ดินนั้นปลอดจากการจับจอง นายอําเภอรับรองการทําประโยชน รับรองจากนายอําเภอเทานั้น
และอํานาจของนายอําเภอเกี่ยว
เฉพาะใบเหยียบย่ําเทานั้น จึง
เวนแตนายอําเภอมีคําสั่ง ออกเอกสารสิทธิ
สามารถออกไดเฉพาะแบบ
ผอนผันใหเปนการเฉพาะราย หมายเลข 3 สวนตราจองเปน
ออกแบบหมายเลข 3
อํานาจของเจาพนักงานที่ดิน
ตามจริงแลว แมนายอําเภอจะไมผอนผัน
ผูครอบครองก็สามารถนําที่ดินมาแจง เทากับหนังสือรับรองการทําประโยชน
ส.ค.1 ได ตาม ม.5 พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน (ไมตองแจง ส.ค.1) เพราะออกหลัง ป.ที่ดิน
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
6 (ช.5)
มาตรา 8 การทําประโยชนในที่ดิน และการโอนที่ดินจับจอง

การพิจารณาวาที่ดนิ
ว.1 พิจารณาตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎกระทรวง
ไดทําประโยชนแลวหรือไม

กฎกระทรวง ฉบับที่ 43

ในการพิสูจนสอบสวนการทําประโยชนตองปรากฏวาไดมีการ
ครอบครองและทําประโยชนตามสมควรแกสภาพที่ดินใน
ทองถิ่นตลอดจนสภาพของกิจการที่ไดทําประโยชน (ขอ 10)

ที่ดินที่ไดรับอนุญาต แตยังไมไดรับคํารับรองจาก ผูไดรับอนุญาตจะโอน


ว.2 ใหจับจอง นายอําเภอวาไดทํา ไปยังผูอื่นไมได
ประโยชนแลว

เวนแตจะตกทอดโดยทางมรดก
ทั้งที่ดินที่รับไดอนุญาตให
จับจองไปแลวไมวากอน
หรือหลังใช ป.ที่ดิน หมายเหตุ มุงปองกันมิใหมีการโอนที่ดินที่รัฐ
อนุญาตใหจับจองไปแลวเปลี่ยนมือกันไดงาย ๆ
อีกทั้งที่ดินดังกลาวยังถือเปนของรัฐอยู

มาตรา 9 การโอนสิทธิครอบครอง (ช.6)

ที่ดิน

1. โฉนดที่ดิน ที่ดินที่มีหนังสือสําคัญ ที่ดินที่ยังไมมีหนังสือ เชน ใบเหยียบย่าํ ตราจอง


2. โฉนดแผนที่ แสดงกรรมสิทธิ์ สําคัญแสดงกรรมสิทธิ์ ส.ค.1 ใบนํา
3. โฉนดตราจอง
4. ตราจองที่ตราวา
สามารถโอนได นายอําเภอรับรองวา นายอําเภอยังไมไดรับรอง
“ไดทําประโยชนแลว”
ไดทําประโยชนแลว วาไดทําประโยชนแลว

โดยออกเปน ไมสามารถโอนได

หนังสือรับรองการทําประโยชน กรณี มรดกไมถือ


เปนการโอนตาม
สามารถโอนได มาตรา 9

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


7 (ช.7)
มาตรา 10 รับรองการหวงหามที่ดินตามกฎหมายแลว

ที่ดินที่ไดหวงหามไว

เพื่อประโยชนตาม

พ.ร.บ.วาดวยการหวงหามที่ดิน กฎหมายอื่นอยูก อน เชน หวงหามตาม


รกรางวางเปลาอันเปนสาธารณ หรือ วันที่ ป.ที่ดินใช - พ.ร.บ.ลักษณะปกครองทองที่
สมบัติของแผนดิน พ.ศ. 2478 บังคับ พ.ศ. 2457
- พ.ร.บ.ออกโฉนดที่ดิน
ร.ศ.127
- พระบรมราชโองการของพระ
คงเปนที่หวงหามตอไป
เจาแผนดินในสมัยสมบูรณาญา
สิทธิราชซึ่งถือเปนกฎหมาย

พ.ร.บ.นี้ถูกยกเลิกโดย
ม.4(6) แหง พ.ร.บ.ใหใช
ป.ที่ดิน พ.ศ. 2497

(1) กอนวันที่ 8 เม.ย.2478 (กอน พ.ร.บ.วาดวยการหวงหามที่ดินรกรางฯ พ.ศ. 2478 ใชบังคับ) ไมได


กําหนดหลักเกณฑวาการหวงหามจะตองทําอยางไร ดังนั้น เพียงประกาศหรือคําสั่งของทางราชการ
หรือของผูปกครองทองที่ก็ถอื วาหวงหามแลว
(2) ชวงวันที่ 8 เม.ย.2487 – 30 พ.ย.2497 (ระหวางใชบังคับ พ.ร.บ.วาดวยการหวงหามที่ดินรกรางฯ
พ.ศ. 2478 – กอนใช ป.ที่ดิน) ตองทําเปนพระราชกฤษฎีกาสงวนหวงหามเทานั้น
(3) ตั้งแตวันที่ 1 ธ.ค.2497 – ปจจุบัน (ตั้งแตใช ป.ที่ดิน เปนตนมา) อํานาจหวงหามเปนของ
คณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


8 (ช.8)
มาตรา 11 การนําวิธีรังวัดเกาใชกับหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์รุนเกา

ในเขตทองที่ที่ออก

ออกตามกฎหมายเกา
หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์
กอน ป.ที่ดินใชบังคับ

โฉนดตราจอง และ ตราจองที่ตราวา “ไดทําประโยชนแลว”

เมื่อ ป.ที่ดินใชบังคับแลว
(วันที่ 1 ธันวาคม 2497)

ยังไมไดเปลี่ยนเปนโฉนด เปลี่ยนเปนโฉนดที่ดิน
ที่ดิน ตาม ป.ที่ดิน ตาม ป.ที่ดินแลว

- โฉนดตราจอง ใชตามวิธีรังวัดและการออกหนังสือแสดงสิทธิ
- ตราจองที่ตราวา “ไดทําประโยชนแลว” ในที่ดินตาม ป.ที่ดิน

วิธีการรังวัดและการออกหนังสือสําคัญ
ป.ที่ดิน
หมวด 4 การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ใหคงใชบทกฎหมาย (เดิม) วาดวยการนั้นเฉพาะ หมวด 5 การรังวัดที่ดิน
ในสวนที่บัญญัติถึงวิธีการรังวัดและการออก
หนังสือสําคัญตอไป

เชน การรังวัดแบงแยกตาง ๆ
การออกโฉนดตราจอง, ตราจองที่ตราวา
“ไดทําประโยชนแลว” แปลงยอย

จนกวาจะออกโฉนดที่ดินตาม ป.ที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


9 (ช.9)
มาตรา 12 นิตกิ รรมที่ทําไวกอน ป.ที่ดิน (การคุมครองการถือสิทธิในที่ดิน)

บุคคลใดจะไดมาซึ่งที่ดิน

โดยมี

สัญญาจะซื้อจะขาย หรือ สัญญาเชาซื้อ

ทําไวกอน พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน ใชบังคับ


(กอน 1 ธันวาคม 2497)

ถาไดจดแจงสัญญานั้น ถาไมจดแจงสัญญา

ตามหลักเกณฑและ ตอ ไมถือวามีสิทธิในที่ดินกอน ป.ที่ดิน


วิธีการที่รัฐมนตรี พนักงานเจาหนาที่
กําหนด ตาม ม.71 ป.ที่ดิน
อยูภายใตบังคับของ ม.34 (การ
กําหนดสิทธิในที่ดิน)
คําสั่งที่ 1379/2497 ภายใน 120 วัน นับแตวันที่ (ปจจุบันยกเลิกแลว)
ลว. 1 ธันวาคม 2497 พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดินใชบังคับ
(1 ธ.ค.2497)

เหตุผลของมาตรานี้คือ
เมื่อไดมีการซื้อขายตามสัญญา
เพื่อใหผูทําสัญญาจะซื้อจะขายหรือสัญญา
เชาซื้อไวกอ น ป.ทีด่ ินใชบังคับแลวมาโอน
ภายหลังวันที่ 1 ธ.ค.2497 สามารถรับโอนที่ดิน
ถือเสมือนวาผูซื้อหรือผูเชาซื้อ
ได แมจะมีจํานวนเกินกวาที่ ม.34 ป.ที่ดิน
มีสิทธิในที่ดินอยูกอนวันที่
(ปจจุบันยกเลิกแลว) กําหนดใหมี (การกําหนด
ป.ที่ดินใชบังคับ
สิทธิในที่ดิน) เพราะเมื่อจดแจงแลว กฎหมาย
ใหถือวามีสิทธิในที่ดินอยูกอน ป.ที่ดิน ใชบังคับ
ไดรับผลจาก ม.36 ที่บัญญัติใหการกําหนดสิทธิ
ในที่ดินตาม ม.34 มิใหกระทบกระเทือนแกผูที่
มีสิทธิในที่ดินอยูแลวกอน ป.ที่ดิน ใชบังคับ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


10
(ช.10)
มาตรา 13 การรับรองสิทธิในที่ดินกรณีขายฝากไวกอน ป.ที่ดินใชบงั คับ

บุคคลใด

ขายฝากที่ดิน

โดยกระทําการขายฝากที่ดินไว

กอนวันที่ พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดินใชบังคับ


(กอนวันที่ 1 ธ.ค.2497)

1 ธ.ค.2497

เวลาไถถอน

ไดไถถอนเมื่อ ป.ทีด่ ินใชบังคับแลว


(ตั้งแตวันที่ 1 ธ.ค.2497)

ผลเกี่ยวกับสิทธิในที่ดิน

ถือเสมือนวาผูขายฝากนั้นเปนผูมีสิทธิ
ในที่ดินอยูกอนวันที่ ป.ที่ดินใชบังคับ

เหตุผลของมาตรานี้
เพื่อมิใหอยูในบังคับของ ม.34 ป.ที่ดิน
(การกําหนดสิทธิในที่ดิน) เชนเดียวกับ ม.12 (ช.9)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


11 (ช.11)
มาตรา 14 สิทธิของผูข อจับจองที่ดินกอน ป.ที่ดิน
(ที่มาของใบเหยียบย่ําหลัง ป.ที่ดิน)

บุคคลใดไดขอจับจองที่ดิน เปนการขอจับจองตาม พ.ร.บ.


ออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6)

ไวตอพนักงานเจาหนาที่

กอนวันที่ พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดินใช


บังคับ (กอน 1 ธ.ค.2497)
ถาขอจับจองกับนายอําเภอ หาก
ไดรับอนุญาตใหจับจองจะไดรับ
ใบเหยียบย่ํา
แตยังไมไดรับอนุญาต
จน ป.ที่ดินใชบังคับแลว
ถาขอจับจองกับขาหลวงประจํา
จังหวัด หากไดรับอนุญาตให
ผลตามกฎหมายเปนอันยกเลิก เมื่อไดมีการใชบังคับ พ.ร.บ. จับจองจะไดรับตราจอง
พ.ร.บ.ออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) ใหใช ป.ที่ดินแลว

พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน ม.14

ใหอํานาจนายอําเภอ ไมใชอํานาจกับขาหลวงประจําจังหวัด

มีอํานาจดําเนินการตาม พ.ร.บ.ออกโฉนดที่ดิน ดําเนินการอนุญาตเปน


(ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 ตอไปจนถึงที่สดุ ตราจองตอไปไมได

ที่ดินอยูในหลักเกณฑอนุญาตใหจับจองได ที่ดินไมอยูในหลักเกณฑ

ออกใบเหยียบย่ําให ไมอนุญาตใหจับจอง

ไมตองแจง ส.ค.1 เพราะออกหลัง ป.ทีด่ ินใชบังคับ


เปนการออกตาม พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


12 (ช.12)
มาตรา 15 อํานาจผูรักษาการ พ.ร.บ.

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

เปนผูรักษาการ มีอํานาจ

พ.ร.บ.ใหใช และ ประมวลกฎหมายที่ดิน


ป.ที่ดิน พ.ศ. 2497

1. แตงตั้งเจาพนักงานที่ดิน 2. แตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ 3. ออกกฎกระทรวง

หมายถึง เพื่อปฏิบัตกิ ารใหเปนไปตาม


แตงตั้งพนักงานอืน่ ที่ไมใชเจาพนักงาน พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน และ
ซึ่งเปนผูปฏิบัตกิ ารตาม ป.ที่ดินเปน ป.ที่ดิน
ผูปฏิบัติตาม ป.ที่ดนิ ได

กฎกระทรวง
1. กรณี แตงตั้งเจาพนักงานที่ดินในสํานักงานที่ดินจังหวัดและสาขา คําสั่ง
กระทรวงมหาดไทย ที่ 66/2552 ลว. 18 ก.พ.2552 แตงตัง้ บุคคลตอไปนี้
เปนเจาพนักงานที่ดิน มีผลใชบังคับได
(1) เจาพนักงานที่ดินจังหวัด หรือเจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา
(2) นักวิชาการที่ดิน ตั้งแตระดับปฏิบัติการขึ้นไปในฝายทะเบียน
(3) เจาพนักงานที่ดิน ตั้งแตระดับปฏิบัติงานขึ้นไปในฝายทะเบียน เมื่อไดประกาศใน
(4) นายชางรังวัด ตั้งแตระดับชํานาญงานขึ้นไปในฝายรังวัด ราชกิจจานุเบกษาแลว
(5) ขาราชการพลเรือนสามัญประเภทวิชาการ ตั้งแตระดับปฏิบัติการขึ้นไป
หรือประเภททั่วไป ตั้ ง แต ร ะดั บ ปฏิ บั ติ ง านขึ้ น ไป ซึ่ ง อธิ บ ดี ก รมที่ ดิ น มีผลในวันประกาศ
แต ง ตั้ ง ให ทํา หน า ที่ ใ นตํา แหน ง ตาม (2) (3) และ (4) เปนการชั่วคราว ราชกิจจานุเบกษา
2. กรณีเดินสํารวจ ไดแตงตั้งผูอํานวยการศูนยเดินสํารวจเปนเจาพนักงานที่ดิน
(เพื่อใหเปนเจาพนักงานที่ดินซึ่งอธิบดีกรมที่ดินสามารถใชอํานาจตาม ม.57
แหง ป.ที่ดิน มอบหมายใหเปนผูลงลายมือชือ่ ในการออกหนังสือแสดงสิทธิ
ในที่ดินได)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


ประมวลกฎหมายที่ดิน
13 (ช.13)
ประมวลกฎหมายที่ดิน
หมวดที่ 1
บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
มาตรา 1 คํานิยาม

ที่ดิน พื้นที่ดินทั่วไป และใหหมายความรวมถึง ภูเขา หวย หนอง คลอง บึง บาง


ลําน้ํา ทะเลสาบ เกาะ และที่ชายทะเลดวย

สิทธิในที่ดิน กรรมสิทธิ์ และใหหมายความรวมถึงสิทธิครอบครองดวย

ใบจอง หนังสือแสดงการยอมใหเขาครอบครองที่ดินชั่วคราว

หนังสือรับรอง หนังสือคํารับรองจากพนักงานเจาหนาที่วาไดทําประโยชนในที่ดินแลว
การทําประโยชน (น.ส.3, น.ส.3 ก., น.ส.3 ข.)

หนังสือแสดงการสอบสวนเพื่อออกโฉนดที่ดิน และใหหมายความรวมถึง
ใบไตสวน
ใบนําดวย
(น.ส.5)
คํานิยาม หนังสือสําคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน และใหหมายความรวมถึงโฉนดแผนที่
โฉนดที่ดิน
โฉนดตราจอง และตราจองที่ตราวา “ไดทําประโยชนแลว”

1. โฉนดที่ดิน ออกตาม ป.ที่ดิน


2. โฉนดแผนที่ ออกตามประกาศออกโฉนดที่ดินฯ ร.ศ.120 และ ตาม พ.ร.บ.
ออกโฉนดฯ ร.ศ. 127
3. โฉนดตราจอง ออกตาม พ.ร.บ.ออกตราจองชั่วคราว ร.ศ. 121 ตอมา
เปลี่ยนชือ่ เปน พ.ร.บ.ออกโฉนดตราของ ร.ศ.124
4. ตราจองที่ตราวา “ไดทําประโยชนแลว” ออกตาม พ.ร.บ.ออกโฉนดที่ดิน
(ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479

การรังวัดปกเขต และทําเขต จด หรือคํานวณการรังวัด เพื่อใหทราบ


การรังวัด
ที่ตั้งแนวเขตที่ดิน หรือทราบที่ตั้งและเนื้อที่

ขั้นตอนการรังวัด
1. มีการวัดระยะ (รังวัด) แนวเขตที่ดิน
2. มีการปกเขตที่ดิน
3. มีการทําเขต จด ใหรูวาที่ดินจดเขตที่ดินของใคร
4. คํานวณเนื้อที่

หมวด 5 การรังวัด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


14

การไดมาและจําหนายไปซึ่งที่ดินเพื่อประโยชนในกิจการคาหากําไร
การคาที่ดิน โดยวิธีขาย แลกเปลี่ยน หรือใหเชาซื้อ
(ยกเลิก) (ยกเลิก “การคาที่ดิน” ตาม พ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติม ป.ที่ดิน (ฉบับที่ 12)
พ.ศ. 2551)

หมวด 10 การคาที่ดิน
(ยกเลิก)

ทบวงการเมือง หน ว ยราชการที่ มีฐ านะเป น นิติบุคคลของราชการสวนกลาง


ราชการสวนภูมิภาค หรือราชการสวนทองถิ่น
(กําลังแกไขคํานิยามใหกวางขึ้นเพื่อรองรับหนวยงานราชการใหม ๆ)

คณะกรรมการ คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ

หมวด 2 การจัดที่ดินแหงชาติ

พนักงาน เจาพนักงานซึง่ เปนผูปฏิบัติการตามประมวลกฎหมายนี้ และ


พนักงานอื่นซึง่ รัฐมนตรี (รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย)
เจาหนาที่
แตงตั้งใหปฏิบัติการตามประมวลกฎหมายนี้

อธิบดี อธิบดีกรมที่ดิน

รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมาย
รัฐมนตรี
ที่ดิน และตามประมวลกฎหมายนี้ (ป.ที่ดิน)

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

ม.15 พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน


(ดู ช.12)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


15
(ช.14)
มาตรา 2 - 4 ทวิ การมีกรรมสิทธิ์ และการรับรองสิทธิครอบครองในทีด่ ิน

ตั้งแต 1 ธ.ค.2497
(ตั้งแต ป.ที่ดินใชบังคับ)

ที่ดิน

กรรมสิทธิ์ในที่ดิน สิทธิการครอบครองในที่ดิน
(ม.4)

ที่ไมไดตกเปนกรรมสิทธิ์ ที่ตกเปนกรรมสิทธิ์
ภายใตบังคับมาตรา 6 ดู มาตรา 6
ของบุคคลใด ของบุคคลหรือบุคคลใด
(การทอดทิ้ง) (ช. 15)
(ม.2) (ม.3)

บุคคลใดมีสิทธิครอบครอง
ใหถือเปนของรัฐ บุคคลนั้นจะมีกรรมสิทธิ์ใน
ในที่ดินกอนวันที่ 1 ธ.ค.2497
ที่ดินไดโดย
(กอน ป.ที่ดินใชบังคับ)

(1) ไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ตามบทกฎหมายกอน (2) ไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ตามบท คงมีสิทธิครอบครอง


วันที่ ป.ที่ดินใชบังคับหรือไดมาซึ่งโฉนด กฎหมายวาดวยการจัดที่ดินเพื่อการ ตอไปและคุมครอง
ที่ดินตาม ป.ที่ดิน ครองชีพหรือกฎหมายอื่น
ตลอดถึงผูรับโอน

หมายเหตุ เชน
ไดกรรมสิทธิ์ตาม ก.ม.กอนวันที่ ป.ที่ดิน - พ.ร.บ.จัดที่ดินเพื่อการครองชีพ หากทอดทิ้งไมทํา
ใชบังคับ คือ มีหนังสือแสดงกรรมสิทธิใ์ น พ.ศ. 2511 ประโยชนในที่ดิน
ที่ดินแลว ไดแก 1. โฉนดแผนที่ 2. โฉนดตรา - ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ตาม ม.6 ที่ดินจะตก
จอง และ 3. ตราจองที่ตราวา “ไดทํา (ม.1382) การจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ เปนของรัฐและสิทธิ
ประโยชนแลว” ในที่ดิน ครอบครองของผู
ทอดทิ้งยอมหมดไป

นับตั้งแตวันที่ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 96 ใชบังคับ


(ตั้งแต 4 มีนาคม 2515)

ปจจุบัน ม.4 ทวิ ถือเปนการกําหนดแบบของการทํา การโอน


นิติกรรม หากไมทําตามแบบยอมเปนโมฆะ ตาม ป.พ.พ. (ม.4 ทวิ)
หมายเหตุ การโอนสิทธิครอบครองอาจจะสมบูรณโดยการ
สงมอบ ตาม ป.พ.พ. ก็ได แตหากจะโอนตอไปโดยใหมีชื่อ กรรมสิทธิ์ในที่ดิน สิทธิครอบครองในที่ดิน
ในหนังสือรับรองการทําประโยชนกต็ อ งมาจดทะเบียนให
ปรากฏชื่อกอน มิฉะนั้น จะโอนตอไปไมได ตามหลัก
มีโฉนดที่ดิน มีหนังสือรับรองการทําประโยชน
ป.พ.พ. (ม.1299)

ตองทําเปนหนังสือ และจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
16 (ช.15)
มาตรา 5 – 6 เวนคืนสิทธิในที่ดินใหรัฐและการทอดทิ้งไมทําประโยชน
ผูมีสิทธิในที่ดิน ทั้งประเภทมีกรรมสิทธิ์และ
ประเภทมีสิทธิครอบครอง

มีความประสงคเวนคืนสิทธิในที่ดิน ทอดทิ้งไมทําประโยชนในที่ดิน หรือปลอย


โดยสมัครใจ (ม.5) ที่ดินใหเปนที่รกรางวางเปลา
(ม.6)
ใหแกรัฐ
นับตั้งแตวันที่ประกาศของ ตั้งแตวันที่
คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ใชบังคับ 4 มี.ค.2515
โดยวิธีการ

ยื่นคําขอเวนคืน ระยะเวลาทอดทิ้งฯ

ดู ช. 53 พนักงานเจาหนาทีต่ าม ม.71
โฉนดที่ดิน หนังสือรับรองการทําประโยชน

กรณีเจาของมีกรรมสิทธิ์ กรณีเจาของมีสิทธิครอบครอง เกิน 10 ป ติดตอกัน เกิน 5 ป ติดตอกัน

เปนโฉนดที่ดิน เปนหนังสือรับรองการทําประโยชน
ถือวาเจตนาสละสิทธิในที่ดิน
หรือ ส.ค.1

เฉพาะสวนที่ทอดทิ้ง ที่ดินยังไมตก
ยื่นตอ ทองที่ที่ยกเลิกอํานาจ ทองที่ที่ยังไมยกเลิก ไมทําประโยชนหรือที่ เปนของรัฐ
นายอําเภอฯ แลว อํานาจนายอําเภอฯ ปลอยใหรกรางวางเปลา ทันที

เจาพนักงานที่ดิน ยื่นตอ ยื่นตอ วิธีการดําเนินการ ตองดําเนินการ


ใหตกเปนของรัฐ
ณ สํานักงานที่ดินจังหวัด นายอําเภอหรือปลัดอําเภอ
หรือสาขาที่ที่ดินนั้นตั้งอยู ผูเปนหัวหนาประจํากิ่ง อธิบดีกรมที่ดิน
อําเภอทองที่ที่ที่ดินตั้งอยู
(ปจจุบันไมมีกิ่งอําเภอแลว) ยื่นคํารองตอศาล

ไมตองเสียคาธรรมเนียม ศาลพิจารณาแลวทอดทิ้งฯ ศาลพิจารณาแลว


ตามหลักฐานของ ก.ม. จริง ยังฟงไมไดวาทอดทิ้งฯ
1. หากทอดทิ้งฯ ทั้งแปลง ศาลจะสั่งเพิกถอนทั้งแปลง
2. หากทอดทิ้งฯ บางสวน ศาลจะสั่งเพิกถอนบางสวน ศาลสั่งเพิกถอนหนังสือ ศาลสั่งยกคํารอง
แสดงสิทธิในที่ดิน
วิธีการเพิกถอนของเจาพนักงานที่ดิน
ใหที่ดินนั้นตกเปนของรัฐ
เปนไปตามระเบียบกรมที่ดินวาดวยการ
เพิกถอนตามคําสั่งศาล ที่ออกตาม ม.61 ว.8 นํามาดําเนินการตาม ป.ที่ดินตอไป

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


17 (ช.16)
มาตรา 8 ว.1 การดูแลรักษาสาธารณสมบัตขิ องแผนดิน
ที่ดินสาธารณสมบัติของแผนดิน ที่ดินที่เปนทรัพยสินของแผนดิน

มีกฎหมาย ไมมีกฎหมายกําหนดเปนอยางอื่น เชน มาตรา 1309 ป.พ.พ. เกาะที่เกิด


กําหนดไวเฉพาะ ในทะเลสาบหรือในทางน้ําหรือในเขต
อํานาจหนาที่ในการ นานน้ําของประเทศก็ดี เปนทรัพยสิน
- ที่ปาไม กรมปาไม ของแผนดิน
- ที่อุทยานแหงชาติ
กรมอุทยาน ดูแลรักษา และ ดําเนินการคุมครองปองกัน
แหงชาติ สัตวปา และพันธุพชื มีกฎหมายเฉพาะประเภท
- ที่แมน้ํา กรมเจาทา
- ที่ทางหลวง กรมทางหลวง เปนของอธิบดีกรมที่ดิน ใชอํานาจไดตามควรแกกรณี
- ที่ราชพัสดุ กรมธนารักษ
- ที่ ส.ป.ก. ส.ป.ก. อํานาจของอธิบดีกรมที่ดินนี้
- ที่นิคมสรางตนเอง
รัฐมนตรีฯ มหาดไทยจะมอบ มอบใหมีอํานาจหนาที่ดูแลรักษาและ
กรมพัฒนา
ใหทบวงการเมืองอืน่ ก็ได ดําเนินการคุมครองปองกัน
สังคมและสวัสดิการ

มาตรา 1304 ป.พ.พ. คําสั่งกรมทรวงมหาดไทย ที่ 505/2552 ลว. 20 พ.ย.2552 เรื่อง มอบหมายใหทบวง
สาธารณสมบัติของแผนนั้น รวม การเมืองอื่นมีอาํ นาจหนาที่ดูแลรักษาและดําเนินการคุมครองปองกันที่ดินอันเปน
ทรัพยสินทุกชนิดของแผนดินซึ่ง สาธารณสมบัติของแผนดินหรือทรัพยสินของแผนดิน
ใชเพื่อสาธารณประโยชนหรือสงวนไว (เปนการมอบเฉพาะที่ดินที่เปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ไมมีกฎหมายกําหนด
เพื่อประโยชนรวมกัน เชน ไวเปนอยางอื่นตาม มาตรา 1304 (1) แหง ป.พ.พ. เทานั้น)
(1) กรุงเทพมหานคร ภายในเขตกรุงเทพมหานคร
(2) เมืองพัทยา ภายในเขตเมืองพัทยา
(1) ที่ดินรกรางวางเปลา และที่ดินซึ่งมี
(3) เทศบาล ภายในเขตเทศบาล
ผูเวนคืน หรือทอดทิ้ง หรือกลับมาเปน
(4) องคการบริหาร ภายในเขต อบต. นัน้ ๆ
ของแผนดินโดยประการอื่น ตาม
สวนตําบล (อบต.)
กฎหมายที่ดิน
สําหรับ อบจ. อาจสนับสนุนประสานและใหความรวมมือกับองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นตาม (2)(3) และ (4) ในการดูแลรักษาและดําเนินการคุมครองปองกัน
ที่ดินดังกลาวขางตน ฯลฯ

(2) ทรัพยสินสําหรับพลเมืองใช เชน


มีกฎหมายกําหนด - ที่สาธารณประโยชน เปนอํานาจนายอําเภอ และ
รวมกัน เปนตนวา ที่ชายตลิ่ง ทางน้ํา อํานาจหนาที่เฉพาะ องคกรปกครองสวนทองถิ่น
ทางหลวง ทะเลสาบ ไวแลว ตาม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองทองที่ พ.ศ. 2457
- ทางหลวง เปนอํานาจของผูอาํ นวยการทางหลวง
ตาม พ.ร.บ. ทางหลวง พ.ศ. 2535
- ทางน้ํา เปนอํานาจของกรมเจาทา ตาม พ.ร.บ.
(3) ทรัพยสินใชเพือ่ ประโยชนของ การเดินเรือในนานน้ําไทย พ.ศ. 2456
แผนดินโดยเฉพาะ เปนตนวา ปอม มีกฎหมายกําหนด
และโรงทหาร สํานักราชการ อํานาจหนาที่เฉพาะ ที่ดินถือเปนที่ราชพัสดุ เปนอํานาจของกระทรวง
บานเมือง เรือรบ อาวุธยุทธภัณฑ ไวแลว การคลัง ตาม พ.ร.บ.ที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


18 (ช.17)
มาตรา 8 ว. 2, 3 การถอนสภาพที่ดินสาธารณสมบัติของแผนดิน

กฎหมายพิเศษบางฉบับ เชน พ.ร.บ. ที่ดินสาธารณสมบัติของแผนดิน อาจถูกถอนสภาพหรือโอน


การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518, (ม.8 ว. 2) ไปเพื่อใชประโยชนอยางอื่น
พ.ร.บ.จัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. หรือนําไปจัดเพื่อประชาชน
2517 ใหถือวามีผลเปนการถอนสภาพการ
เปนสาธารณสมบัตขิ องแผนดินไดโดยผล
ของกฎหมาย และไมตองมาถอนสภาพ
ตาม ป.ที่ดิน อีก

ที่ดินสําหรับพลเมืองใชรวมกัน ที่ดินที่ใชเพื่อประโยชน ที่ดินที่ไดหวงหามหรือสงวนไวตาม


(ม.8 (1)) ของแผนดินโดยเฉพาะ ความตองการของทบวงการเมืองใด
(ม.8 (2)) (ม.8 ว.2))

คือ ที่ดินตาม ม.1304(2) คือ ที่ดินตาม ม.1304(3)


ป.พ.พ. ป.พ.พ.

ผูขอถอนสภาพจะตองเปน เลิกใชเพือ่ ประโยชนของ ทบวงการเมืองนั้นเลิกใชหรือไม


ทบวงการเมือง (ตาม ป.ที่ดิน) แผนดินโดยเฉพาะ ตองการหวงหาม หรือสงวนตอไป
หรือรัฐวิสาหกิจหรือเอกชน

ถอนสภาพโดย
สภาพที่ดินที่ขอถอน

ทําเปน

ยังไมเปลี่ยนสภาพ เปลี่ยนสภาพไปแลว
(พลเมืองยังใชประโยชน (พลเมืองเลิกใชแลว) พระราชกฤษฎีกา
รวมกันอยู)

ที่ดินที่ถอนสภาพแลวขางตน
ผูขอถอนสภาพ และมิไดตกไปเปน
(ทบวงการเมือง หรือ กรรมสิทธิ์ของผูใด
รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน) ตามกฎหมายอื่น

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


19

ตองจัดหาที่ดินมาให วิธีการถอนสภาพ คณะรัฐมนตรีจะ กรณีโอนตอไป ถาจะนําไปจัด


พลเมืองใชรวมกันแทนกอน มอบหมายใหทบวง ยังเอกชน เพื่อประชาชน
(ไมจําเปนตองเนื้อที่เทากัน การเมืองซึ่งมีหนาที่ ตาม ป.ที่ดิน หรือ
ทําเปน
สําคัญตรงการใชประโยชน กฎหมายอื่น
เปนหลัก)
พระราชกฤษฎีกา เปนผูใชหรือ
จัดหาประโยชน การโอนตอง ตองทําเปน
กระทําเปน
วิธีการถอนสภาพ
หรือโอน พระราชกฤษฎีกา

พระราชบัญญัติ
ทําเปน

ดู ม.8 ทวิ ตอ เชน โอน


พระราชบัญญัติ
(ช.18) แลกเปลี่ยน
กับประชาชน
กรณีผูขอเปนรัฐวิสาหกิจหรือ
เอกชน จะตองเปนการถอน เชน – คณะรัฐมนตรี – อาจให
สภาพเพือ่ ที่จะนําไปจัดหา กระทรวงศึกษาธิการเปน
ผลประโยชนตามมาตรา 10, 11 ผูใชที่ดินดังกลาวตัง้ โรงเรียน
แหง ป.ที่ดิน - คณะรัฐมนตรีมอบใหกรมที่ดิน
จัดหาผลประโยชนในที่ดิน
ตาม ม.10 ป.ที่ดิน

การตรา พ.ร.บ. หรือพระราชกฤษฎีกาขางตน


ตองมีแผนที่แสดงเขตที่ดินแนบทายดวย
(ม.8 ว.3)

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ
การถอนสภาพ การจัดขึ้นทะเบียน และการจัดหา
ระเบียบทางปฏิบัติ
ผลประโยชนในที่ดินของรัฐ ตามประมวลกฎหมายที่ดิน
พ.ศ. 2550

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


20 (ช.18)
มาตรา 8 ทวิ การนําที่ดินของรัฐขึ้นทะเบียน
ประกอบกับ (ช
กฎกระทรวง ฉบับที่ 25
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวย การนําที่ดินของรัฐขึ้นทะเบียน หมายถึง การที่ทบวงการเมือง
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการถอนสภาพ (ม.8 ทวิ) ขอนําที่ดินของรัฐขึ้นทะเบียนเพื่อ
การจัดขึ้นทะเบียน และการจัดหา ใชประโยชนในราชการ
ผลประโยชนในที่ดินของรัฐ ตาม
หลักเกณฑตองเปน
ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2550
กรณี มี พ.ร.บ.หรือ พ.ร.ฎ. ถอนสภาพให
ทบวงการเมืองใชประโยชน โดยมีเหตุผล
ที่ดินของรัฐ ชัดเจนเพื่ออะไรแลว ไมตองนํามาขึ้น
ทะเบียนตาม ม.8 ทวิ ป.ที่ดินอีก เพราะ
ประเภท กลายเปนที่ราชพัสดุฯ ทันทีที่ถอนสภาพ

1.ที่ดินของรัฐซึ่งมิไดมีบุคคลใดมีสิทธิครอบครอง หรือ 2. ที่ดินสําหรับพลเมืองใชรวมกันซึ่งได


ถอนสภาพตาม ม.8(1) แลว

คือ ที่ดินสาธารณสมบัติของแผนดิน
คือ ที่ดิน ตาม ม.1304 (2) ป.พ.พ.
ตาม ม.1304 (1) ป.พ.พ.
ที่ถูกถอนสภาพแลว

ไดแก ที่ดินรกรางวางเปลา และที่ดินซึ่งมีผูเวนคืน (ตาม การถอนสภาพที่ดนิ ดู มาตรา 8(1)


ม.5 ป.ที่ดิน) หรือทอดทิ้ง (ตาม ม.6 ป.ที่ดิน) หรือกลับมา (ช.17)
เปนของแผนดินโดยประการอื่นตามกฎหมายที่ดิน

ที่ดินดังกลาว

รัฐมนตรี (มหาดไทย) มีอํานาจ

นําจัดขึ้นทะเบียน
ทบวงการเมือง = หนวยราชการที่มี
ฐานะเปนนิติบุคคลของราชการ
ขึ้นทะเบียนที่ดินไดเทาที่รัฐมนตรี เพื่อใหทบวงการเมือง
สวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค หรือ
(มหาดไทย) เห็นวาจําเปนแกการ ใชประโยชนในราชการ
ราชการสวนทองถิน่
ใชประโยชนในราชการของทบวง
(ม.1)
การเมืองที่ขอใหจัดขึ้นทะเบียน
วิธีการขอขึ้นทะเบียน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


21

ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนด การดําเนินการกอนขึ้นทะเบียน
(ม.8 ทวิ ว.2)

กฎกระทรวง ฉบับที่ 25
มีการรังวัดทําแผนที่ และ ผูวาราชการจังหวัด (ทองที่)

วิธีขอขึ้นทะเบียน
ประกาศการจัดขึ้นทะเบียนให
ราษฎรทราบ
ทบวงการเมืองผูขอขึ้นทะเบียน

ชี้แจงเหตุผลความจําเปนและสงแผนที่ มีกําหนด 30 วัน


แสดงอาณาเขตบริเวณที่ดินโดยสังเขป

ปดในที่เปดเผย ณ (4 แหง)
1. สํานักงานที่ดิน (สํานักงานที่ดิน
ตออธิบดีกรมที่ดิน จังหวัด/สาขา)
2. ที่วาการอําเภอหรือที่วาการกิ่งอําเภอ
3. ที่ทําการกํานัน และ
เมื่อไดรับคําขอแลว
4. ในบริเวณที่ดินนั้น
อธิบดีกรมที่ดินตองดําเนินการ

ทําการสอบสวนขอเท็จจริง

ประกาศครบกําหนด

อธิบดีกรมที่ดิน เสนอตอ รัฐมนตรี (มหาดไทย)

เพื่อมีคําสั่งใหขึ้นทะเบียนหรือไม เพียงใด ตามที่รัฐมนตรีเห็นสมควร

ขึ้นทะเบียนเทาที่รัฐมนตรีเห็นวาจําเปนแกการ
ใชประโยชนในราชการของผูขอขึ้นทะเบียน

การขึ้นทะเบียนใหรัฐมนตรี
(ม.8 ทวิ ว.3)

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และมีแผนที่แนบทายประกาศ

ประกาศราชกิจจานุเบกษาเพื่อใหทราบวามีการนําที่ดินของรัฐ มีแผนที่เพื่อใหทราบที่ตั้งและแนวเขตที่ดินใหทราบทั่วกัน
ขึ้นทะเบียนใหทบวงการเมืองนั้น ๆ ไดใชประโยชนในราชการ เปนการปองกันขอพิพาทแนวเขตในอนาคต

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


22 (ช.19)
มาตรา 8 ตรี การออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง (น.ส.ล.)
กฎกระทรวง ฉบับที่ 26, 45

มาตรา 8 ตรี

ที่ดินสาธารณสมบัติของแผนดิน ที่ดินสาธารณสมบัติของแผนดิน ที่ดินประเภทนี้คือ


สําหรับพลเมืองใชรวมกัน สําหรับใชเพื่อประโยชนของแผนดิน เปนที่ราชพัสดุ
โดยเฉพาะ

ที่ดินตามมาตรา ที่ดินตามมาตรา
1304 (2) ป.พ.พ. 1304 (3) ป.พ.พ.

ปจจุบัน อธิบดีมอบอํานาจเกี่ยวกับ น.ส.ล. ให อธิบดีกรมที่ดิน เพื่อแสดงเขตไวเปน


ผูวาราชการจังหวัด หลักฐาน
1. มอบใหออก น.ส.ล. แทนตามคําสั่งกรม มีอํานาจจัดใหมี น.ส.ล.
ที่ดิน ที่ 2185/2546 ลว.24 ต.ค.2546 ไมใชเปนหนังสือแสดงสิทธิ
2. มอบใหเพิกถอนหรือแกไข น.ส.ล. แทน ในที่ดินของรัฐ
แบบ หลักเกณฑ และวิธีการออก
ตามคําสั่งกรมที่ดิน ที่ 2185/2546 ลว.24 ต.ค.
น.ส.ล. เปนไปตามกฎกระทรวง
2546
ที่ดินที่ยังไมมี น.ส.ล. เขตของ
(คําสั่งกรมที่ดิน ที่ 2185/2546 ลว. 24 ต.ค.
กฎกระทรวง ฉบับที่ 26 ที่ดินสาธารณสมบัตขิ อง
2546 เรื่อง มอบอํานาจของอธิบดีกรมที่ดินให
และ ฉบับที่ 45 แผนดินทั้ง 2 ประเภท ให
ผูวาราชการจังหวัดแบบบูรณาการ ปฏิบัติ
เปนไปตามหลักฐานของทาง
ราชการแทน)
ผูขอและการยืน่ คําขอ ราชการ
3. มอบใหออกใบแทน น.ส.ล. แทน ตามคําสั่ง
กรมที่ดิน ที่ 3350/2542 ลว.7 ธ.ค. 2542
ทบวงการเมืองผูมี
เชนทะเบียนที่สาธารณะ, ประกาศ
ทบวงการเมือง = หนวยราชการที่มีฐานะ เปน อํานาจดูแลรักษา
หวงหามของเจาหนาที่ของรัฐฯลฯ
นิติบุคคลของราชการสวนกลาง ราชการสวน
ภูมิภาคหรือราชการสวนทองถิ่น (ม.1 ป.ที่ดิน) ประเภทที่ดินที่จะออก น.ส.ล.

ที่ดินสาธารณสมบัติของแผนดิน ที่ดินสาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับ
สําหรับพลเมืองใชรวมกัน ใชเพื่อประโยชนของแผนดินโดยเฉพาะ
(ม.1304(2) ป.พ.พ.) (ม.1304(3) ป.พ.พ.)

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการ - นายอําเภอ รวมกับ - กระทรวงการคลัง (โดย


มอบหมายใหสภาตําบลหรือองคกรปกครอง ผูขอ
องคกรปกครองสวน กรมธนารักษ หรือ
สวนทองถิ่นชวยเหลือในการดําเนินการออก ทองถิ่น (คําสั่งกระทรวง หนวยงานที่กระทรวง การ
หนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง พ.ศ. 2543 มหาดไทย ที่ 948/2516 ประสงคจะใหมี คลังมอบหมาย เชน ที่ดิน
(กําหนดบทบาทขององคกรปกครองสวน ลว.26 พ.ย.2516 ประกอบ น.ส.ล. ในที่ดิน ของกระทรวงกลาโหมได
ทองถิ่นในการมีสวนชวยเหลือ และควบคุม มาตรา 117 และมาตรา ที่ตนดูแลรักษา มอบใหปลัดกระทรวง
ในการออก น.ส.ล. ดวย) 122 แหง พ.ร.บ.ลักษณะ แปลงใด กลาโหม ฯลฯ
ปกครองทองที่ พ.ศ. 2457)
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
23

เปนหนังสือพรอมหลักฐาน
แสดงความประสงคตอ ของที่ดินแปลงนั้น
การดําเนินการถือปฏิบัติตาม
ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการออกหนังสือ ยื่นผานทางสํานักงานที่ดิน
อธิบดีกรมที่ดิน
สําคัญสําหรับที่หลวง พ.ศ. 2517 ซึ่งแกไขโดย จังหวัดหรือสาขาซึ่งที่ดิน
ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2520) ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2520) แปลงนั้นตั้งอยู
เมื่อรับคําขอแลว
ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2522) ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2530)
ดําเนินการ
ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2539) เมื่อสํานักงานที่ดินจังหวัด/
(กฎ ฉบับที่ 45)
สาขา รับคําขอแลว จะ
ดําเนินการแทนอธิบดีเลย
1. สอบสวน 2. รังวัดทําแผนที่ 3. ประกาศออก น.ส.ล. ให
ประชาชนทราบ
1. สนง.ที่ดินจังหวัดหรือสาขาทองที่

สภาพที่ดินแปลงที่ขอวา ตามวิธีการ 2. อําเภอ/กิ่งอําเภอ/เขตทองที่


ถูกตองตามหลักฐานและ รังวัดเพื่อออก มีกําหนด 30 วัน
อยูในลักษณะที่จะออก หนังสือแสดง 3. ที่ทําการกํานัน และ
น.ส.ล.ไดหรือไม ฯลฯ สิทธิในที่ดิน ปด ณ
4. บริเวณที่ดินนั้น
ประกาศตองประกอบดวย
5. กรณีในเขตเทศบาล ปดที่
สนง. เทศบาลดวย
1. แผนที่แสดงแนวเขตที่ดินที่จะออก น.ส.ล.
2. กําหนดระยะเวลาใหผูมีสวนไดเสียคัดคาน
ไมนอยกวา 30 วัน นับแตวันประกาศ แหงละ 1 ฉบับ

ไมมีผูคัดคาน มีผูคัดคาน

ออก น.ส.ล. อธิบดีกรมที่ดินรอการออก น.ส.ล.


ไวกอน และดําเนินการดังนี้

(1) กรณีผูคัดคานไมมีหลักฐาน (2) กรณีผูคัดคานมีหลักฐาน


ฟองพิสูจนสิทธิวาตนเองมี แสดงสิทธิในที่ดินตาม ป.ที่ดิน แสดงสิทธิในที่ดินตาม ป.ที่ดิน
สิทธิโดยชอบในที่ดิน
ดังกลาว/ที่ดินดังกลาวไมใช
ที่ดินสาธารณสมบัติของ เจาหนาที่แจงใหผูคัดคาน
สวนที่ไมคัดคาน เฉพาะสวนที่คัดคาน
แผนดินสําหรับพลเมืองใช ไปฟองศาลภายใน 60 วัน
ประโยชนรวมกันหรือเพื่อ นับแตวันคัดคาน
ประโยชนของแผนดิน ออก น.ส.ล. ไปกอน รอการออก น.ส.ล. ไวกอน
โดยเฉพาะ
ใหผูวาราชการจังหวัด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


24

ผูคัดคานไมฟองภายในกําหนด (60 ผูคัดคานฟองภายในกําหนด ตรวจสอบสิทธิในที่ดิน


วัน นับแตวันคัดคาน) ของผูคัดคาน

สวนที่คัดคาน สวนที่ไมคัดคาน
ออก น.ส.ล. ไดมาโดยชอบ ไดมาโดยไมชอบ
ดวยกฎหมาย ดวยกฎหมาย
รอจนกวามีคาํ พิพากษา ออก น.ส.ล.
ถึงที่สุดวา ไปกอน แจงผูคัดคาน แจงผูคัดคานทราบ
ทราบโดยเร็ว ภายใน 7 วัน นับแต
วันทราบผลการ
ผูคัดคานไมมี ผูคัดคานมี ระงับการออก ตรวจสอบ
สิทธิในที่ดิน สิทธิในที่ดิน น.ส.ล.สวนนี้
ออก น.ส.ล.
ระงับการออก
ออก น.ส.ล. ดําเนินการเพิกถอน
น.ส.ล. สวนนี้
หลักฐานแสดงสิทธิ
หนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง ตาม ป.ที่ดิน ที่ไมชอบตาม
(น.ส.ล.) ม.61 ป.ที่ดิน

ดู ช. 44

แบบ จัดทํา วิธีการออก น.ส.ล.ชํารุด การเพิกถอนหรือ


จํานวน น.ส.ล. หรือสูญหาย แกไข น.ส.ล.

ใชแบบ ส.ธ. 1 3 ฉบับ ระเบียบกรมที่ดิน อธิบดี ระเบียบกรมที่ดิน


วาดวยการออก ออกใบแทน วาดวยการเพิกถอน
หนังสือสําคัญ หรือแกไข น.ส.ล.
ทายกฎกระทรวง สําหรับที่หลวง พ.ศ. 2529
ฉบับที่ 26 1. มอบใหผูดูแล
พ.ศ. 2517 และ
รักษาที่ดินถือไว
ฉบับแกไข
1 ฉบับ
ปจจุบัน อธิบดีมอบ
อํานาจใหผูวาราชการ
จังหวัดปฏิบัติราชการ
2. เก็บไวที่สํานักงาน แทน
ที่ดิน/สาขา 1 ฉบับ

2 ฉบับนี้จะจําลอง ถือเสมือน
เปนรูปถายก็ได เปนตนฉบับ
3. เก็บไวที่
กรมที่ดิน 1 ฉบับ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


25 (ช.20)
มาตรา 9 การหวงหามที่ดิน ตาม ม.9 และการขออนุญาตเกี่ยวกับที่ดนิ ของรัฐ

ภายในบังคับกฎหมายวาดวยการ หมายถึง ถาหากวากฎหมายที่เกี่ยวกับการ


เหมืองแรและการปาไม เหมืองแร และการปาไมไดกําหนดวิธีการ
(ม.9) เกี่ยวกับที่ดินของรัฐไวเปนพิเศษอยางไร
ก็ใหดําเนินการตามกฎหมายนั้น และไม
อยูในบังคับของ ม.9 ป.ที่ดิน แตอยางใด
ทุกประเภท ที่ดินของรัฐ

เช น ตามกฎกระทรวง ฉบั บที่ 77


ถาไมมีสิทธิครอบครอง หรือ มิไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ ของ พ.ร.บ. แร กําหนดให หิน ทุก
ชนิ ด เป น แร (มี ผ ลใช บั ง คั บ ตั้ ง แต
วั น ที่ 1 6 มี . ค . 3 9 ) ทํ า ใ ห ก า ร
ถามีสิทธิครอบครอง หามบุคคลใด วิธีดําเนินการกับ ประกอบกิ จ การเกี่ ย วกั บ หิ น อยู
โดยชอบดวยกฎหมาย ผูฝาฝน ม.9 ดูระเบียบ ภายใตบังคับของ พ.ร.บ.แร ไมตอง
เชน มี น.ส.3 ก. ไมอยู คณะกรรมการฯ ฉบับที่ 3 มาใช ม.9 ป.ที่ดิน อีกตอไป
ในบังคับมาตรา 9 นี้
กระทําการ
ดังตอไปนี้ ฝาฝน ม.9 มีความผิด

ม. 108 และ 108 ทวิ ดู ช. 75

(1) เขาไปยึดถือ ครอบครอง (2) ทําดวยประการใด ใหเปนการทําลาย (3) ทําสิ่งหนึ่งสิ่งใดอันเปน


รวมตลอดถึงการกนสราง หรือทําใหเสื่อมสภาพที่ดิน ที่หิน ที่กรวด อันตรายแกทรัพยากรในที่ดิน
หรือเผาปา หรือที่ทราบในบริเวณที่รัฐมนตรีประกาศ (ม.9(3))
(ม.9(1)) หวงหามในราชกิจจานุเบกษา หรือ
(ม.9(2))

บริเวณที่รัฐมนตรีประกาศหวงหาม หมายถึง ทรัพยากรในที่ดินทั่ว ๆ


ไวตามประกาศกระทรวง มหาดไทย ไปที่ไมอยูในเขตที่รัฐมนตรี
ลว.21 พ.ค.2523 ประกาศหวงหามไว ตาม ม.9(2)

1. บริเวณที่เขา หรือภูเขา และปริมณฑล รอบที่เขาหรือ


ภูเขา 40 เมตร
2. บริเวณแมน้ํา และลําคลอง
3. ที่ดินของรัฐ นอกจาก (1) และ (2) ซึ่งมิไดมีบุคคลใดมีสิทธิ
ครอบครองเฉพาะบริเวณที่เปนที่หิน ที่กรวด หรือที่ทราย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


26

การขออนุญาตตาม ม.9

อํานาจอนุญาตของ พนักงานเจาหนาทีผ่ ูมี หลักเกณฑและวิธีการ เฉพาะกรณีขุดตักดิน


กรมที่ดิน ตาม ม.9 อํานาจอนุญาตตาม ม.9 ลูกรังหรือหินผุ
(หลักเกณฑเพิ่มเติม)
ปจจุบัน อํานาจหนาที่ของกรมที่ดิน คําสั่งกระทรวง ระเบียบกระทรวง มหาดไทย
ในการอนุญาตตาม ม.9 คงเหลือ มหาดไทย ที่ วาดวยหลักเกณฑ และวิธีการ ตองไมเปนพื้นที่ทมี่ ี
เฉพาะการอนุญาตขุดดินลูกรังหรือ 109/2538 ลว. เกี่ยวกับการอนุญาต ตาม ลักษณะดังนี้
หินผุในบริเวณที่เขาหรือภูเขา และ 16 มี.ค.38 มาตรา 9 แหงประมวล
ปริมณฑลรอบที่เขาหรือภูเขา 40 กฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2543
เมตรเทานั้น

1. ชั้นลูกรังและหินผุอยูใตดิน
ลึกกวา 20 เซนติเมตร
1. อธิบดีกรมที่ดิน เปนพนักงานเจาหนาที่ ลักษณะที่ดินที่จะอนุญาต
2. พืน้ ที่มีความลาดชันมาก จน
สําหรับการอนุญาตระเบิดและยอยหิน การขุด
เปนเหตุใหเกิดการพังทลาย
ตักดินลูกรัง หรือหินผุ ในบริเวณที่เขาหรือ ตองเปนที่ดินของรัฐที่ 3. พืน้ ที่มีสภาพปาสมบูรณ
ภูเขา และปริมณฑลรอบที่เขาหรือภูเขา 40
4. บริเวณที่มีสภาพที่มีคุณคา
เมตร ที่รัฐมนตรียังมิไดประกาศกําหนดพื้นที่
1. ที่ดินซึ่งมิไดมีบุคคลใดมีสิทธิ ทางประวัติศาสตร ฯลฯ
นั้นใหเปนแหลงหินปูนหรือดินลูกรัง หรือ
ครอบครอง 5. บริเวณที่มีความงามของ
หินผุเพื่อการกอสราง
2. ที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติ ธรรมชาติ
ของแผนดินที่ราษฎรใช 6. แหลงที่มีซากดึกดําบรรพ
2. ผูวาราชการจังหวัด เปนพนักงานเจาหนาที่ ประโยชนรวมกัน (ตองไดรับ หรือโครงสรางทางธรณีวิทยาที่
ในเขตทองที่จังหวัดสําหรับการอนุญาต ดังนี้ อนุญาตจากกระทรวง มหาดไทย สําคัญ และหายาก
(1) การระเบิ ด และย อ ยหิ น การขุ ด ตั ก ดิ น กอน พนักงานเจาหนาที่จึงจะ 7. สถานที่ที่ราษฎรใชประโยชน
ลู ก รั ง หรื อ หิ น ผุ ในบริ เ วณที่ รั ฐ มนตรี ไ ด อนุญาตได) รวมกัน
ประกาศกํ า หนดพื้ น ที่ นั้ น เป น แหล ง หิ น ปู น 3. ที่ดินมีผูเวนคืนในที่ดินใหแก 8. บริเวณที่มีแรธาตุที่มีคาใน
หรือดินลูกรัง หรือหินผุ เพื่อการกอสราง และ
รัฐหรือทอดทิ้งไมทําประโยชน ปริมาณที่คุมคาทางเศรษฐกิจ
ในพื้นที่นอกเขตเขาหรือภูเขา และปริมณฑล
หรือปลอยใหเปนที่รกรางวาง 9. อยูใกลเสนทางการคมนาคม
รอบที่เขาหรือภูเขา 40 เมตร
เปลาจนตกเปนของรัฐตาม ภายในระยะ 100 เมตร
(2) การขุ ด หรื อ ดู ด ทราย การเก็ บ หิ น ลอย
ป.ที่ดิน (ที่ดินตาม ม.1304 10. พืชพันธุที่มีคุณคาหรือหายาก
การทํ า สิ่ ง หนึ่ ง สิ่ ง ใดอั น เป น อั น ตรายแก
(1) – (2) ป.พ.พ. 11. แหลงอาหารที่สําคัญของ
ทรัพยากรในดิน
(3) การเขาไปยึดถือ ครอบครอง รวมตลอด สัตวปา
ถึงการกอนสรางหรือเผาปา 12. แหลงน้าํ หรือคุณภาพน้ํา
การอนุญาต 13. มีความลาดชันเกิน 35%
(4) การตออายุใบอนุญาต กรณีที่อธิบดีกรม
ที่ดินหรือผูวาราชการจังหวัดไดอนุญาตไว
หลักเกณฑการ
อนุญาต

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


27

ผูขออนุญาต ลักษณะที่ขอ จํานวนเนื้อที่ กําหนดเวลาอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต

1. ตองเปน ตองไมเปน ในจังหวัดหนึ่ง ๆ จะ ตามสมควรกับ หากไมปฏิบัติตาม


บุคคลหรือ อันตรายตอ ขอกี่แหงก็ตาม เมื่อ กิจการที่กระทําไม เงื่อนไขที่ระบุไวใน
นิติบุคคล ทรัพยสินของ รวมเนื้อที่ทั้งหมดราย เกิน 5 ป นับแตวัน ใบอนุญาตหรือคําสัง่ ของ
สัญชาติไทย แผนดินและ หนึ่ง ๆ ตองไมเกิน 10 ออกใบอนุญาต พนักงานเจาหนาทีห่ รือ
ของเอกชน ไร ตอ 1 ราย กรณี กรณีกิจการเปนอันตราย
บริเวณใกลเคียง คูสมรสขอดวย จะ รายแรง
อนุญาตรวมกันแลว
ไมควรเกิน 10 ไร

2. ประกอบกิจการดวยตนเอง
เงื่อนไขสําคัญ การตอใบอนุญาต พนักงาน
เจาหนาที่
การยื่นคําขอ
(1) ตองไมกระทําให ขอตอกอน
พื้นดินที่ไดรับอนุญาต ใบอนุญาตสิ้น เพิกถอนการ
ทองที่ที่ยังไมได ทองที่ที่ยกเลิก หรือพื้นที่ติดตอเสีย อายุ 240 วัน อนุญาต
ยกเลิกอํานาจ อํานาจนายอําเภอ สภาพตามสมควร เชน
นายอําเภอ แลว ขุดพื้นดินลึกเกินกวา 5
เมตร เวนแตมีเหตุจําเปน ทั้งหมดหรือ
(2) ไมกระทํากิจการอัน ซึ่งพนักงาน บางสวน
ยื่นตอ ยื่นตอ เปนการรบกวนผูอนื่ เจาหนาที่พิจารณา แลวแตกรณี
(3) โอนสิทธิใหผูอื่น เห็นควรผอนผัน
ไมได เวนแตโอนให
นายอําเภอหรือ เจาพนักงาน ทายาทหรือตกทอดทาง
ปลัดอําเภอผูเปน ที่ดินจังหวัด/ มรดก
หัวหนาประจํากิ่ง สาขา (4) พนักงานเจาหนาที่
อําเภอที่ที่ดินตั้งอยู อาจกําหนดเงื่อนไขใด ๆ
ในการอนุญาตอีกก็ได

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


28 (ช.21)
มาตรา 9/1 คาตอบแทนมาตรา 9 และการแบงรายไดคา ตอบแทน

คาตอบแทนตามมาตรา 9 ป.ที่ดิน

มาตรา 9/1 ป.ที่ดิน

ผูรับอนุญาตตาม ม.9

เสียคาตอบแทนเปนรายป

ใหแก
- เทศบาล
- องคการบริหารสวนตําบล
- กรุงเทพมหานคร องคกรปกครอง
- เมืองพัทยาหรือ สวนทองถิ่น
- องคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น ที่มีกฎหมาย
จัดตั้งที่ที่ดินที่ไดรับอนุญาตตั้งอยู

ยกเวนองคการบริหารสวนจังหวัด

วิธีการและอัตราคาตอบแทน การแบงคาตอบแทน

องคกรปกครองสวนทองถิ่น
ตามที่กําหนดในขอบัญญัติทองถิ่นนั้น

แตไมเกินอัตราตาม กรณีที่ดินที่ไดรับอนุญาต กรณีที่ดินตั้งอยูใน


บัญชีทาย ป.ที่ดิน ไมไดตั้งอยูในเขตองคการ เขตองคการบริหาร
บริหารสวนจังหวัด สวนจังหวัด

บัญชีทาย ป.ที่ดิน
คาตอบแทนตกเปน คาตอบแทน
รายไดขององคกร
ม.9(2) ม.9(3) ปกครองสวน
ม.9(1) 40% 60%
ทองถิน่ นั้นทั้งหมด

ไรละ 1,000 (ก) การขุดหรือดูดทราย องคการบริหาร องคกรปกครอง


บาท ตอป ลูกบาศกเมตรละ 28 บาท สวนจังหวัด สวนทองถิ่นนัน้
(ข) การขุดดินหรือลูกรังหรือ
อื่น ๆ ไรละ 10,000 บาท ตอป สงภายใน 30 วันนับแตวันที่ เปนรายไดองคการ
หรือลูกบาศกเมตรละ 10 บาท องคกรปกครองสวนทองถิ่นไดรับ บริหารสวนจังหวัด
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
29 (ช.22)
มาตรา 10, 11 กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 การจัดหาผลประโยชนในที่ดินของรัฐ
ที่ดินของรัฐ
ที่จะนํามาจัดหาผลประโยชน
(ม.10)

ลักษณะที่ดินของรัฐ

ไมมีบุคคลใดมีสิทธิครอบครอง ไมใชสาธารณสมบัติของแผนดินที่ราษฎร
และ
ใชประโยชนรวมกัน (ม.1304 (2) ป.พ.พ.)

1. ที่ดินรกรางวางเปลา ที่ดินซึ่งมีผูเวนคืนหรือทอดทิ้ง
หรือกลับมาเปนของแผนดินตามกฎหมายที่ดิน
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา
2. ที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ราษฎรใช
ดวยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการถอน
ประโยชนรวมกัน แตราษฎรมิไดใชประโยชนรวมกัน
สภาพ การจัดขึ้นทะเบียนและ
แลว หรือรัฐหาที่ดินอื่นใหใชประโยชนรวมกันแทน
การจัดหาผลประโยชนในที่ดิน
3. ที่ดินอันเปนทรัพยสินของแผนดินที่มิไดใชเพื่อสาธารณ
ของรัฐ ตามประมวลกฎหมาย
ประโยชนหรือมิไดสงวนไวเพื่อประโยชนรวมกัน ซึ่ง
ที่ดิน พ.ศ. 2550
มิไดมีบุคคลหรือทบวงการเมืองใดมีสิทธิครอบครองอยู

การจัดหาประโยชน

การจัดหา
อธิบดีกรมที่ดิน รัฐมนตรี (มหาดไทย) ประโยชนในที่ดิน
(ม.10) (ม.11) ของรัฐตาม ม.10

มีอํานาจจัดหา มีอํานาจมอบหมายให
ใหคํานึงถึงการที่จะสงวน ผลประโยชน
ที่ดินไวใหอนุชนรุนหลังดวย
หนวยราชการที่มีฐานะ
(ม.10 ว.2)
ใหรวมถึงจัดทําใหที่ดิน ทบวงการเมืองอื่น เปนนิติบุคคลของ
ใชประโยชนได ซื้อขาย (นอกจากกรมที่ดิน) ราชการสวนกลาง
การขาย การแลกเปลี่ยน และการ
แลกเปลี่ยน ใหเชาหรือ ราชการสวนภูมิภาคหรือ
ใหเชาซื้อที่ดิน
ใหเชาซื้อ ราชการสวนทองถิน่
(ม.10 ว.2)
เปนผูจัดหา
ผลประโยชน
ใหกระทําโดยประกาศ
ตองไดรับอนุมัติจาก หลักเกณฑและวิธีการ สําหรับรัฐ หรือ
ในราชกิจจานุเบกษา
บํารุงทองถิ่น
หาผลประโยชน
รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงมหาดไทย
หลักเกณฑและวิธีการหาผลประโยชน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


30

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวย อธิบดีกรมที่ดินหรือหัวหนา ลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน


วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการถอนสภาพ ทบวงการเมืองที่ไดรับมอบหมาย
การจัดขึ้นทะเบียนและการจัดหา (ขอ 6 กฎฉบับ 11) การปดประกาศ
ผลประโยชนในที่ดินของรัฐ ตาม
ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2550 ประกาศวัตถุประสงคที่จะดําเนินการ วิธีการ ณ
และรายละเอียดใหประชาชนทราบ 1. สํานักงานที่ดินจังหวัด/สาขา
2. ที่วาการอําเภอ/กิง่ อําเภอ
3. ที่บานกํานัน และ
การจัดหาผลประโยชนในที่ดินของรัฐ 4. ในที่เปดเผยในบริเวณที่ดินนั้น

กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (แกไขโดยฉบับที่ 20)

1. การขายที่ดิน 2. การแลกเปลี่ยนทีด่ ิน 3. การใหเชาที่ดิน 4. การใหเชาซื้อที่ดนิ


(ตองไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรี) (ตองไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรี) (ตองไดรับอนุมัติ
จากรัฐมนตรี)
กระทําโดยวิธีขายทอดตลาด ใหแลกเปลี่ยนกับที่ดินซึ่งมี

ใหกําหนด ใหกําหนด
เวนแต
ราคาใกลเคียงกัน ราคาคาเชา จํานวนเงิน
และระยะเวลา
โดยคํานึงถึง สงใชเงิน
1) ขายที่ดินที่มีผูเชา 2) ขายที่ดินใหแก
เปนคราว
หรือผูอาศัยในที่ดินนั้น ผูมีสวนไดเสีย หรือได
ติดตอกันไมนอ ยกวา ชวยทําประโยชนใน
วัตถุประสงคและ
5 ป ที่ดินนั้น
ประโยชนของการ โดยคํานึงถึง โดยคํานึงถึง
แลกเปลี่ยนนั้น สภาพแหง สภาพแหง
ใหกระทําโดยวิธี ใหกระทําโดยวิธี ทองที่ ทองที่
ประกอบกับ ประกอบกับ
วิธีกําหนดราคาขาย วิธีกําหนดราคา ทุนที่ไดลงไป ทุนที่ไดลงไป
ตามราคาตลาด ในที่ดินนั้น ในที่ดินดวย
ถามีบุคคลดังกลาวหลายคน
ประสงคจะซื้อที่ดนิ แปลงเดียวกัน
และเปดโอกาสให
ผูเชา ผูอ าศัย (รวมถึง
ทายาท) มีโอกาสซื้อได และไมอาจตกลงกันได
กอนผูอื่น
ใหกระทําโดยวิธี วิธีประกวดราคาขาย

หากตกลงกันไมได ใหกระทําโดยวิธี วิธีขายทอดตลาด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


31

กรณีใหเชาที่ดิน กรณีใหเชาที่ดินแกผูมี กรณีใหเชาที่ดิน เชาซื้อที่ดิน ซึ่งถูกกัน กรณีผูประสงคจะ


สําหรับอยูอาศัย สวนไดเสีย หรือไดชวย ออกจากที่ดินที่ราชการไมออกหนังสือ เชาซื้อหลายคน
ทําประโยชนในที่ดินนั้น แสดงสิทธิในที่ดิน เกินกวาที่กําหนด

มีผูประสงคจะเชา
หลายคนเกินกวา ใหกระทําโดยวิธี ถาผูขอเชา ขอเชาซือ้ เปนผูได
ใหดําเนินการ
ที่ดินที่กําหนดไว ครอบครองที่ดินนัน้
เชาซื้อโดย
กําหนดราคาคาเชา
การพิจารณาเลือก ใหกําหนดคาเชา ใหกําหนด วิธีจับสลาก
บุคคลเชาที่ดิน แตถาบุคคลดังกลาว ราคาเชาซื้อ
หลายคนจะเชาที่ดนิ
ตามอัตราคาเชา ยกเวน กรณี
แปลงเดียวกัน ตามราคาประเมิน
ใหเลือกคนที่มีความ ปานกลาง เชาซื้อที่ดิน
จําเปน และไดรับ ทุนทรัพยในการ
สําหรับอยูอาศัย
ความเดือดรอน และไมอาจตกลงกันได จดทะเบียนที่ดิน
ที่มีการเชาอยูใน
เกี่ยวกับที่อยูอาศัย ในวันทําสัญญา
ทองที่นั้นในวันทํา
มากกวา ไดเชากอน ใหกระทําโดยวิธี เชาซื้อ
สัญญาเชา ใหเลือกบุคคลที่มี
ตามลําดับ ความจําเปนและ
วิธีประกวดราคาเชา การชําระคาเชาซื้อ
ไดรับความ
(เหมือนกับกรณีขาย) และมิใหมีการเชา เดือดรอนเกี่ยวกับ
ชวงหรือโอนสิทธิ จะแบงเปนกี่งวด
ที่อยูอาศัยมากกวา
การเชาใหแกบุคคล แตละงวดจะชําระ
อื่น เปนรายปหรือ
หลายป ตองวด
ก็ได
การพิจารณาใหเชาหรือ ไดเชาซื้อกอน
ม.11 เชาซื้อที่ดินประเภทนี้ ตามลําดับ
แตตองชําระ
การมอบหมายให ใหผูวาราชการจังหวัดเปน ใหเสร็จสิ้น
ทบวงการเมืองอื่น ผูพิจารณาตามควรแกกรณี
จัดหาผลประโยชน ภายใน 20 ป
(ขอ 5 กฎกระทรวง
ฉบับที่ 11)
1. ระบุถึงเขตที่ดิน

กระทําโดย 2. จํานวนเนือ้ ที่ คาเชาและคาเชาซื้อ


ประกาศในราช
กิจจานุเบกษา 3. ชือ่ ทบวงการเมืองและ ใหเปนรายไดของราชการบริหาร
สวนทองถิ่นที่ที่ดินนั้นตั้งอยู
ขอความใน 4. กิจการที่มอบหมายรวมถึงความ
ประกาศ ประสงคในการจัดหาผลประโยชน
และใหนําไปบํารุงทองถิ่นนั้น
สําหรับรัฐหรือบํารุงทองที่

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


32 (ช.23)
มาตรา 12 กฎกระทรวง ฉบับที่ 12 การขอสัมปทานในที่ดินของรัฐ

ที่ดินของรัฐ
(ม.12)
ที่ดินที่เปนสาธารณสมบัติของ
แผนดินที่ประชาชนใชรวมกัน
ซึ่งมิไดมีบุคคลใดมี หากนําไปใหสัมปทานหรือใหใช
สิทธิครอบครอง ในระยะอันจํากัดยอมทําได

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

มีอํานาจ

ไมกระทบกระเทือนถึง กม. ใหสัมปทาน ให หรือใหใชใน วิธีปฏิบัติ ดู


วาดวยเหมืองแรและการปาไม ระยะเวลาอันจํากัด คําสั่งกระทรวงหมาดไทย
ที่ 194/2501 ลว.13 มี.ค.2501
เรื่อง ระเบียบการใหสัมปทาน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย หลักเกณฑและวิธีการ ในที่ดินของรัฐตาม ป.ที่ดิน
ไมมีอํานาจที่จะดําเนินการให
สัมปทานในที่ดินที่เกี่ยวของกับเหมือง
แรหรือเกี่ยวของกับปาไม กฎกระทรวง ฉบับที่ 12 คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่
(แกไขโดยฉบับที่ 13 และ 21) 330/2539 ลว.19 พ.ย.2539 เรื่อง
แตงตั้งคณะกรรมการพิจารณา
เรื่องราวขอสัมปทานตาม ม.12
การขอสัมปทาน
ป.ที่ดิน

ผูขอ การยื่นคําขอ การดําเนินการ หลักเกณฑการให อายุสัมปทาน


สัมปทาน

บุคคลหรือนิติบุคคล ยื่นตอ อําเภอทองที่ รัฐมนตรีอนุญาต รัฐมนตรีมีอํานาจ


ตอเมื่อ

กรณีขอสัมปทานที่ดิน ซึ่งถูก
นายอําเภอ 1. ตรวจสอบคําขอ
กันออกจากที่ดินที่ทางราชการ
ทองที่ 2. สอบสวน
ไมออกหนังสือ แสดงสิทธิใน
ที่ดิน ขอเท็จจริง
ตามแบบคํา 3. ใหเจาหนาที่
ขอ 5 ชุด ไปทําการรังวัด
ผูขอจะตองเปนผูซงึ่ ได ชันสูตรสอบสวน
(ท.ด.73)
ครอบครองที่ดินนัน้

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


33

พรอมแผนที่ นายอําเภอ 1. ผูขอมีความประพฤติดี


ที่ดิน 10 ชุด ทองที่ 2. ผู ข อมี ค วามสามารถและมี
ปจจัยที่จะทําใหเปนผลสําเร็จได
3. ที่ดินที่อนุญาตสมควรกับ
แผนที่ตองแสดง ประกาศมีกําหนด กิจการและไมเสือ่ มเสียแก
1. แสดงเขตที่ดินและภูมิ ไมนอยกวา 30 วัน เศรษฐกิจของประเทศ ไมขัดตอ
ประเทศในบริเวณที่ขอ รัศมี สาธารณประโยชนและไมเปน
หางจากเขตที่ดินดานละ อันตรายแกทรัพยสนิ หรือขัดตอ
อยางนอย 300 ม. ปด ณ
สวัสดิภาพของประชาชนใกลเคียง
2. แสดงวามีสิ่งปลูกสราง
พันธุพืชหรือทรัพยากรมีคา 1. สํานักงานที่ดินจังหวัด/สาขา
หรือไม 2. ที่วาการอําเภอ/กิง่ อําเภอ
3. แสดงแผนผังที่จะใชที่ดิน 3. ที่บานกํานันและ
กระทํากิจการโดยละเอียด 4. ในที่เปดเผยในบริเวณที่ดิน

- กรณีที่ดินที่ขอสัมปทานมี
ครบกําหนดแลว
พื้นที่คาบเกี่ยวกัน 2 อําเภอ

1. ใหยื่นคําขอตอนายอําเภอ
มีการคัดคาน ไมมีการคัดคาน
ทองที่ซึ่งมีที่ดินสวนใหญ
ตั้งอยู
2. นายอําเภอทองที่ที่รับคําขอ นายอําเภอสอบสวนพิจารณา
สงเรื่องราวไปใหนายอําเภอ เสนอความเห็น
ทองที่อีกที่หนึ่งรวมออก
ความเห็น
ผูวาราชการจังหวัด

มีคณะกรรมการพิจารณาเรือ่ งราวขอสัมปทาน
ตาม ม.12 ประจําจังหวัดพิจารณาเสนอผูวาฯ

พิจารณาเสนอความเห็นไป

รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงมหาดไทย

เพื่อสั่งการ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


34

เชน ครบ
สัมปทานตอง 1. กําหนดเงื่อนไขใด ๆ 2. กําหนดอายุสัมปทาน
และ
คืนที่ดินที่มีการ ไวในสัมปทาน ตามสมควรแกกิจการ
ปรับปรุงใหอยู
ในสภาพเดิม
กรณีไมเกิน 20 ป กรณีเกิน 20 ป

ตองไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
รัฐมนตรีใหสัมปทานไดเลย
กอนเปนราย ๆ ไป

เกิน 50 ป คณะรัฐมนตรี
แตตองไมเกิน 50 ป
ก็ไมมีอํานาจอนุมตั ิ

สัมปทานบัตร อัตราคาธรรมเนียม การขอเลิก รับมรดก โอนสัมปทาน

จัดทํา 4 ฉบับ กฎกระทรวง ฉบับที่ ผูรับสัมปทาน กรณีผูรับสัมปทาน ผูรับสัมปทาน


47 ขอ 2(1)(2) เปนบุคคลธรรมดา
ไมตองการทํา ประสงคโอนให
1. กรมที่ดิน (1) คาธรรมเนียมใน กิจการตาม ผูรับสัมปทานตาย ผูอื่น
การขอสัมปทานรายละ สัมปทานตอไป
2. จังหวัด 500 บาท ทายาทหรือผูมีสวน ผูโอนและผูรับโอน
(2) คาสัมปทานตอป ไดเสีย
ยื่นเรื่องขอเลิกตอ
ไรละ 20 บาท เศษของ
3. อําเภอทองที่ รัฐมนตรี ยื่นเรื่องราวตอ
ไรใหคิดเปนหนึ่งไร
ประสงคจะถือ รัฐมนตรี
4. ผูรับสัมปทาน สัมปทานตอไป
ผานนายอําเภอ
ทองที่ตามลําดับ ผานนายอําเภอ
ยื่นเรื่องราว ทองที่ตามลําดับ
รัฐมนตรีอนุมัติใหเลิก ตอรัฐมนตรี
รัฐมนตรี
สัมปทานสิ้นอายุนบั แต ผานนายอําเภอ เห็นสมควร
วันที่รัฐมนตรีอนุมตั ิ ทองที่ตามลําดับ
สั่งอนุญาตให
โอนได
หากไมมีใครยื่น ภายใน 90 วัน นับแตวันที่
ภายในกําหนด ผูรับสัมปทานถึงแกกรรม
ผูรับโอนมีสิทธิและหนาที่ใน
กิจการของสัมปทานตอไป
สัมปทานนั้นสิ้นอายุในวันที่ครบ 90 วัน
นับแตวันที่ผูรับสัมปทานถึงแกกรรม เทาที่ผูรับสัมปทานเดิม (ผูโอน) มีอยู

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


35 (ช.24)
มาตรา 13 การตั้งสํานักงานทีด่ ินจังหวัด/สาขา

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย เพื่อดําเนินการใหเปนไป
ตามบทแหง ป.ที่ดิน

มีอํานาจ

จําเปนที่จะตอง
กรณีทั่วไป กรณีมีความจําเปน ตั้งที่ทําการที่ดิน
ในจังหวัดนั้น ๆ
จัดตั้งสํานักงานที่ดินจังหวัด 1 แหง (ทุกจังหวัด) มากกวา 1 แหง
จัดตั้งสํานักงานที่ดินสาขาขึ้น

1 จังหวัด จะมีสํานักงานที่ดินจังหวัด อยูในสังกัดสํานักงานที่ดินจังหวัด


เพียง 1 แหงเทานั้น
1 จังหวัดจะมีสํานักงานที่ดินสาขาได
หลายแหงขึ้นอยูกับความจําเปน

กรณีสํานักงานที่ดินจังหวัด การจัดตั้งสํานักงาน ม.13 ใหอํานาจรัฐมนตรีตั้งสํานักงาน


สวนแยกหรือสํานักงานที่ดิน ที่ดินจังหวัดและ ที่ดินจังหวัดและสํานักงานที่ดินสาขา
จังหวัดสาขาสวนแยก สํานักงานที่ดินสาขา เพื่อใหเปนไปตาม ป.ที่ดิน

ถือเปนสวนหนึ่งของสํานักงาน
ตองประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ที่ดินจังหวัดหรือสํานักงาน สํานักงานที่ดินอําเภอจึงไมใชสํานักงาน
ที่ดินสาขา ที่ดินตาม ม.13 แหง ป.ที่ดิน หากแตเกิด
จากกฎกระทรวงแบงสวนราชการ
กรมที่ดินเทานั้น
ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการ
จัดตั้งและปฏิบัติงานใน
สํานักงานที่ดินจังหวัดหรือ
สํานักงานที่ดินสาขาสวนแยก
พ.ศ. 2546 ซึ่งแกไขโดยฉบับที่ ฉะนั้น คําวา “สํานักงานที่ดิน”
2 พ.ศ. 2547 หรือที่แกไขใหม กรณีการปดประกาศตาม ป.ที่ดิน ให ใน ป.ที่ดิน จึงหมายถึงสํานักงานที่ดิน
ปดที่สํานักงานที่ดินทองที่ซึ่งที่ดิน จังหวัดและสํานักงานที่ดินสาขาเทานั้น
ตั้งอยู จึงตองปดทีส่ ํานักงานที่ดิน ไมรวมถึงสํานักงานที่ดินอําเภอดวย
กรณีการปดประกาศเรื่องที่
จังหวัดหรือสํานักงานที่ดินสาขาที่
ดําเนินการที่สํานักงานที่ดิน
ที่ดินตั้งอยูแลวแตกรณี
สวนแยก
การปดประกาศที่สํานักงานที่ดินอําเภอ
ใหปดประกาศเพิ่มขึ้นอีกฉบับหนึ่ง ไมถือเปนการปดประกาศ ณ สํานักงาน
ณ สํานักงานที่ดินสวนแยก ที่ดิน ตาม ป.ที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


36
(ช.25)
หมวด 2
การจัดที่ดินเพือ่ ประชาชน
มาตรา 14, 15, 16, 17, 18, 19, 20, 28 คณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ

คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ มีอํานาจแตงตั้ง


คณะอนุกรรมการ
(ม.28)
องคประกอบ การประชุม อํานาจหนาที่
(ม.14) (ม.20) เพื่อชวยเหลือในการ
ดําเนินกิจการอยางใด
อยางหนึ่งแลวรายงาน
กรรมการโดย กรรมการ องคประชุม การลงมติ
คณะกรรมการ
ตําแหนง ผูทรงคุณวุฒิ (ม.17) (ม.19)

นํา ม.17, 18 และ 19 (การ


จํานวน 19 ไมเกิน 7 คน ตองมีจํานวน ถือเสียงขาง
ประชุม) มาใชบังคับโดย
ตําแหนง เกินกวากึ่ง มากเปน
อนุโลม
หนึ่ง ประมาณ
แตงตั้งโดย

ประธานไมอยูใน กรรมการ
คณะรัฐมนตรี 1) วางนโยบายการจัด
ที่ประชุม 1 คน มีเสียง 1
ที่ดินเพื่อใหประชาชนมี
(ม.18) เสียง
มีวาระดํารง ที่ดินสําหรับอยูอาศัยและ
ตําแหนง หาเลี้ยงชีพตามควรแก
(ม.15) กรรมการ ถาคะแนนเสียง อัตภาพ
เลือกตั้งกันเอง เทากัน
เปนประธาน 2) วางแผนการถือครองที่ดิน
4 ป
ที่ประชุม
ประธานในที่ 3) สงวนและพัฒนาที่ดิน
พนจากตําแหนง ประชุมออก เพื่อจัดใหแกประชาชน
ครม.จะแตงตั้ง เสียงเพิ่มอีก 1
เปนกรรมการอีก เสียง
4) สงวนหรือหวงหามที่ดิน
ก็ได
ของรัฐซึ่งมิไดมีบุคคลใด
ระเบียบหรือขอบังคับ มีสิทธิครอบครองเพื่อให
ที่เกี่ยวของกับ ประชาชนใชประโยชน
ประชาชน รวมกัน

ประกาศในราชกิจจา ดูระเบียบคณะกรรมการ
นุเบกษา จัดที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 9

5) อนุมัติโครงการการจัด
ที่ดินของทบวงการเมือง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


37

1. รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากร (1) ตาย 6) ควบคุมการจัด ดูระเบียบวา


ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนประธาน (2) ลาออก ที่ดินตามประมวล ดวยการจัด
คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ (3) ตองจําคุกโดยคํา กฎหมายนี้และ ที่ดินเพื่อ
2. รัฐมนตรีชวยวาการ พิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก กฎหมายอื่น ประชาชน
กระทรวงมหาดไทย
เวนแตความผิดที่เปนลหุ ซึ่งแกไขโดย
3. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
โทษ หรือความผิดที่มี ระเบียบคณะ
4. ปลัดกระทรวงกลาโหม
โทษชั้นลหุโทษ หรือ กรรมการฯ
5. อธิบดีกรมการปกครอง
ความผิดอันไดกระทําโดย 7) ปฏิบัติการเกี่ยวกับ ฉบับที่ 5,6
6. อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและ
ประมาท ที่ดินตามที่คณะ
สวัสดิการ
(4) คณะรัฐมนตรีใหออก รัฐมนตรีมอบหมาย
7. อธิบดีกรมสงเสริมสหกรณ
จากตําแหนง
8. อธิบดีกรมทางหลวง
9. อธิบดีกรมชลประทาน
10. อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กรณีแตงตั้งแทนในกรณี
11. อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี (1) – (4) วาระการดํารง 8) มอบหมายใหทบวงการ
12. อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร ตําแหนงของผูรับแตงตั้ง เมืองที่เกี่ยวของดําเนินการ
13. อธิบดีกรมปาไม แทน
เกี่ยวกับอํานาจหนาที่อยางใด
14. อธิบดีกรมธนารักษ อยางหนึ่งในมาตรานี้แทน
15. ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ คณะกรรมการไดตามที่
เทากําหนดเวลาที่เหลือ
16. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เห็นสมควร
อยูของผูที่ตนมาแทน
17. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
18. เลขาธิการสํานักงานเรงรัดพัฒนา 9) ปฏิบัติการอื่น ดูระเบียบคณะ
ชนบทเปนกรรมการ ตามที่บัญญัติไวใน กรรมการฯ
19. ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและ ประมวลกฎหมายนี้ ฉบับที่ 3,10,12
แผนทรัพยากรธรรมชาติและ หรือกฎหมายอื่น
สิ่งแวดลอม*เปนกรรมการและ
เลขาธิการโดยตําแหนง

10) วางระเบียบหรือขอบังคับกําหนด
หลักเกณฑหรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัด
ที่ดินหรือเพื่อกิจการอื่นตามประมวล
กฎหมายนี้

ดูระเบียบคณะกรรมการฯ ฉบับที่ 9,10

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


38 (ช.26)
มาตรา 21, 22 การมอบหมายใหทบวงการเมืองจัดที่ดิน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
(ม.21)

อํานาจหนาที่เกี่ยวกับการจัดที่ดิน

การดําเนินการ อํานาจ

ตามมติของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ มอบหมายใหทบวงการเมืองที่เกี่ยวของ

ดําเนินการใด ๆ อันเกี่ยวกับการจัดที่ดนิ

ทบวงการเมืองที่ไดรับมอบหมาย

ปฏิบัติการใหเปนไป อํานาจของเจาพนักงาน รัฐมนตรีฯ


ตามที่ไดรับมอบอํานาจ ของทบวงการเมือง

ถาสามารถ
โดยไมชักชา มีอํานาจตาม
ทําได มีอํานาจหนาที่อยางเดียวกับ
พนักงานเจาหนาทีต่ ามที่ มาตรา 22
กําหนดไวใน ป.ที่ดิน (ม.22)

1. มีหนังสือเรียกบุคคลใด ๆ 2. เขาไป

1) มาชี้แจงหรือแสดง 2) ใหสงเอกสาร (1) ยังสถานที่หรือที่ดิน (2) มีอํานาจสอบถาม


ความคิดเห็นเกี่ยวกับ และ หลักฐานหรือสิ่งอืน่ ของทบวงการเมือง ขอเท็จจริง เรียก
และ
การจัดที่ดิน ที่เกี่ยวของมา องคการของรัฐ หรือ เอกสารหลักฐานหรือ
เอกชน สิ่งที่เกี่ยวของ

ประกอบการพิจารณาของ เพื่อตรวจสอบเรื่องตาง ๆ จากบุคคลที่อยูใน


คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ เกี่ยวกับการจัดที่ดนิ สถานที่หรือที่ดิน

มาตรวจพิจารณา ตองใหความสะดวกแก
ตามความจําเปน คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ
ตามสมควร

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


39 (ช.27)
มาตรา 23, 24 การใชอํานาจหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ตาม ป.ที่ดนิ

การปฏิบัติหนาที่ตาม
ป.ที่ดิน

การใชอํานาจหนาที่ ฐานะตามกฎหมาย
ตาม ป.ที่ดิน (ม.24)
(ม.23)

เจาพนักงานทบวงการเมืองที่ พนักงานเจาหนาที่ พนักงานเจาหนาที่ และ เจาพนักงาน


รับมอบหมายใหจัดที่ดินตาม
ม.21
ที่ปฏิบัติหนาที่ตามความใน ป.ที่ดิน

หมายถึง
เจาพนักงานที่ดินซึง่ เปนผู ถือเปน
ปฏิบัติการตาม ป.ที่ดิน และ
พนักงานอื่นซึง่ รัฐมนตรีแตงตัง้
ใหปฏิบัติตาม ป.ที่ดิน เจาพนักงานตามความหมาย
ในกฎหมายลักษณะอาญา

ปจจุบัน คือ ประมวล


ตองมีบัตรประจําตัว
กฎหมายอาญา

แสดงแกบุคคลที่เกีย่ วของ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


40 (ช.28)
มาตรา 25, 26 กฎกระทรวง ฉบับที่ 14 เขตสํารวจที่ดิน

การสํารวจที่ดิน
(ม.25)

วัตถุประสงค ผูมีอํานาจ การดําเนินการ

เพื่อประโยชน คณะกรรมการจัด คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ


ที่ดินแหงชาติ

1. ในการจัดที่ดิน หรือ เห็นสมควรจะสํารวจที่ดินในทองที่ใด


2. การสํารวจความอุดม
สมบูรณของดิน คณะกรรมการฯ ประกาศ

ทองที่นั้นเปนเขตสํารวจที่ดิน
1. ที่วาการอําเภอ
2. บานกํานัน
1. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และ 2. ปดประกาศ (ในตําบลที่อยูในเขต
สํารวจ)

ตองมีแผนที่ประเมินเขตที่กําหนดเปน แผนที่ถือเปนสวนหนึ่ง
เขตสํารวจที่ดินไวทายประกาศดวย ของประกาศ

เมื่อมีประกาศแลว

ผูมีสิทธิในที่ดินหรือ ซึ่งมีที่ดินอยูในเขตสํารวจ
ที่ดิน ตามมาตรา 25
ผูครอบครองที่ดิน
ระวางโทษปรับ
(ม.26)
ไมเกิน 500 บาท
ผูใดฝาฝนหรือ
มีหนาที่ มีความผิด
ไมปฏิบัติตาม
ตาม ม.107

(1) แจงตอพนักงานเจาหนาที่ (2) นําหรือจัดผูอื่นนํา (3) ลงชื่อรับรองการสํารวจที่ดิน


ในทองที่ซึ่งที่ดินตั้งอยู พนักงานเจาหนาที่ ของพนักงานเจาหนาที่

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


41

ภายในระยะเวลาทีผ่ ูวาราชการ ชี้เขตที่ดินที่ตนมีสิทธิหรือ ตามที่เปนจริง


จังหวัดประกาศกําหนด ครอบครอง

ในกรณีใหผูอื่นนําชีเ้ ขต
จัดใหผูอื่น เมื่อไดรับคําบอกกลาวจาก ที่ดินแทน
แจงแทนก็ได พนักงานเจาหนาที่เปนเวลา
พอสมควร
ใหบุคคลที่นําชี้เปนผูลงชือ่
แบบและวิธีการ รับรองการสํารวจที่ดิน
แทน
กฎกระทรวง ฉบับที่ 14

การแจง

พนักงานเจาหนาทีผ่ ูรับแจง วิธีการแจง หลักฐานประกอบการแจง

นายอําเภอหรือผูทําการแทน หรือ มีสิทธิฯ แจงรายการ ผูแจงตองนําหลักฐานการมีสิทธิในที่ดิน


ปลัดอําเภอหัวหนากิ่งอําเภอหรือ และลงลายมือชือ่ หรือการครอบครองที่ดิน
ผูทําการแทน

ตามแบบบีแจงการมีสิทธิ มาแสดงตอพนักงาน
ในทองที่ซื้อที่ดินตั้งอยู ในที่ดินหรือการครอบครองที่ดิน เจาหนาที่ผูรับแจง
ในเขตสํารวจที่ดิน

แบบตามทายกฎกระทรวง ฉบับที่ 14

กรณีมีผถู ือสิทธิหรือครอบครอง กรณี ผูมีสิทธิฯ


ที่ดินแปลงเดียวหลายคน ใหผูอื่นแจงแทน

คนใดคนหนึ่งเปน ตองมีคํารับรองของเจาพนักงาน
ผูแจงแทนก็ได ปกครองหรือพยานอยางนอย
1 คน
ตองระบุชอื่ ผูมีสิทธิทุกคน

รับรองวาเปนผูแจงแทนจริง
ในบัญชีแจงฯ
(ในชองผูมีสิทธิในที่ดินฯ)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


42 (ช.29)
มาตรา 27, 29 การจัดที่ดินเพือ่ ประชาชน (ผืนใหญ)

นอกจากที่ดินที่สวนราชการ ที่ดินของรัฐซึ่งมิไดมีบุคคลใด
หรือองคการของรัฐนําไปจัด มีสิทธิครอบครอง
ตามกฎหมายอื่นแลว (มาตรา 27)

ระเบียบวาดวยการจัดที่ดินเพื่อประชาชน
ไดแก
(ฉบับที่ 1) ของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ

1) ที่ดินซึ่งมิไดมีบุคคลใดมีสิทธิ 2) ที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของ 3) ที่ดินซึ่งมีผูเวนคืนสิทธิใน


ครอบครองและมิใชสาธารณสมบัติของ แผนดินที่ราษฎรเคยใชประโยชน ที่ดินหรือทอดทิ้งไมทํา
แผนดินอันราษฎรใชประโยชนรวมกัน รวมกัน แตถอนสภาพที่ ประโยชนเปนที่รกรางวางเปลา
หรือมิใชที่สงวนหวงหามหรือมิใชที่เขา สาธารณประโยชนตาม ม.8(1) จนตกเปนของรัฐตาม ป.ที่ดิน
ที่ภูเขา ป.ที่ดิน แลว (ดู ม.8(1)) (ดู ม.6)

อธิบดีกรมที่ดิน
เพื่อเปนที่อยูอ าศัยและทํามาหา
เลี้ยงชีพ
มีอํานาจนําที่ดินของรัฐดังกลาว

ที่ดินที่ไดมาโดยบทแหง ป.ที่ดิน
จัดที่ดินใหราษฎร
(ม.29)

ระเบียบ/ขอบังคับ/ขอกําหนดและ
ตองเปนไปตามระเบียบขอบังคับขอกําหนด ตั้งอยูในทองที่ใด
เงื่อนไขของคณะกรรมการจัด
และเงื่อนไขที่คณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ
ที่ดินแหงชาติตองประกาศใน
กําหนด
ราชกิจจานุเบกษา ใหจัดใหบุคคลที่มีภูมิลําเนา
ในทองที่นั้น
- วิธีปฏิบัติตามระเบียบ รวมถึงรายการนี้ดวย
คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ ไดรับ ไดซื้อ ไดแลกเปลี่ยน
วาดวยการจัดที่ดินเพื่อประชาชน หรือเชาซื้อกอน
พ.ศ. 2498 ซึ่งแกไขโดยระเบียบ (1) จํานวนที่ดินที่จะแบงใหครอบครอง
ฉบับที่ 5 และ ฉบับที่ 6 (2) หลักเกณฑสอบสวนคัดเลือกผูเขา
ครอบครอง มีที่ดินเหลือ
(3) วิธีที่ผูเขาครอบครองพึงปฏิบัติ
(4) หลักเกณฑการชดใชทุนที่ไดลงไปในที่ดิน
นั้นและการเรียกคาธรรมเนียมบางอยาง จึงจัดใหบุคคลที่มีภูมิลําเนา
(5) กิจการที่จําเปนสําหรับการจัดแบงที่ดิน อยูในทองที่อื่นไดสิทธิ (ไดรับ
ไดซื้อ ไดแลกเปลี่ยน หรือเชาซื้อ)
ตอไป

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


43 (ช.30)
มาตรา 27 ทวิ การพิจารณาการผอนผันการแจง ส.ค.1
(สิทธิของผูใ ชสิทธิขอผอนผันการแจง ส.ค.1)

มาตรา 27 ทวิ

เพิ่มเติมโดยประกาศของ มีผลใชบังคับวันที่
คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 4 มีนาคม 2515

ผูครอบครองและทํา ผูซึ่งไดครอบครองและทําประโยชน เพิ่มเติมเพื่อรองรับสิทธิของผูที่ได


หรือ
ประโยชนในที่ดิน ในที่ดินตอเนื่องจากผูครอบครอง ใชสิทธิขอผอนผันไวตามมาตรา 5
และทําประโยชนในที่ดิน วรรค 2 แหง พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน
ซึ่งถูกยกเลิกโดยประกาศของคณะ
ปฏิวัติ ฉบับที่ 96
เปนบุคคลตามหลักเกณฑ ดู ช. 2
มาตรา 5 พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน

คือผูที่ไดครอบครองและทําประโยชนใน มาตรา 5 ว.2 พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน ที่ถูกยกเลิก


ที่ดินกอนวันที่ ป.ที่ดินใชบังคับ โดยยัง เมื่อ 2515
ไมมีหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน “ถาผูครอบครองและทําประโยชนในที่ดินซึ่ง
(ครอบครองกอน 1 ธ.ค.2497) มีหนาที่แจงการครอบครองที่ดินไมแจง
ภายในระยะเวลาตามที่ระบุไวในวรรคแรกให
ไมไดแจง ส.ค.1 ตอนายอําเภอ ถือวาบุคคลนั้นเจตนาสละสิทธิครอบครอง
ที่ดิน รัฐมีอํานาจจัดที่ดินดังกลาวตามบทแหง
ประมวลกฎหมายที่ดิน เวนแตผูวาราชการจง
พ.ร.บ.ใชบังคับ 1 ภายในกําหนด 180 วัน นับแตวันที่
หวัดจะไดมีคําสั่งผอนผันใหเปนการเฉพาะราย”
ธ.ค.2497 พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน ใชบังคับ

แตไดยื่นคํารองขอผอนผันการแจง ส.ค.1 ไว

กอนวันที่ 4 มีนาคม 2515 ตองแจงขอผอนผันไวภายในวันที่


(วันที่ ปว.96 ใชบังคับ) 3 มี.ค.2515 เปนอยางชา

ตั้งแตวันที่ 4 มี.ค.2515 จะไมมีการรับแจง


และผูวาราชการจังหวัดยังไมไดมีคําสั่ง
ขอผอนผันการแจง ส.ค.1 อีกตอไป
ผอนผันเปนการเฉพาะราย (ตาม ม.5 ว.2
พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน)
แตทั้งนี้ไมตัดสิทธิผูครอบครองและ
ทําประโยชนในที่ดิน ทั้งที่ไมไดขอ
ใหผูวาราชการจังหวัดพิจารณาสั่ง ดู ช.31
ผอนผันและขอผอนผันไว ที่จะใช
การใหเสร็จโดยไมชักชา
สิทธิตามมาตรา 27 ตรี ป.ที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


44 (ช.31)
มาตรา 27 ตรี การแจงความประสงคจะไดสิทธิในที่ดิน (แจง ส.ค.2) ในการเดินสํารวจ

สืบเนื่องมาจากการประกาศเดิน เดินสํารวจเพื่อออก
สํารวจใน ม.58 ป.ที่ดิน เอกสารสิทธิในที่ดิน

ม.58 ว.1 รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ประกาศ เปนการออก น.ส.3 ก.


ดูราย กําหนดจังหวัดที่จะเดินสํารวจ หรือโฉนดที่ดิน
ละเอียด
ช. 35
ผูวาราชการจังหวัด จังหวัดที่ถูก พื้นที่ที่มี
ม.58 ว.2
กําหนดเปนจังหวัดเดินสํารวจ

ประกาศ ระวางรูปถาย ระวางแผนที่รูป


ทางอากาศ ถายทางอากาศ

กําหนดทองที่ และ วันเริ่มตนการ


เดินสํารวจ เดินสํารวจ ออกเอกสาร ออกเอกสาร
สิทธิประเภท สิทธิประเภท

กอนวันเริ่มตน
สํารวจไมนอยกวา หนังสือรับรองการ โฉนดที่ดิน
30 วัน ทําประโยชน
(น.ส.3 ก.)

เมื่อประกาศแลว

บุคคลในทองที่ประกาศ

ผูตกคางแจงการครอบครอง ผูรอคําสั่งผอนผันการแจงการครอบครอง

ผูครอบครองและทําประโยชนในที่ดิน ผูรอคําสั่งผอนผันจากผูวาราชการจังหวัด
อยูกอนวันที่ ป.ที่ดินใชบังคับ โดยไมมี ตาม ม.27 ทวิ
หนังสือแสดกรรมสิทธิ์ที่ดิน และไมได (ช. 30)
แจง ส.ค.1

แตไดครอบครองและทําประโยชนในที่ดินนั้น
ติดตอมาจนถึงวันที่ทําการเดินสํารวจรังวัด
หรือพิสูจนสอบสวน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


45

รวมถึงผูซึ่งไดครอบครองและทําประโยชนตอเนือ่ งดวย การครอบครองตอเนื่องตองเปน


การได ม าโดยการส ง มอบที่ ดิ น
ให แ ก กั น โดยความยิ น ยอมและ
ประสงคจะไดสิทธิในที่ดินนั้น
สมัครใจของเจาของเดิม

ตองดําเนินการ กรณีการแยงการครอบครองมาไม
ถือเปนการครอบครองตอเนื่อง
เนื่องจากเปนการเริม่ ตนสิทธิใหม
แจงการครอบครองที่ดิน (ส.ค.2) ถาไมไดแจงการครอบครอง ของผูที่แยงการครอบครอง หาก
ที่ดิน (ส.ค.2) ภายในกําหนด แยงหลัง ป.ที่ดิน ก็ตองถือวาเปน
30 วัน นับแตวันปดประกาศ พวกที่ไดที่ดินหลัง ป.ที่ดิน
ตอเจาพนักงานที่ดนิ
ณ ที่ดินนั้นตองยู
เมื่อพนักงานเจาหนาที่
ประกาศกําหนดวันทําการ
ประกาศของผูวา ฯ ภายในกําหนด 30 วัน สํารวจรังวัด
ขางตน นับแตวันปดประกาศ

ไดมานําหรือสงตัวแทนนํา
เมื่อพนักงานเจาหนาที่ พนักงานเจาหนาทีท่ ําการ
ประกาศกําหนดวันทําการ สํารวจรังวัดตามวันและเวลา
สํารวจรังวัด

นําหรือสงตัวแทนนํา ใหถือวายังประสงค
พนักงานเจาหนาที่เดิน จะไดสิทธิในที่ดินนั้น
สํารวจตามกําหนดวันและ
เวลา

ดําเนินการตาม ม.58 ทวิ

ดู ช. 37

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


46 (ช.32)
มาตรา 30, 31, 32 และ 33
การจัดที่ดินและการออกเอกสารสิทธิในที่ดินจากการจัดที่ดิน
ปจจุบันมีมติคณะรัฐมนตรี เมือ่
การจัดที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน
วันที่ 22 มิ.ย.2525 ใหกรมที่ดิน
ระงับโครงการจัดทีด่ ินผืนใหญ
(การจัดที่ดินในขณะนี้เปนการจัด
เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล) 1. ประเภทจัดที่ดินผืนใหญ 2. ประเภทจัดที่ดินแปลงเล็กแปลงนอย

การจัดที่ดินผืนใหญในขณะนี้เปน ที่ดินของรัฐที่นํามาจัดตองมี ที่ดินของรัฐที่นํามาจัดตองมีเนื้อที่ตงั้ แต 1,000


การจัดเพื่อสนับสนุนนโยบายของ เนื้อที่อยูติดตอกันตัง้ แต 1,000 ไร ลงมา มีพื้นที่กระจัดกระจายไมติดตอกัน
รัฐบาล ไร ขึ้นไป

เชน โครงการอันเนื่องมาจากพระราช เปนการจัดที่ดิน ตาม ม.27 เปนการจัดที่ดินตาม ม. 33


ดําริ โครงการพัฒนาเพื่อความ
มั่นคง โครงการหมูบานปองกัน
ตนเองชายแดน ทับทิมสยาม ลักษณะที่ดินของรัฐที่นํามา หลักเกณฑวธิ ีการ
เปนตน จัดใหประชาชน

ในเขตทองที่ที่ยังไมประกาศเขต
สํารวจตาม ม.25 หรือ สภาพเปนที่ดิน
ระเบียบวาดวยการจัดที่ดินเพื่อประชาชน พ.ศ. 2498
แปลงเล็กแปลงนอย (ม.33)
1 ที่ดินซึ่งมิไดมีบุคคลใดมีสิทธิครอบครอง และมิใชสาธารณ
สมบัติของแผนดินอันราษฎรใชประโยชนรวมกัน หรือมิใชที่สวน
หวงหาม หรือมิใชที่เขา ที่ภูเขา ราษฎรสามารถขอ คุณสมบัติเชน
2. ที่ ดิ น อั น เป น สาธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ที่ ร าษฎรเคยใช อนุญาตจับจองที่ดินได เดียวกับผูไดรับ
ประโยชนรวมกันแตปรากฏวาราษฎรมิไดใชประโยชนตอไปแล ว การจัดที่ดินตาม
หรือรัฐหาที่ดินอื่นใหราษฎรใชประโยชนรวมกันแทน และไดมีพระ ม.27
ราชกฤษฎีกาถอนสภาพที่สาธารณประโยชนนั้นแลว ลักษณะที่ดินของรัฐ
3. ที่ดินซึ่งมีผูเวนคืนสิทธิในที่ดินใหแกรัฐ หรือทอดทิ้งไมทํา ที่นํามาจัดใหประชาชน
ประโยชนหรือปลอยใหเปนที่รกรางวางเปลาจนตกเปนของรัฐตาม
ประมวลกฎหมายที่ดิน
โดยปฏิบัติตามระเบียบ
ขอบังคับ ขอกําหนด และ
เงื่อนไขที่คณะกรรมการ
กําหนด

เมื่อไดจัดใหบุคคลเขาครอบครอง
ในที่ดินรายใดแลว (ม.30) ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดิน
แหงชาติวาดวยการจัดที่ดินเพื่อ
ประชาชน (ฉบับ 1) แกไขโดย ฉ. 5, 6

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


47

ออกใบจองใหไวเปนหลักฐานกอน พนักงานเจาหนาที่

ทองที่ที่ยกเลิกอํานาจนายอําเภอฯ แลว ทองที่ที่ยังไมยกเลิกอํานาจนายอําเภอ

ผูเปนพนักงานเจาหนาที่ มีอํานาจเพิกถอน ผูเปนพนักงานเจาหนาที่


ในการออกใบจอง ใบจองดวย ในการออกใบจอง

คําสั่งกระทรวง เจาพนักงานที่ดิน ระเบียบกรมที่ดินวาดวย นายอําเภอหรือปลัดฯ


มหาดไทย ที่ 152/2540 จังหวัด หรือ เจาฯ การเพิกถอน และจําหนาย หัวหนากิ่งอําเภอที่ที่ดิน
ลว. 19 มี.ค.2540 สาขา ที่ที่ดินตั้งอยู ใบจองออกจากทะเบียน ตั้งอยู
ที่ดิน พ.ศ. 2527

คําสั่งกระทรวง
แบบใบจอง (น.ส.2 ก.) แบบใบจอง (น.ส.2)
มหาดไทย ที่
477/2498 ลว.13
พ.ค.2498
การเพิกถอนและ ใหแกผูไดรับการจัดที่ดิน
จําหนายใบจอง
เมื่อผูไดรับการจัดใหเขา ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดิน
ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการเพิก ครอบครองที่ดิน แหงชาติ วาดวยการจัดที่ดินเพื่อ
ถอนและจําหนายใบจองออกจาก ประชาชน (ฉบับที่ 1)
ทะเบียน พ.ศ. 2527
ทําประโยชนในที่ดินและปฏิบัติตาม
ระเบียบครบถวนแลว
1. ทําประโยชนภายใน 6 เดือน นับแต
ไดรับใบจอง
2. ตองทําประโยชนเสร็จภายใน 3 ป
เพิกถอนใบจอง จําหนายใบจอง
(กรณีทําประโยชนแลว 3 ใน 4 สวน
ถือวาเสร็จ)
ออกไปโดยไมชอบดวย ถูกอธิบดีสั่งใหออกไปจาก
ระเบียบฯ ที่ดินและสิ้นสิทธิในที่ดิน

ทําประโยชนในที่ดินและปฏิบัติ ไมปฏิบัติตามระเบียบฯ ของ


ตามระเบียบฯ ครบถวน คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ

พนักงานเจาหนาที่ ไมดําเนินการทําประโยชนภายใน ทําประโยชนไมเสร็จ


6 เดือน นับแตไดรับใบจอง ตามระเบียบฯ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


48

ออกหนังสือแสดง ออกใหไดทั้งกรณีเดิน พนักงาน เฉพาะสวน สวนที่ทําเสร็จ


สิทธิในที่ดินให สํารวจหรือเฉพาะราย เจาหนาที่ ที่ทําประโยชน
โดยเร็ว ก็ได รายงาน ไมแลวเสร็จ ออกหนังสือแสดง
สิทธิในที่ดิน

โฉนดที่ดินหรือหนังสือ อธิบดีกรมที่ดิน ดูแผนภูมิดาน


รับรองการทําประโยชน ปฏิบัติตาม
ที่ออกจากใบจอง (ม.31) เนื่องจาก ม.31 ถูกแกไขครั้งแรกโดย ระเบียบ
มีอํานาจสั่งใหออก
ปว.ฉบับที่ 334 มีผลใชบังคับ 14 ธ.ค.
จากที่ดินนั้น
2515 โดยแกไขเปลี่ยนแปลงเรื่องการ ดูหมวด 7 ระเบียบวา
หามโอนใหแกผูอื่น หามโอน ดวยการจัดที่ดินเพื่อ
นับตั้งแตวันที่
ประชาชน
ไดรับ คําสั่ง
(1) ออกจากใบจองที่ (2) ออกจากใบ เหตุที่ยึดเอา บุคคลนั้นเปนอัน
สิทธิอันจะพึงได
ออกในหรือหลัง 14 จองที่ออกกอน วันที่ 14ธ.ค. ขาดสิทธิ
ตามระเบียบ
ธ.ค.2515 14 ธ.ค.2515 2515 เปนหลัก
ขอบังคับทันที
บุคคลนั้น
หามโอน 10 ป นับ เฉพาะที่รัฐชวยเหลือ รัฐไมไดชวย ไมพอใจคําสั่ง อธิบดีกรมที่ดิน
แตวันไดรับโฉนด สาธารณูปโภคและ สาธารณูปโภค มอบอํานาจให
ที่ดินหรือหนังสือ อื่น ๆ เนื่องจากการ ผูวาราชการ
มีสิทธิอุทธรณตอ
รับรองการทํา จัดที่ดิน จังหวัดปฏิบัติ
ไมหามโอน รัฐมนตรี (มท)
ประโยชน ราชการแทนตาม
คําสั่งกรมที่ดิน ที่
ภายใน 30 2185/2546 ลว.24
วันนับแต ต.ค.2546
ถาครั้งแรกออกเปนหนังสือรับรอง หามโอน 5 ป นับแต
วันไดรับ
การทําประโยชน ตอมาระหวางหาม วันไดรับโฉนดที่ดิน
คําสั่ง
โอนไดออกเปนโฉนดที่ดิน การนับ หรือหนังสือรับรอง
วิธีการอื่นตามคําสัง่
ระยะเวลาหามโอนใหนับตอเนื่อง การทําประโยชน
กระทรวงมหาดไทย ที่
กันไป
1331/2507 ลว.9 พ.ย.2507

ภายในกําหนดหามโอนที่ดิน ยื่นผานนายอําเภอหรือปลัดฯ
นั้นไมอยูในขายบังคับคดี หัวหนากิ่งอําเภอที่ที่ดินตั้งอยู

เชน จํานองได
แตบังคับขาย
ทอดตลาดไมได

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


49

ขอยกเวนการหามโอน รัฐมนตรีตองวินิจฉัยสั่ง การนับ 60 วัน ใหนับตั้งแต


1. ตกทอดทางมรดก (แลวหามโอนตอไปจนครบ การภายใน 60 วัน นับแต นายอําเภอ
กําหนด) วันไดรับอุทธรณ หรือปลัดอําเภอหัวหนากิ่ง
2. โอนใหทบวงการเมือง, องคการของรัฐบาลตาม อําเภอรับอุทธรณ
กฎหมายวาดวยการจัดตั้งองคการของรัฐบาล,
รัฐวิสาหกิจ ที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ
(การหามโอนหมดไป) สั่งภายใน 60 วัน ไมสั่งภายใน 60 วัน
3. โอนใหแกสหกรณเพื่อชําระหนี้ โดยไดรับ
อนุมัติจากนายทะเบียนสหกรณ (แลวหามโอน
ตอไปจนครบกําหนด)
เปนไปตามสั่ง ถือวารัฐมนตรีสั่งใหมี
สิทธิครอบครองตอไป
การจดแจงหามโอน
คําสั่งเปนที่สุด
แตจะตองปฏิบัติตาม เริ่มตนใหม
จดแจงในสารบัญจดทะเบียนทั้งฉบับ ระเบียบฯ ตามเดิม
สํานักงานที่ดินและฉบับเจาของดวย
หมึกแดง
คําสั่งเปนที่สุด

เปนคําสั่งทางปกครอง

- เปนการสิ้นสุดในทางฝาย
บริหารเทานั้น สามารถโตแยง
ไดโดยการใชสิทธิทางศาล

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


50 (ช.33)
หมวด 3
การกําหนดสิทธิในที่ดิน
มาตรา 34 – มาตรา 49 ถูกยกเลิกโดยประกาศของคณะปฏิวัตฉิ บับที่ 49 ลงวันที่ 13 มกราคม 2515
มาตรา 50, 51, 52, 53, 54, 55 กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 อธิบดีใชอํานาจจําหนายที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน

อธิบดีกรมที่ดิน

เปนผูมีอํานาจจําหนายที่ดินตาม ตามประมวลกฎหมายที่ดินบัญญัติให
ประมวลกฎหมายที่ดิน เปนอํานาจของอธิบดีกรมที่ดิน

ในกรณีดังนี้

กรณีคนไทยมีที่ดินเกินกวา กรณีเกี่ยวกับสิทธิใน กรณีเกี่ยวกับคนตางดาว กรณีคาที่ดิน


จํานวนที่กฎหมายกําหนด ที่ดินเพื่อการศาสนา นิติบุคคลที่ถือเสมือนคน (ปจจุบันยกเลิกแลว)
(ปจจุบันกฎหมายสวนนี้ยกเลิกแลว) ตางดาว

มาตรา 102 ผูทําการคา


มาตรา 39 มาตรา 47 มาตรา 85 กรณี วัดวาอาราม มาตรา 90 มาตรา 91 ที่ดินไมปฏิบัติตาม
และมาตรา 48 วัดบาทหลวงโรมันคาธอลิก มาตรา 92 มาตรา 94 เงื่อนไขหรือไมสามารถ
มูลนิธิเกี่ยวกับคริสตจักรหรือ มาตรา 95 มาตรา 96 จําหนายหมดภายใน 3
มัสยิดอิสลาม ถือที่ดินเกิน มาตรา 96 ทวิ มาตรา 99 ป นับแตวันไดรับ
กําหนดตามมาตรา 84 อนุญาต
คนไทยถือครองที่ดนิ เกิน
จํานวนเปนการฝาฝน ม.49 มี
การสั่งใหจําหนายแลว แตไม เปนกรณีคนตางดาว
ปจจุบัน มาตราดังกลาว
จําหนายภายในกําหนด อธิบดี ไมจําหนายที่ดินภายใน 5 ป ไดมาซึ่งที่ดินโดยไม
ยกเลิกแลว อํานาจของ
จึงใชอํานาจจําหนาย ชอบดวยกฎหมาย
อธิบดีในสวนนี้จึงถูก
หรือไมไดรับอนุญาต
ยกเลิกตามไปดวย
หรือไมปฏิบัติตาม
ปจจุบัน มาตราดังกลาว เงื่อนไข ฯลฯ
ยกเลิกแลว อํานาจของอธิบดี
ในสวนนี้จึงถูกยกเลิกตามไป
ดวย

อธิบดีกรมที่ดินมี อธิบดีกรมที่ดินสั่งใหจําหนายแลว
อํานาจจําหนาย ไมจําหนายตามกฎหมาย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


51

มาตรา 50
การจําหนายที่ดิน

หากอธิบดี วิธีการจําหนาย การตกลงกับผูมีสิทธิในที่ดิน คาธรรมเนียม


จําหนาย
ไมได
โดยการขาย
ภายใน 2 ป สวนของที่ดินที่จะ ราคาที่ดินที่จะ อธิบดีมีอํานาจเรียก
หรือใหเชา
ซื้อตาม จําหนาย (ม.51) จําหนาย (ม.52) คาธรรมเนียม
ใหอธิบดีขอ
หลักเกณฑ
อนุมัติรัฐมนตรี
และวิธีการ ไมเกินรอยละ 5 ของ
(มท.) ผูมีสิทธิในที่ดิน พนักงานเจาหนาที่
ที่กําหนดใน ราคาที่จําหนาย
ที่จะถูกจําหนาย แจงใหผูมีสิทธิใน
ขายโดยผอนสง ที่ดินทราบ
วาอธิบดีกรมที่ดินจะใช
ภายใน 10 ป
อํานาจจําหนายที่ดิน
มีสิทธิตกลงกับ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 พนักงานเจาหนาที่
ลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน

(1) กรณีขาย (2) กรณี


จะใหจําหนายที่ดิน
ใหเชาซื้อ ครบกําหนดแลว
แปลงใดหรือสวนที่ดิน
ตอนใด
- โดยวิธีซื้อ - โดยวิธีซื้อ พนักงานเจาหนาทีต่ กลงกับ
ขายธรรมดา ขายธรรมดา ผูมีสิทธิในที่ดิน
- โดย - โดย ตกลงกันได ไมสามารถตกลงกันได
ประกวดราคา ประกวดราคา
- โดยการ - โดยการ เกี่ยวกับราคาที่ดิน
จําหนายตาม เสนอเรื่อง
ทอดตลาด ทอดตลาด แปลงหรือสวนที่
(โดยอนุโลม ตกลงกัน
ตาม (1)) คณะกรรมการจัด ตกลงกันได ไมสามารถ
ที่ดินแหงชาติชี้ขาด ตกลงกันได

ผูมีสิทธิในที่ดินมีสิทธิเสนออธิบดี
วาควรจําหนายวิธีใดก็ได จําหนายตาม
ที่มีคําชี้ขาด
หากอธิบดีเห็นสมควรจะแบงที่ดิน
ออกเปนแปลง ๆ เพือ่ จําหนายก็ได
สวนราคาที่ดินดําเนินการ
การขายหรือการใหเชาซื้อ ตาม ม.52

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


52

ดําเนินการในทองที่ซึ่งที่ดิน กําหนดราคาตาม นําบทบัญญัติวาดวยการกําหนดราคา


ตั้งอยู ที่ตกลงกัน อสังหาริมทรัพยโดยอนุญาโตตุลาการ
ตามกฎหมาย วาดวยการเวนคืน
อสังหาริมทรัพยมาใชบังคับโดยอนุโลม
กอนจําหนายตองประกาศให
ประชาชนทราบ

มีกําหนด 30 วัน
ราคาที่ดินที่จะพึงตกลงหรือที่จะพึง
กําหนดโดยอนุญาโตตุลาการ

ปดประกาศ ณ
1. สํานักงานที่ดินจังหวัด/สาขา ใหถือราคาตลาดในวันที่พนักงาน
2. ที่วาการอําเภอหรือกิ่งอําเภอ เจาหนาที่แจงใหผูมีสิทธิในที่ดินทราบ
3. ที่บานกํานันและ วาอธิบดีจะใชอํานาจจําหนายที่ดิน
4. บริเวณที่ดินที่จะขาย
5. ในเขตเทศบาล (ถาอยูในเขต)
6. จะประกาศหนังสือพิมพรายวันดวยก็ได นับแตวันที่พนักงานเจาหนาที่แจงใหผูมี
สิทธิในที่ดินทราบวาอธิบดีจะใชอํานาจ
จําหนายที่ดิน (ม.53)

เมื่อครบกําหนดประกาศ
อธิบดีมีอํานาจครอบครองที่ดิน กรณีที่มีสัญญาเชาตออยู
ทันที
ถามีผูเสนอราคา (ซื้อหรือขอเชาซื้อ)
สัญญาเชาเปนอันระงับไป
เทากับหรือสูงกวาราคาตาม ม.52)
และใหผูมีสิทธิในที่ดิน บริวาร ผูเชา
ผูอาศัย และบุคคลอื่นใดที่อยูใน
ในวันที่พนักงานเจาหนาที่
ที่ดินนั้น
เมื่อผูมีสิทธิในที่ดินยินยอม แจงใหผูมีสิทธิในที่ดินทราบ
วาอธิบดีจะใชอํานาจจําหนาย
ที่ดิน
ดําเนินการขายหรือใหเชาซื้อตาม ออกจากที่ดินภายใน 1 ป
ราคาดังกลาวได

การชําระเงินใหแกผูมีสิทธิในที่ดินเดิม การชําระเงินของผูซ ื้อหรือเชาซือ้


(ม.54)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


53

ใหผูซื้อหรือผูเชาซือ้ ชําระราคาที่ดิน
ซื้อขายเด็ดขาด เชาซื้อหรือ
ผอนชําระราคา

ชําระกอน 20 % สวนที่เหลือ 80%


หักคาธรรมเนียมไม อธิบดีกรมที่ดิน
เกิน 5 % ของราคา
ขาย กรณีซื้อขายเด็ดขาด กรณีเชาซื้อหรือซือ้ โดย
ชําระราคาใหแก
ผอนชําระราคา
ผูมีสิทธิในที่ดิน
เหลือมอบใหผูมี ใหชําระใหเสร็จในวัน
จดทะเบียนโอน ใหคํานวณราคาที่จะพึงผอนชําระ
สิทธิในที่ดินเดิม เปนงวด ๆ ใหเสร็จสิ้น
เปนงวด ๆ ใหเสร็จสิ้นภายใน
ภายในเวลา
กําหนดเวลาตาม ม.54

ใหผอนชําระใหแลวเสร็จภายใน 10 ป
กรณีจําหนายตาม ม.39 กรณีการจําหนายตามมาตรา
(ปจจุบัน ม.39 ถูกยกเลิก อื่น
แลว) (ปจจุบันใชเฉพาะสวนนี้) คิดดอกเบี้ยรอยละ 3 ดอกเบี้ยใหแก
ตอป ของราคาที่ดนิ ที่ ผูมีสิทธิใน
คางชําระ ที่ดินเดิม
ผอนชําระราคาที่ดนิ ผอนชําระราคาที่ดนิ
ภายใน 5 ป ภายใน 10 ป

ถาผูซื้อหรือผูเชาซือ้ ไมปฏิบัติตาม
เงื่อนไขในสัญญาซือ้ ขาย/เชาซื้อ
คิดดอกเบี้ย 3 % ตอป ของ (ม.55)
ราคาที่ดินที่คางชําระจากผู
ซื้อหรือผูเชาซื้อ
อธิบดีมีอํานาจ

ใหแกผูมีสิทธิในที่ดินเดิม เรียกที่ดินคืน

ที่ดินตกเปนของกรมที่ดิน ในวันที่ผูซื้อหรือผูเชาซื้อทราบ
หรือควรจะไดทราบถึงการ
เรียกที่ดินคืน
กฎหมายไมไดระบุวาเรียกคืนมาแลว
จะทําอยางไรตอไปกับที่ดินนั้น

นาจะตองนํามาจําหนายใหม หากเจาของที่ดินเดิม
ยังไดเงินคาที่ดินไมครบ (ความเห็นสวนตัว)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


54 (ช.34)
หมวด 4
การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
มาตรา 56, 57 หลักเกณฑและวิธีการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน

การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน

ภายใตบังคับมาตรา 56/1 แบบ หลักเกณฑและ ขอความในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน


วิธีการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน (ม.57)
(ม.56)

โฉนดที่ดิน และ หนังสือรับรองการทําประโยชน


- ใบจอง
- หนังสือรับรองการทําประโยชน
- ใบไตสวน
ใหมีขอความสําคัญดังนี้
- โฉนดที่ดิน
- ใบแทนหนังสือขางตน
1. ชื่อตัว ชื่อสกุลของผูมีสิทธิในที่ดิน

กําหนดในกฎกระทรวง รวมถึงเลขระวาง เลขที่ดิน


2. ที่อยูของผูมีสิทธิในที่ดิน
หนาสํารวจ เลขโฉนดที่ดิน
กฎกระทรวงฉบับที่ 43 ตําบล อําเภอ จังหวัดซึ่งเปน
3. ตําแหนงที่ดิน
(พ.ศ. 2537) ที่ตั้งของที่ดินนั้น

ดู ช. 78 หมายเลขประจําทีด่ ินใน
เลขโฉนดที่ดิน อําเภอหนึ่ง (ขึ้นอําเภอใหมให
เลขโฉนดที่ดินเริ่ม 1 ใหม)
หลักเกณฑตามมาตรา
56/1 และ ระเบียบฯ
หมายเลขกํากับแปลงที่ดิน
ดู ช. 35 และ 36 เลขที่ดิน ระวางหนึ่ง (ทุกระวางจะ
ตั้งเลขที่ดินของตนใหม
เริ่มจาก 1 เปนตนไป)

หมายเลขกํากับแปลงที่ดินใน
หนาสํารวจ ตําบลหนึ่ง (ขึ้นตําบลใหมให
เลขโฉนดที่ดินเริ่ม 1 ใหม)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


55

4. จํานวนเนื้อที่

กรณีหนังสือรับรองการทํา
5. รูปแผนที่ของที่ดิน ประโยชนในทองที่ที่ยังไมมีการ
แปลงนั้น ซึ่งแสดงเขต ประกาศยกเลิกอํานาจหนาที่ของ
ขางเคียงทั้ง 4 ทิศ นายอําเภอฯ ผูมีอาํ นาจลงลายมือ
ชื่อยังคงเปนนายอําเภอหรือ
ปลัดอําเภอผูเปนหัวหนากิ่งฯ
6. ใหเจาพนักงานที่ดิน
เหมือนเดิมโดยปฏิบัติการตาม
จังหวัด เจาพนักงานที่ดิน
ม.ที่ดินตอไป จนกวารัฐมนตรี
จังหวัดสาขา หรือเจา จะไดประกาศยกเลิกอํานาจ
พนักงานที่ดิน ซึ่งอธิบดี ซึ่งเปนไปตาม ม .19 แหง พ.ร.บ.
มอบหมายเปนผูลงลายมือ แกไขเพิ่มเติมฯ (ฉ.4) พ.ศ. 2528
ชื่อ และประทับตราประจํา
ตําแหนงของเจาพนักงาน ตองเปนผูซึ่งรัฐมนตรีวาการ
กระทรวง มหาดไทยใชอํานาจตาม
ที่ดินเปนสําคัญ
ม.15 พ.ร.บ.ใหใชฯ แตงตั้งเปน
เจาพนักงานที่ดินแลว อธิบดีจึง
จะมีอํานาจมอบหมายใหลงนาม
จํานวนฉบับเอกสารสิทธิ 7. สารบัญสําคัญจด
ในที่ดิน ทะเบียน
ปจจุบันมี
- ผอ.ศูนยเดินสํารวจ
โฉนดที่ดิน หนังสือรับรองการทําประโยชน - เจาพนักงานที่ดิน
หัวหนาสวนแยก

จัดทําเปนคูฉบับ รวม 2 ฉบับ

มอบให

ผูมีสิทธิในที่ดิน 1 ฉบับ เก็บไวที่สํานักงานที่ดิน 1 ฉบับ


กรณีรูปถาย ถายจําลองเฉพาะขอความ 1 – 5 แลวนํามาให
ฉบับนี้จะจําลองเปนรูปถายหรือจัดเก็บโดยระบบ เจาพนักงานที่ดินลงลายมือชื่อ พรอมประทับตราประจํา
เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารก็ได ตําแหนงซึ่งตองลงจริงจะจําลองไมได

รองรับระบบการ กรณีจัดเก็บโดยระบบเทคโนโลยี ใหถือเสมือนเปนตนฉบับ


จดทะเบียนตาง สารสนเทศและการสื่อสาร
สํานักงานที่ดิน
เอกสารในระบบคอมพิวเตอร
ที่กรมที่ดินกําหนด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


56 (ช.35)
มาตรา 56/1 หลักเกณฑการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดนิ ที่มีอาณาเขตติดตอคาบเกี่ยว
หรืออยูในเขตที่ดินของรัฐทีม่ ีระวางฯ
มาตรา 5 ประกาศในราชกิจจา
พ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติม ป.ที่ดิน (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 นุเบกษา เลม 125
ตอน 29 กฯ ลงวันที่
6 กุมภาพันธ 2551
เพิ่ม มาตรา 56/1 แหงประมวลกฎหมายที่ดิน

การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน

เฉพาะกรณีที่ดินที่ขอออกเปนที่ดินที่มีลักษณะ

ที่ดินที่มีอาณาเขตติดตอคาบเกี่ยวเขตที่ดิน ที่ดินที่อยูในเขตที่ดินของรัฐ
หรือ
ของรัฐ

และเขตที่ดินของรัฐนั้นมีระวางแผนที่รูปถายทางอากาศ
หรือ ระวางรูปถายทางอากาศ

พนักงานเจาหนาทีจ่ ะออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทํา
ประโยชนไดตองดําเนินการอยางใดอยางหนึ่ง

1. ตรวจสอบกับระวางแผนที่รูปถายทางอากาศ หรือ หรือ 2. ตรวจสอบดวยวิธีอื่น


ระวางรูปถายทางอากาศ
ตามระเบียบที่อธิบดีกรมที่ดินกําหนด
ฉบับที่ทําขึ้นกอนสุดเทาที่ทางราชการมีอยูแลว
ปจจุบัน อธิบดีกรมที่ดินกําหนดเปน
วา
- เปนที่ดินที่สามารถออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการตรวจสอบที่ดินเพื่อ
รับรองการทําประโยชนได ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน
กรณีเปนที่ดินที่มีอาณาเขตติดตอคาบเกี่ยวหรืออยูใน
อยูในหลักเกณฑ เขตที่ดินของรัฐดวยวิธีอื่น พ.ศ. 2551

เวียนตาม
พนักงานเจาหนาทีอ่ อกโฉนดที่ดินหรือ
- หนังสือกรมที่ดิน ดวนที่สุด ที่ มท 0516.2/ว 3996
หนังสือรับรองการทําประโยชนแลวแตกรณี
ลงวันที่ 12 กุมภาพันธ 2551

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


57 (ช.35)
ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการตรวจสอบที่ดินเพื่อออกโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรับรองการทําประโยชน กรณีเปนที่ดนิ ที่มีอาณาเขตติดตอคาบเกี่ยว
หรืออยูในเขตที่ดินของรัฐดวยวิธีอื่น พ.ศ. 2551
(ออกตามมาตรา 56/1 แหงประมวลกฎหมายที่ดิน)
ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการตรวจสอบที่ดินเพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทําประโยชน กรณีเปนที่ดินที่มีอาณาเขตติดตอคาบเกี่ยวหรือ
อยูในเขตที่ดินของรัฐดวยวิธีอื่น พ.ศ. 2551

ผูอํานวยการสํานักมาตรฐานการออก ใชบังคับตั้งแตวันที่ 12 กุมภาพันธ 2551 ออกโดยอาศัยอํานาจ


หนังสือสําคัญ รักษาการตามระเบียบนี้ เปนตนไป มาตรา 56/1 แหง
(ขอ 9) (ขอ 2) ป.ที่ดิน ซึ่งแกไขเพิ่มเติม
โดย พ.ร.บ.แกไขเพิม่ เติม
การบังคับใช - เรื่องออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ ป.ที่ดิน (ฉบับที่ 11) พ.ศ.
รับรองการทําประโยชนที่อยู 2551
ความครอบคลุมของการใชบังคับ ระหวางการดําเนินการของ
ของระเบียบ (คลุมถึงเรื่องที่ยังไม พนักงานเจาหนาที่ และ เจา ตองถือปฏิบัติ
แลวเสร็จ) พนักงานที่ดินยังไมไดลงนาม ตามระเบียบนี้
(ขอ 8)

กรณีมีระเบียบ คําสัง่ ใด บรรดาระเบียบ คําสั่ง หรือหนังสือสั่งการอื่นใดที่กําหนดไวแลวในระเบียบนี้ หรือ


ขัดกับระเบียบนี้ ซึ่งขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ ใหใชระเบียบนี้แทน
(ขอ 3)

คํานิยาม “ที่ดินของรัฐ” หมายถึง


(ขอ 4) - ที่ดินสาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับพลเมืองใชรวมกัน
- ที่สงวนหวงหามตาม ป.ที่ดิน และกฎหมายอื่น
- ที่ดินคณะรัฐมนตรีสงวนไวเพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาติ หรือเพื่อประโยชน
สาธารณะอยางอื่น
เชน - ที่เลี้ยงสัตวสาธารณประโยชน
- ที่ราชพัสดุ
- ปาสงวนแหงชาติ
- อุทยานแหงชาติ
- เขตรักษาพันธุสัตวปา
- เขตหามลาสัตวปา
- เขตที่ไดจําแนกใหเปนเขตปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี
เปนตน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


58

การตรวจสอบที่ดินเพื่อออกโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรับรองการทําประโยชน
(ขอ 5)

1. ตองดําเนินการตามระเบียบ คําสั่ง 2. ตองปฏิบัตติ ามระเบียบกรมที่ดิน


และหนังสือสั่งการที่กําหนด และ วาดวยการตรวจสอบที่ดิน ฯลฯ นี้
หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขไวแลว โดยเครงครัด

การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน

กรณีไมมีหลักฐานเดิม กรณีมีหลักฐานเดิม
(ขอ 6)

ขอออกเอกสารสิทธิในที่ดิน ตาม
ขอออกเอกสารสิทธิในที่ดิน ตาม
- มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง (2) และ (3)
- มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง (1)
แหง ป.ที่ดิน (เดินสํารวจ)
แหง ป.ที่ดิน (เดินสํารวจ)
- มาตรา 59 ทวิ แหง ป.ที่ดิน (เฉพาะราย)
- มาตรา 59 แหง ป.ที่ดิน (เฉพาะราย)

กรณีเฉพาะราย หากไมมีหลักฐานเดิมขอออกโฉนด
เปนกรณี
ที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชนในเขตที่ดิน
1. มีหลักฐานที่ดินเดิมมาดําเนินการ
ของรัฐไมได
2. เปนที่ดินที่มีอาณาเขตติดตอคาบเกี่ยว หรือ
(ที่ดินของรัฐ คือ ที่ดินตามคํานิยามของระเบียบนี้)
อยูในเขตที่ดินของรัฐ
สวนกรณีการเดินสํารวจ กรมที่ดินไมเดินสํารวจ
ในเขตปาอยูแลว
ในการตรวจสอบทีด่ ินเพือ่ ออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทําประโยชน ตอง
ดําเนินการตามระเบียบกรมที่ดินฉบับนี้โดย
เครงครัด

พนักงานเจาหนาทีต่ องดําเนินการ

1. ตรวจสอบหลักฐานที่ดินเดิม 2. ตรวจสอบขางเคียง 3. ตรวจสอบสภาพการทํา


และหลักฐานทางทะเบียนที่ดิน « (ขอ 6(2))
« ประโยชน
(ขอ 6(1)) (ขอ 6(3))

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


59

ใหปรากฏขอเท็จจริงวา ใหปรากฏขอเท็จจริงวา ใหปรากฏขอเท็จจริงวา

1. ผูขอเปนผูมีสิทธิในที่ดินหรือไม - ที่ดินขางเคียงทุกดาน - สภาพการทําประโยชน (มีความ


ประการใด และ ถูกตองตรงกับหลักฐานที่ดิน เปนไป) ตรงกับที่ไดแจงไวใน
2. หลักฐานที่ดินเดิมถูกตองตรงตาม เดิมที่นํามา แสดงหรือไม หลักฐานเดิมที่นํามาขอออกหรือไม
หลักฐานที่ทางราชการมีอยูหรือไม
ประการใด โดยใหดําเนินการ ตัวอยาง
(ตรวจกับฉบับสํานักงานที่ดิน) 1. ตรวจสอบเบื้องตนเกี่ยวกับ - เชน หลักฐานที่ดินเดิมแจงเปนที่นา
ระยะแนวเขตที่ดิน แตที่ดินที่ขอออกเปนปาชายเลน ซึ่ง
บันทึกการตรวจสอบไวในเรื่องดวย 2. บันทึกถอยคําไวเปนหลักฐาน ทํานําไมได
- เจาพนักงานที่ดิน ผล ใหเปนเหตุสงสัยวาที่ดินที่ขอ
กรณีชอื่ ผูขอออกไมตรงกับชือ่ ใน - เจาของที่ดินขางเคียง ออกนั้นเปนที่ดินไมตรงตาม
หลักฐานที่ดินเดิมที่นํามายื่น - ผูปกครองทองที่ หลักฐานที่ดินเดิม
(ขอ 6(4))

หากที่ดินขางเคียงมีความ กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง
ใหสอบสวน « บันทึกถอยคํา
แตกตางหรือเปลี่ยนแปลง เขตการปกครองในพื้นที่นั้น
- ผูขอ
- ผูปกครองทองที่ และ
- ผูที่เชื่อถือได ใหบันทึกเหตุแหงความแตกตาง ใหบันทึกการเปลี่ยนแปลงใหชัดเจน
หรือเปลี่ยนแปลงใหชัดเจน และแนบหลักฐานการเปลี่ยนแปลง
เขตปกครอง (ถามี)
ใหไดความวามีการครอบครอง
1. เปนเพราะเหตุใด
และทําประโยชนตอเนื่องจากผูมี
2. มีความเกี่ยวเนื่องกับที่ดิน
ชื่อในหลักฐานที่ดินเดิม
ขางเคียงเดิมอยางไร
- อยางไร
- ตั้งแตเมื่อใด
รวมไวในเรื่องราวการขอออกโฉนด ฯลฯ
เพื่อประกอบการพิจารณา

กรณีมีเหตุสมควรสงสัยวาที่ดินที่ขอออก
อาจไมตรงกับหลักฐานที่ผูขอนํามาแสดง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


60

สงสัยทั่วไป สงสัยเปนอยางยิง่
(ขอ 6(5))
สอบสวนเพิ่มเติมจนไดขอยุติ
ให (แลวแตกรณีวาผูใดมีอํานาจออกเอกสารสิทธิ
ในที่ดินที่ขอออก)
หมดขอสงสัย กลายเปนสงสัยเปนอยางยิ่ง - เจาพนักงานที่ดินจังหวัด
- เจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา
- เจาพนักงานที่ดินหัวหนาสวนแยก
สามารถออก ไมสามารถออก - นายอําเภอ
โฉนด ฯลฯ ได โฉนด ฯลฯ ได - ปลัดอําเภอผูเปนหัวหนาประจํากิ่งอําเภอ
- ผูอํานวยการศูนยเดินสํารวจ

แตงตั้งคณะกรรมการอยางนอย 3 คน

เพื่อพิจารณาตรวจสอบ
- สภาพที่ดิน และ
- การครอบครองทําประโยชน

ใหไดขอเท็จจริงวาที่ดินที่ขอออก
1. เปนที่ดินที่ตรงตําแหนงตามหลักฐานที่
นํามาแสดงหรือไม อยางไร
2. มีหลักฐานใดประกอบการตรวจสอบ

คณะกรรมการรายงานผล

ผูแตงตั้ง (คือผูมีอาํ นาจออกเอกสารสิทธิใน


ที่ดินประเภทนั้น)

เพื่อใชรายงานนั้นประกอบการพิจารณา
ดําเนินการใหแกผูขอ

ผลการตรวจสอบตามวิธีการในขอ 6 แลว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


61

ไดขอยุติวา ไมไดขอยุติวา
- ที่ดินที่ขอออกตรงตาม - ที่ดินที่ขอออกตรงตามหลักฐานที่
หลักฐานที่นํามาแสดง และเปน นํามาแสดง และเปนที่ดินอยูใน
ที่ดินอยูในหลักเกณฑออกโฉนด หลักเกณฑออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
ที่ดินหรือหนังสือรับรองการทํา รับรองการทําประโยชนไดหรือไม
ประโยชนได (ขอ 7)

พิจารณาดําเนินการเพื่อออกเอกสาร ใหดําเนินการตรวจสอบกับ
สิทธิในที่ดินใหตามหลักเกณฑและ - ระวางแผนที่รูปถายทางอากาศ หรือ
วิธีการตอไป จนครบถวนตาม - ระวางรูปถายทางอากาศ ฉบับที่ทําขึ้น
ขั้นตอนและหลักเกณฑที่กฎหมาย กอนสุด เทาที่ทางราชการมีอยู (ตรวจสอบ
และระเบียบกําหนดไว กับแผนที่ภาพถายทางอากาศของกรมแผน
ที่ทหาร)

ใหไดขอยุติวา
- เปนที่ดินที่สามารถออก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทําประโยชนไดหรือไม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


62 (ช.37)
มาตรา 58, 58 ทวิ การเดินสํารวจทั้งตําบล

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
(ม.58)

เดินสํารวจเฉพาะพืน้ ที่ที่มีระวาง เห็นสมควรใหมีการออกโฉนดที่ดิน หนังสือรับรองการทําประโยชน


แผนที่รูปถายทางอากาศ หรือระบบ หรือหนังสือรับรองการทําประโยชน เฉพาะ น.ส.3 ก. เทานั้น
UTM หรือระวางรูปถายทางอากาศ
ในจังหวัดใด ปใด

ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

ประกาศกําหนดจังหวัดที่จะทําการสํารวจ เขตจังหวัดที่ประกาศกําหนดนี้
ตองประกาศในราชกิจจานุเบกษา รังวัดทําแผนที่ หรือพิสูจนสอบสวนการ ไมรวมทองที่ที่ราชการได
ทําประโยชนสําหรับปนั้น จําแนกใหเปนเขตปาไมถาวร

เมื่อมีประกาศรัฐมนตรีฯ แลว เขตปาไมถาวรไมมี ก.ม.กําหนดไว


โดยตรงใหเปนปาอีกประเภทหนึ่ง
แตกตางไปจากปาที่มีกฎหมาย
ผูวาราชการจังหวัดในจังหวัดที่ถูกกําหนด
กําหนดไว แตปาไมถาวรเกิดจากมติ
ค.ร.ม.เมื่อวันที่ 14 พ.ย. 2504 ให
ประกาศกําหนด จําแนกที่ดินที่เปนเขตปาที่จะทําการ
สงวนคุมครองไวเปนสมบัติของชาติ
โดยถาวรสืบไปเปนเขตปาไมถาวร
ทองที่ และ วันเริ่มตนการเดินสํารวจ
(วาจะเดินสํารวจในตําบล อําเภอใด) รังวัดในทองที่นั้น
ปาไมถาวรเกิดขึ้นโดยมติ
คณะรัฐมนตรี การยกเลิกเขตปา
1. สํานักงานที่ดิน ไมถาวร จึงตองทําโดยมติ
ปดประกาศ ประกาศกอนวันเริม่ ตน
2. ที่วาการอําเภอ/ทีว่ าการกิง่ อําเภอ คณะรัฐมนตรีเชนเดียวกัน และ
ณ สํารวจไมนอยกวา 30 วัน
3. ที่ทําการกํานัน และ เขตปาไมถาวรมีสภาพตาม
4. ที่ทําการผูใหญบานแหงทองที่ กฎหมายเปนปาตาม ม.4(1) แหง
เมื่อผูวาราชการจังหวัดประกาศกําหนด พ.ร.บ.ปาไม พ.ศ. 2484
(ที่จะเดินสํารวจ)
ทองที่ และวันเริ่มตนสํารวจแลว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


63

- บุคคลตามมาตรา 58 ทวิ ว.2


บุคคลตาม ม.58 ทวิ ว.2 หรือ (1) ผูซึ่งมีหลักฐานการแจงการครอบครองที่ดิน
ตัวแทนของบุคคลดังกลาว (ส.ค.1) มีใบจอง ใบเหยียบย่ํา หนังสือรับรองการทํา
ประโยชน โฉนดตราจอง ตราจองที่ตราวา “ไดทํา
ประโยชนแลว” หรือเปนผูมีสิทธิตามกฎหมายวา
ตามวันและเวลาที่พนักงาน นําพนักงานเจาหนาที่
ดวยการจัดทีดินเพื่อการครองชีพ (ใหรวมถึงผูซึ่งได
เจาหนาที่ไดนัดหมาย หรือผูซึ่งพนักงาน
ครอบครองและทําประโยชนในที่ดินตอเนื่องมรจาก
เจาหนาที่มอบหมาย
บุคคลที่แจง ส.ค.1 ดวย)
ฝาฝนไมนําหรือไมตั้งตัวแทนนําฯ (2) ผูซึ่งไดปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี (ดู ช. 31)
เพื่อทําการสํารวจรังวัดทํา
(3) ผูซึ่งครอบครองและทําประโยชนในที่ดิน
แผนที่หรือพิสูจน
มีความผิดตาม ม.107 ภายหลังวันที่ประมวลกฎหมายนี้ใชบังคับ และไมมี
สอบสวนการทําประโยชน
จอง ใบเหยียบย่ํา หรือไมมีหลักฐานวาเปนผูมีสิทธิ
ในที่ดินของตน
ระวางโทษปรับไมเกิน 500 บาท ตามกฎหมายวาดวยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ

เมื่อไดสํารวจรังวัดทําแผนที่ กรณีเดินสํารวจพิสจู นสอบสวนการทํา


หรือพิสูจนสอบสวนการทํา ประโยชนเพื่อออกหนังสือรับรองการ
ประโยชนในที่ดินเรียบรอยแลว ทําประโยชน (น.ส.3 ก.)
(ม.58 ทวิ)
เจาพนักงานที่ดินมีอํานาจ
เปนไปตามกฎกระทรวง ปรากฏวาที่ดินที่บุคคลนั้นครอบครอง
ฉบับที่ 43 เปนที่ดินที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือ
น.ส. 3 ก. ไดตาม ป.ที่ดิน แตงตั้งผูซึ่งไดรับการอบรมในการ
พิสูจนสอบสวนการทําประโยชน
ดู ช. 78
พนักงานเจาหนาที่
เปนเจาหนาที่ออกไปพิสูจนสอบสวนฯ
จะออกโฉนดที่ดินหรือ น.ส.3 ก. ให อยูที่วา
เปนการเดินสํารวจออกเอกสารสิทธิในที่ดิน
ออกโฉนดที่ดิน หรือ
ประเภทใด ซึ่งขึ้นอยูวาทองที่นั้นกอนเดิน ในการปฏิบัติหนาที่ดังกลาว
หนังสือรับรอง
สํารวจมีระวางประเภทใด เชน หากเปน เจาหนาที่เปนเจาพนักงานตาม
การทําประโยชน
ระวางแผนที่รูปถายทางอากาศหรือระวาง ประมวลกฎหมายอาญา
(น.ส.3 ก.) ให
แผนที่ ระบบ UTM ก็จะเดินสํารวจออก
โฉนดที่ดิน หรือหากเปนระวางรูปถายทาง
อากาศก็จะเดินสํารวจออก น.ส.3 ก. สวน
น.ส.3 และ น.ส.3 ข. ซึ่งเปนหนังสือรับรอง
การทําประโยชนที่ไมมีระวางจะไมมีการ
เดินสํารวจออกเอกสารสิทธิประเภทนีใ้ ด

(1) ผูซึ่งมีหลักฐานการแจง ส.ค.1 มีใบจอง ใบเหยียบย่ํา (2) ผูซึ่งไดปฏิบัติ (3) ผูซึ่งครอบครองและทําประโยชนใน


หนังสือรับรองการทําประโยชน โฉนดตราจอง ตรา ตามมาตรา 27 ตรี ที่ดินภายหลังวันที่ประมวลกฎหมายนี้ใช
จองที่ตราวา “ไดทําประโยชนแลว” หรือเปนผูมีสิทธิ บังคับ และไมมีจอง ใบเหยียบย่ํา หรือไม
ตามกฎหมายวาดวยการจัดทีดินเพื่อการครองชีพ มีหลักฐานวาเปนผูม ีสิทธิตามกฎหมาย
วาดวยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


64

หมายเหตุ คือบุคคลที่ครอบครอง หมายถึง ผูที่ครอบครองและทําประโยชนใน


การครอบครองตอเนื่องจากผูมี และทําประโยชนกอ น ที่ดิน ตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2497 เปนตนมา
หลักฐาน ส.ค.1 ตาม ม. 58 ทวิ,ม.59 ป.ที่ดินใชบังคับ และแจง
ตองเปนการสงมอบโดยยินยอมและ สิทธิในการเดินสํารวจไว
สมัครใจเทานั้น ไมใชไดมาโดยการแยง
การครอบครองซึ่งถือเปนการเริ่มตน
ดู ช. 31
สิทธิของตนเองใหม มิใชถือเปนการ
ครอบครองตอเนือ่ ง
จํานวนเนื้อที่ที่ออกให

จํานวนเนื้อที่ที่ออกให
ไมเกิน 50 ไร ถาเกิน 50 ไร จะตอง ตามระเบียบคณะกรรมการ
ไดรับอนุมัติจากผูวา ราชการ จัดที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 12
ไมจํากัดเนื้อที่ ออกใหตามหลักฐาน
จังหวัดเปนการเฉพาะราย
แตไมเกินจํานวนที่ทําประโยชนจริง

ไมหามโอน ไมหามโอน หามโอน 10 ป จะออกเกิน 50 ไร ไดตอเมื่อ


ผวจ.ไดตรวจสอบการทํา
ประโยชน
เวนแต
ยกเวน หลักฐานเดิมมีเงื่อนไขการ
หามโอนติดอยู เชน กรณีใบจองหรือ
นําหนังสือรับรองการทําประโยชนที่ 1) เปนการตกทอดทางมรดก (แลวหาม 1. ผูครอบครองไดทํา
อยูระหวางหามโอนมาเดินสํารวจ ก็ โอนตอไปจนครบกําหนด) ประโยชนหรืออํานวยการทํา
ตองหามโอนตามกําหนดของ 2) โอนใหแกทบวงการเมือง องคการของ ประโยชนดวยตนเอง และ
กฎหมายตอไป รัฐบาลตาม กม.วาดวยการจัดตั้งองคการ 2. สภาพการทําประโยชนเปน
ของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดย หลักฐานมั่นคง และมีผลผลิต
พ.ร.บ. (การหามโอน ยกเลิก) อันเปนประโยชนทาง
3) โอนใหแกสหกรณเพื่อชําระหนี้โดย เศรษฐกิจ
ไดรับอนุมัติจากนายทะเบียนสหกรณ
(แลวหามโอนตอไปจนกวาครบกําหนด)
(ขอยกเวนจะเหมือนกรณีออกจากใบจอง) กรณีจํานวนเนือ้ ที่เกิน 50 ไร
ใหออกเทาที่ ผวจ.อนุมัติ
กรณีไมเกิน 50 ไร ใหออก
ภายในกําหนดหามโอนที่ดิน เทาที่ไดทําประโยชนจริง เปน
ไมอยูในขายบังคับคดี อํานาจการสั่งการของ
พนักงานเจาหนาทีไ่ มตองขอ
อนุมัติผูวาฯ เหมือนกรณีเกิน
50 ไร

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


65
(ช.38)
มาตรา 58 ตรี การยายแปลง

หลักการ การยายแปลง ทําไดเฉพาะกรณี น.ส.3 ก.เทานั้น เปน โฉนดที่ดิน

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
(ม.58 ตรี)
ในทองที่ที่ที่ดินซึ่งมีหนังสือรับรอง
การทําประโยชน (น.ส.3) ซึ่งใช
เห็นสมควรใหมีการออกโฉนดที่ดิน ระวางรูปถายทางอากาศ

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย หนังสือรับรองการทําประโยชน


ประกาศกําหนด เฉพาะ น.ส.3 ก. เทานั้น ที่ใชระวาง
รูปถายทางอากาศในการออก

กําหนดทองที่ และ วันที่เริ่มดําเนินการออกโฉนดที่ดิน


ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ 43
(ช. 78)
ประกาศลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน

เมื่อถึงกําหนดวันเริม่ ดําเนินการ (ยายแปลง)

วิธีการทําแผนที่เพือ่ ออกโฉนดที่ดิน การระงับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมใด ๆ

นําหลักฐานเกี่ยวกับระวางรูปถาย ประเภทที่ไมตองรังวัด ประเภทที่ตองรังวัด


ทางอากาศมาปรับแกตามหลัก
วิชาการแผนที่รูปถายทางอากาศ
ไมระงับการจดทะเบียน ระงับการจดทะเบียน

เวนแต โดยไมตองทําการสํารวจรังวัด
ยึดเอาวันเริ่มตนดําเนินการเปนหลัก
เวนแต
ในการระงับการจดทะเบียน
กรณีจําเปนให เมื่อดําเนินการเสร็จ
เจาพนักงาน ในกรณีจําเปน
ที่ดินทําการ
ออกโฉนดที่ดินใหแก
สํารวจรังวัด เจาพนักงานที่ดินอนุญาต
เฉพาะรายได
ผูมีชื่อซึ่งเปนผูมีสทิ ธิใน น.ส.3 ก.

ตามระเบียบคณะกรรมการ
เมื่อจัดทําเสร็จพรอมจะแจก จัดที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 10
กําหนด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


66

เจาพนักงานที่ดินประกาศกําหนด ไมใชเปนประกาศออกโฉนด ขอยกเวน


วันแจกโฉนดที่ดินแกผูมีสิทธิ หาผูคัดคาน ดังนั้น ประกาศ 1. ถูกเวนคืนบางสวนตามกฎหมายเวนคืนฯ
ตาม ม.58 ตรี จึงไมมีการ 2. แบ ง แยกเพื่ อ โอนให แ ก ท บวงการเมื อ ง
รับคําคัดคาน ทั้งนี้ เนื่องจาก รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดย พ.ร.บ. องคการของ
นับตั้งแตวันกําหนดแจกโฉนดที่ดิน
กฎหมายไมไดใหอํานาจไว รัฐบาลตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งองคการ
ของรัฐบาล หรือหนวยงานธุรกิจที่รัฐบาลเปน
น.ส.3 ก. แปลงนั้นเปนอันยกเลิก เจาของ โดยการขาย แลกเปลี่ยน หรือให
3. ศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งถึงที่สุดใหแบงแยก
4. เจาของที่ดินพิสูจนใหเปนที่พอใจของ
เจาพนักงานที่ดินวามีความจําเปนและเรงดวน
ถือวาที่ดินนั้นมีโฉนดที่ดินแลว ใหสงคืน ตองแบงแยกและหากรอไวจะกอใหเกิดความ
(โดยไมตองมีการแจกจริง
เสียหายอยางรายแรงแกเจาของหรือผูรับโอน
เหมือนการออกโฉนดทั่วไป)
เวนแตสูญหาย

การออกโฉนดที่ดินตาม ม. 58
ตรี ไดรับยกเวนคาธรรมเนียม
และคาใชจายตาม ม.103 ว.ทาย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


67 (ช.39)

มาตรา 59 ขอออกเฉพาะราย (มีหลักฐาน)

ผูมีสิทธิครอบครองที่ดิน โดยชอบดวยกฎหมายมีหลักฐาน เชน


(ม.59) ส.ค.1 ใบจอง ใบเหยี ย บย่ํ า หนั ง สื อ
รับรองการทําประโยชน โฉนดตราจอง
ตราจองที่ตราวา “ไดทําประโยชนแลว”
ขอออกโฉนดที่ดิน หรือ เป น ผู มีสิทธิ ต ามกฎหมายวา ด วย
หรือหนังสือรับรอง การจั ด ที่ดิ น เพื่ อ การครองชี พ (บุ ค คล
การทําประโยชน เดียวกับ ตาม ม.58 ทวิ ว.2 (1)

เปนการเฉพาะรายได ผูมีสิทธิครอบครองที่ดินรวมกับ
ผู ซึ่ ง ได ค ร อ บ ค ร อ ง แล ะ ทํ า
ประโยชนในที่ดินตอเนื่องมาจาก
ไมวาทองที่ที่ที่ดินที่มาขอออกจะไดมี ผูซึ่งมีหลักฐานการแจง ส.ค.1 ดวย
ประกาศของรัฐมนตรีตาม ม.58
(เดินสํารวจ) แลวหรือไมก็ตาม
หมายเหตุ
ก า ร ค ร อ บ ค ร อ ง ต อ เ นื่ อ ง จ า ก ผู มี
เมื่อพนักงานเจาหนาที่พิจารณา หลักฐาน ส.ค.1 ตองเปนการครอบครอง
โดยการสงมอบโดยยินยอมและสมัครใจ
ไมใชไดมาโดยการแยงการครอบครองซึ่ง
ตามหลักเกณฑและวิธีการที่
ถือเปนการเริ่มตนสิ ทธิของตนใหม มิใช
ประมวลกฎหมายที่ดินกําหนด
ถือเปนการครอบครองตอเนื่อง

ปจจุบันเปนไปตาม
ฉะนั้น ผูที่แยงการครอบครองที่ดินที่
กฎกระทรวง ฉบับที่ 43
มี ส.ค.1 ยอมไมสามารถนํา ส.ค.1 มา
เปนหลักฐานการออกโฉนดที่ดินหรือ
ดู ช. 78 หนังสือรับรองการทําประโยชนตาม
ม.59 ได

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


68 (ช.40)
มาตรา 59 ทวิ ระเบียบคณะกรรมการฯ ฉบับที่ 12 หมวด 1 การขอออกเฉพาะราย
(ไมมีหลักฐาน)

หลักเกณฑ ผูมีสิทธิขอ ผูครอบครองและทําประโยชนในที่ดิน รวมกับผูซึ่งไดครอบครอง


ตาม ม.59 ทวิ ตอง (ม.59 ทวิ) และทําประโยชนในที่ดิน
ตอเนื่องจากบุคคลดังกลาวดวย

1. กอน ป.ที่ดินใชบังคับ 2. ไมมีหนังสือสําคัญ 3. มิไดแจง 4. ไมรวมถึงผูซึ่งไมปฏิบัติตาม


โดย และ แต
(กอน 1 ธ.ค.2497) แสดงกรรมสิทธิ์ ส.ค.1 ม.27 ตรี (จึงตองเปนบุคคลที่
ไดแจงการครอบครอง (ส.ค.2)
และหรือไดนําเดินสํารวจ)

ความจําเปน เปนไปตามระเบียบ มีความจําเปนจะขอออกโฉนดที่ดิน


ดู ช. 31
คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ ฉบับที่ 12 หรือหนังสือรับรองการทําประโยชน
(1) ที่ดินนั้นถูกเวนคืนตาม กม. เวนคืนฯ
(2) ผูครอบครองและทําประโยชนในที่ดิน แตไมรวมผูที่แยง
จะโอนที่ดินใหแกทบวงการเมืององคการ เปนการเฉพาะราย
การครอบครองดวย
ของรัฐบาลฯ รัฐวิสาหกิจฯ
(3) มีความจําเปนอยางอื่นโดยไดรับอนุมัติ ยื่นคําขอ ตอพนักงานเจาหนาที่ ณ
จากผูวาราชการจังหวัด สํานักงานที่ดินซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยู

พนักงานเจาหนาทีพ่ ิจารณา
เห็นสมควรดําเนินการให

ลักษณะที่ดิน

ที่ดิน ตองเปนที่ดินที่อาจออกโฉนดที่ดิน
ดู ช. 78
หรือหนังสือรับรองการทําประโยชนได

หลักเกณฑและวิธีการตามที่ ป.ที่ดินกําหนด

กฎกระทรวงฉบับที่ 43

จํานวนเนื้อที่ของโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทําประโยชน

ไมเกิน 50 ไร ออกเกินกวา 50 ไร

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


69

เปนอํานาจของเจาพนักงานที่ดิน ตองไดรับอนุมัติจากผูวาราชการจังหวัด

ดําเนินการออกไดเลย โดยไมตอง ตามระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดิน


ขออนุมัติผูวา ราชการจังหวัดกอน แหงชาติ ฉบับที่ 12 หมวด 1

ผูวาราชการจังหวัดจะอนุมัติออกเกิน 50
ไร เมื่อตรวจสอบการทําประโยชนแลว
ปรากฏวา

(1) ผูครอบครองไดทําประโยชนหรืออํานวยการทําประโยชนในที่ดินดวยตนเอง และ


(2) สภาพการทําประโยชนในที่ดินนั้นเปนหลักฐานมั่นคง และมีผลผลิตเปนประโยชนทาง
เศรษฐกิจ

เนื้อที่เขาหลักเกณฑไมเกิน 50 ไร เนื้อที่เขาหลักเกณฑเกิน 50 ไร

ผูวาราชการจังหวัดสั่งไมอนุมัติ พนักงานเจาหนาที่

พนักงานเจาหนาทีด่ ําเนินการออกโฉนดที่ดิน ออกโฉนดที่ดิน หรือหนังสือ


หรือหนังสือรับรองการทําประโยชน รับรองการทําประโยชน

เทาจํานวนเนื้อที่ที่ไดทําประโยชนแลว เทาจํานวนเนื้อที่ที่ผูวาราชการ
ตามกฎกระทรวง (ฉบับที่ 43) จังหวัดสั่งอนุมัติ

แตตองไมเกิน 50 ไร

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


70 (ช.41)
มาตรา 59 ตรี การออกเอกสารสิทธิกรณีเนื้อที่ตางจาก ส.ค.1
ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 12 หมวด 2

การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน ทั้งกรณีเดินสํารวจ
(ม.59 ตรี) และเฉพาะราย

โดยใช ส.ค.1 เปนหลักฐาน ส.ค.1 = ใบแจงการครอบครอง


ตาม ม.5 แหง พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน

ในการรังวัดใหม
(รังวัดออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน) ดู ช. 2

ปรากฏวา

ไดเนื้อที่แตกตางไปจากเนื้อที่ตาม ส.ค.1

พนักงานเจาหนาทีส่ ามารถพิจารณา
ออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน

ไดเทาจํานวนเนื้อที่ที่ไดทําประโยชน

ตามระเบียบคณะกรรมการจัด
ที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 12 หมวด 2

มีอาณาเขต ระยะของแนว มีอาณาเขตและที่ดินขางเคียง ที่ดินมีดานหนึ่งหรือหลายดาน


เขต และที่ดินขางเคียงทุก ทุกดานถูกตองตรงกับ ส.ค.1
ดานถูกตองตรงกับ ส.ค.1
แตระยะของแนวเขตผิดพลาด จดปาหรือที่ ระยะที่วัดเกินกวา
และ
เชื่อไดวาเปนที่ดินแปลงเดียวกัน คลาดเคลื่อน (แตกตางกับ ส.ค.1) รกรางวางเปลา ระยะใน ส.ค.1

แตเนื้อที่ที่คํานวณแตกตาง เมื่อขางเคียงลงชื่อรับรองแนว การรังวัด


จากเนื้อที่ ส.ค.1 เขตไวถูกตองครบถวนทุกดาน

ใหถือระยะตาม ส.ค.1 เปนหลัก


พนักงานเจาหนาที่ ออกใหเทากับจํานวนเนื้อที่ที่
ทําประโยชนแลว
ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ (แมวาในปจจุบันจะมิใชปาหรือที่วางเปลา
รับรองการทําประโยชน การรับรองแนวเขต แตในอดีตเปนปาหรือที่วางเปลา ตามที่
แจงไวใน ส.ค.1 ก็ใชหลักนี้เชนกัน)
เนื้อที่เทากับที่ไดทําประโยชน พนักงานเจาหนาที่
แตไมเกินเนื้อที่ที่คํานวณ
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
71

มีขอความ แจงเปนหนังสือ สงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ


ถาผูมีสิทธิในที่ดินขางเคียงไมมาหรือมา
แต ไม ยอมลงชื่ อรั บรองแนวเขตโดยไม
คัดคานการรังวัด พนกําหนด 30 วัน นับ ติดตอได ติดตอไมได ที่อยูที่เคยติดตอ หรือ ตามที่ขางเคียงได
แตวันทําการรังวัด พนักงานเจาหนาที่ออก แจงไวเปนหนังสือ
โฉนดโดยไมตองมีการรับรองแนวเขต
1. สํานักงานที่ดินจังหวัด
ไมมาหรือมาแตไมยอมลงชือ่ ปดประกาศแจงขางเคียง หรือสาขา
รับรองแนวเขตโดยไมคัดคาน
2. สํานักงานเขต หรือ
ใหมารับรองหรือคัดคาน
ที่วาการอําเภอ กิ่งอําเภอ
พนกําหนด 30 วัน
นับแตวันทําการรังวัด
ไมมาภายใน 30 วัน 3. ที่ทําการกํานัน
นับแตวันปดประกาศ
ออกใหเทาจํานวนเนื้อที่
ที่ไดทําประโยชนแลว 4. ที่ทําการผูใหญบาน
ออกใหเทาจํานวนเนื้อที่
ที่ไดทําประโยชนแลว 5. บริเวณที่ดิน
โดยไมตองรับรอง
แนวเขต
โดยไมตองรับรอง 6. ในเขตเทศบาลที่
แนวเขต สํานักงานเทศบาล

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


72 (ช.42)
มาตรา 59 จัตวา, มาตรา 59 เบญจ
การจดแจงภาระผูกพันและการยกเลิกเอกสารสิทธิเดิมเมื่อออกโฉนดที่ดิน

การออกโฉนดที่ดิน
(ม. 59 จัตวา)

ม.58 ทวิ ม. 58 ตรี ม.59


(เดินสํารวจ) (ยายแปลง) (เฉพาะรายมีหลักฐาน)

มีหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิม
เปนหลักฐานในการขออก

มีรายการภาระผูกพันติดอยู หรือ มีรายการเปลี่ยนแปลงผูมีสิทธิในที่ดิน


ในระหวางดําเนินการออกโฉนดที่ดิน

เมื่อออกโฉนดที่ดิน ปฏิบัติตาม
ระเบียบกรมที่ดินวาดวย
การจดแจงรายการภาระ
ยกรายการดังกลาวมาจดแจงในโฉนดดวย
ผูกพัน หรือรายเปลีย่ นแปลง
ผูมีสิทธิในที่ดินในระหวาง
ม. 59 เบญจ ดําเนินการออกโฉนดที่ดิน
พ.ศ. 2532

กรณีออกตาม ม.58 ทวิ กรณีออกตาม ม.59 กรณีออกตาม ม.58 ตรี


(เดินสํารวจ) (เฉพาะรายมีหลักฐาน) (ยายแปลง)

ถือวาหนังสือแสดงสิทธิใน มีบัญญัติไวใน ม.58 ตรี


ที่ดินเดิมเปนอันยกเลิก เฉพาะแลว

และใหสงคืนแกเจาพนักงานที่ดิน กรณียายแปลง ถือวา น.ส.3 ก. เดิมได


ยกเลิกตั้งแตวันกําหนดแจกโฉนดที่ดิน
(ตางจากการออกเอกสารสิทธิในวิธีการอื่น)
กรมที่ดินถือวา ที่ดนิ นั้นมี เวนแตกรณีสูญหาย
โฉนดที่ดินตอเมือ่ ไดแจก
โฉนดใหผูมีสิทธิในที่ดินแลว และใหสงคืนแกเจาพนักงานที่ดิน

ยกเวนกรณียายแปลงตาม ม.58 ตรี ซึง่ ถือวันครบกําหนด เวนแตกรณีสูญหาย


ประกาศกําหนดวันแจกโฉนดที่ดินเปนวันยกเลิก น.ส.3 ก.
เดิม และถือวาที่ดินมีโฉนดที่ดินในวันนั้น

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


73
(ช.43)
มาตรา 60 การโตแยงสิทธิกรณีออกเอกสารสิทธิใหม

ในการดําเนินการออกโฉนดที่ดินหรือ
“พนักงานเจาหนาที่” = เจาพนักงาน
หนังสือรับรองการทําประโยชน
ซึ่งเปนผูปฏิบัตกิ ารตามประมวล
กฎหมายที่ดิน (และรวมถึงนายอําเภอ
ในพื้นที่ที่ยังไมยกเลิกอํานาจนาย มีผูโตแยงสิทธิกัน
อําเภอ ตาม ป.ที่ดิน) และพนักงาน
อื่นซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการ
พนักงานเจาหนาที่ หรือ
ตามประมวลกฎหมายที่ดิน (ม.1) เปนดุลยพินิจของเจาหนาที่
เจาพนักงานที่ดิน

“เจาพนักงานที่ดิน” = เจาหนาที่ที่ สอบสวนเปรียบเทียบ


มีอํานาจทําการสอบสวนเปรียบเทียบ
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย หมายถึง สอบสวนขอเท็จจริง
ใชอํานาจแตงตั้งเปนเจาพนักงาน และพิจารณาเปรียบเทียบวา
ที่ดิน ตาม ม.15 พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน ตกลงกันได ตกลงกันไมได ใครมีสิทธิในที่ดินดีกวากัน

คําสั่งกระทรวงมหาดไทย คัดคานแลวไมมาตามนัด เพื่อ


ใหดําเนินการ
เจาพนักงานที่ดินจังหวัดหรือ สอบสวนเปรียบเทียบถือวา
ที่ 66/2552 ลว.18 ก.พ.2552 ไปตามที่ตกลง
เจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา คูกรณีทั้ง 2 ฝายตกลงกันไมได

ดู ช. 12 ตองไมขัดกับ มีอํานาจพิจารณาสัง่ การ ออกใหใคร อยางไร หรืองด


กฎหมายดวย ไปตามที่เห็นสมควร ตามที่เห็นวาใครมีสิทธิใน
ที่ดินเทากัน เปนตน
แจงเปนหนังสือ แจงคําสั่งดังกลาว
ใหคูกรณีทราบ
ใหไปฟองขอใหศาลยุติธรรมพิจารณาพิพากษาวา
ฝายใดมีสิทธิในที่ดินพิพาทดีกวากัน ไมมีสิทธิ เปนคําสั่งทางปกครองที่มี
ฝายที่ไมพอใจ
ฟองเจาพนักงานที่ดนิ ขอใหศาลสั่งใหเพิกถอน กฎหมายกําหนดวิธีการ
คําสั่งตาม ม.60 แหง ป.ที่ดิน (ฎีกา 3803/2538, ขั้นตอนไวแลว ไมตอง
4655/2534) หรือหากจะฟองวาเจาพนักงานที่ดิน อุทธรณคําสัง่ กอน สามารถ
ฟองตอศาลภายใน 60
มีคําสั่งเปรียบเทียบไมชอบดวยกฎหมายจะตอง ฟองศาลไดเลย
วันนับแตวันทราบคําสั่ง
ฟองศาลปกครอง

ฟองภายในกําหนด ไมฟองภายในกําหนด

- พนักงานเจาหนาที่ตองแจงใหผูฟองนําหลักฐานการฟองมาแสดงดวย ดําเนินการตามที่เจาพนักงานที่ดินสั่งไว
(เพื่อใหรูวามีการฟอง)

รอเรื่องไว

จนกวาคดีจะถึงที่สดุ ประการใด

จึงดําเนินการไปตามกรณี

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


74 (ช.44)
มาตรา 61 การเพิกถอน แกไขเอกสารสิทธิในที่ดินและรายการจดทะเบียน
(แกไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551)

1. กรณีผิดพลาดคลาดเคลือ่ น เปนอํานาจหนาที่อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายซึ่ง
หรือไมชอบดวยกฎหมาย ดํารงตําแหนงรองอธิบดีหรือผูตรวจราชการกรมที่ดิน
(ม.61 ว.1 – ว.6 และ ว.9)
ปรากฏจากเหตุใด หรือทางใดก็ได เชน
เมื่อความปรากฏวา
ตรวจพบเอง/จากเรือ่ งรองเรียน ฯลฯ

1. ไดออกโฉนดที่ดินหรือ 2. ไดจดทะเบียนฯ 3. จดแจงเอกสาราชการจด


หรือ หรือ
หนังสือรับรองการทําประโยชน เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย ทะเบียนอสังหาริมทรัพย

“คลาดเคลือ่ น” = เจา
พนักงานที่ดินกระทําไป โดยคลาดเคลื่อนหรือ หมายถึง การยกรายการจด
โดยไมถูกตองตาม ไมชอบดวยกฎหมาย ทะเบียนที่มีอยูในเอกสารสิทธิ
ขอเท็จจริงหรือกระทํา ในที่ดินแปลงหนึ่งไปจดแจงใน
เปนหนาที่ตอง
ไป โดยไมตรงตาม ผูมีอํานาจหนาที่ สัง่ อีกแปลงเชนยกรายการจํานอง
ทําไมใชเปน
ระเบียบคําสั่ง แตยังไม ภาระจํายอมลงไปในแปลงแยก
เพิกถอนหรือแกไข ดุลพินิจอีกตอไป
ถึงขนาดฝาฝนกฎหมาย

“ไมชอบดวยกฎหมาย”
อธิบดีกรมที่ดิน หรือ ผูซึ่งอธิบดีมอบหมายซึ่งดํารงตําแหนง
= เจาพนักงานที่ดิน
กระทําฝาฝนไมปฏิบัติไป รองอธิบดีหรือผูตรวจราชการกรมที่ดนิ
ตามที่กฎหมายบัญญัติไว

การตั้งคณะกรรมการสอบสวน การสอบสวน ขั้นตอนดําเนินการกอนมี ปจจุบัน อธิบดีกรม


การแจงผูมีสวนไดเสียเพื่อใหโอกาสคัดคาน คําสั่งเพิกถอน หรือแกไข ที่ดิน มอบหมายให
และการพิจารณาเพิกถอนแกไข (ม.61 ว.9) รองอธิบดีกรมที่ดิน
เปนผูมีอํานาจหนาที่
อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย
พิจารณาและมีคําสัง่
เปนไปตามหลักเกณฑและ ซึ่งดํารงตําแหนงรอง อธิบดีหรือ
ตาม ม.61 ป.ที่ดิน
วิธีการที่กาํ หนดในกฎกระทรวง ผูตรวจราชการกรมที่ดิน
แทนอธิบดีกรมที่ดิน

กฎกระทรวง กําหนดหลักเกณฑและวิธกี ารในการสอบสวน ตั้งคณะกรรมการสอบสวนขึ้นคณะหนึ่ง ยังไมใชคําสั่ง


และการพิจารณาเพิกถอนหรือแกไขการออกโฉนดที่ดินหรือ ทางปกครอง
หนังสือรับรองการทําประโยชน การจดทะเบียนสิทธิและ
ดู ช.45
นิติกรรม หรือการจดแจงรายการจดทะเบียนโดย
คลาดเคลือ่ นหรือไมชอบดวยกฎหมาย พ.ศ. 2553

อํานาจคณะกรรมการสอบสวน ระยะเวลาดําเนินการ องคคณะกรรมการ (บางกรณี)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


75

อํานาจคณะกรรมการสอบสวน ระยะเวลาดําเนินการ องคคณะกรรมการ (บางกรณี)

กรณีสอบสวนการ
1. อํานาจเรียก 2. แจงใหผูมีสวน ในชั้น ชั้นอธิบดีหรือผูซึ่ง ออกโฉนดที่ดินหรือ
ไดเสียทราบ คณะกรรมการ อธิบดีมอบหมายซึ่ง หนังสือรับรองการ
ดํารงตําแหนงรอง ทําประโยชนโดย
- โฉนดที่ดิน
ตองสอบสวนให อธิบดีหรือผูตรวจ คลาดเคลือ่ นหรือไม
- หนังสือรับรองการ เพื่อใหโอกาส
แลวเสร็จและสง ราชการกรมที่ดิน ชอบดวยกฎหมาย
ทําประโยชน คัดคาน
ใหอธิบดีหรือผู
- เอกสารที่ไดจด
ซึ่งอธิบดี เมื่อไดรับรายงาน
ทะเบียนสิทธิและนิติ ภายใน 30 วันนับ อยางนอยตองมี
มอบหมายซึ่ง การสอบสวนแลว
กรรม แตวันที่ไดรับแจง
ดํารงตําแหนง
- เอกสารที่ไดจดแจง
รอง อธิบดีหรือ 1. เจาพนักงาน
รายการทะเบียน พิจารณาใหแลว
ถาไม คัดคาน ผูตรวจราชการ ฝายปกครองและ
อสังหาริมทรัพย หรือ เสร็จภายใน 15
คัดคาน ภายใน กรมที่ดิน 2. ตัวแทนคณะ
- เอกสารอื่นที่เกี่ยวของ วันนับแตไดรับ
ภายใน กําหนด ผูบริหารทองถิ่น
รายงานการ หรือผูบริหาร
กําหนด 30 วัน ภายใน 60 วัน สอบสวน ทองที่ที่ที่ดิน
มาพิจารณา 30 วัน นับแตวันที่ไดมี
ตั้งอยู
คําสั่งใหทําการ พิจารณาแลวเห็น
ถือวาไม คณะ สอบสวน ควรดําเนินการ
พรอมทั้ง
มีการ กรรมการ เปนกรรมการ
คัดคาน
หากดําเนินการ มีคําสั่ง
ไมเสร็จภายใน - เพิกถอน เปนคําสั่ง
พิจารณาคําคัดคาน
กําหนด - แกไข ทางปกครอง
และเสนอความเห็น
- ยกเลิกเรื่องหรือ
(รวมเวลา 30 วัน ทีแ่ จงผู ประการใด
แจงสิทธิอุทธรณ
มีสวนไดเสียดวย) และดําเนินการ
เจาพนักงานที่ดิน ตาม พ.ร.บ.วิธี
ขอขยายระยะเวลาสอบสวน ปฏิบัติราชการ
ใหดําเนินการไป ทางปกครอง
คณะกรรมการสอบสวน ตามนั้น พ.ศ. 2539

กรณีสั่งเพิกถอนหรือแกไข
รายงานเหตุที่ทําใหการ
ทําเปนคําสั่งเพิกถอนหรือ
สอบสวนไมเสร็จ
แกไขแลวแตกรณี

เพื่อขอขยายระยะเวลา
สอบสวน ถาไมไดโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทําประโยชน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


76

ตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย ถือวาสูญหาย
ซึ่งดํารงตําแหนงรองอธิบดีหรือ
ผูตรวจราชการกรมที่ดิน
เจาพนักงานที่ดิน

สั่งขยายระยะเวลาได
ตามความจําเปน ออกใบแทนหนังสือ
แสดงสิทธิในที่ดิน
แตไมเกิน 60 วัน
เพื่อนํามาดําเนินการ
สอบสวนเสร็จภายในกําหนด สง เพิกถอนหรือแกไข
รายงานใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดี ตอไป
มอบหมายซึ่งดํารงตําแหนงรอง
อธิบดีหรือผูตรวจราชการกรมที่ดิน
วิธีการตาม
กฎกระทรวง ฉบับที่
43 ขอ 17(6)

ดู ช. 78

2. กรณีคลาดเคลือ่ น เนื่องจากการเขียนหรือพิมพขอความผิดพลาด
เปนอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานที่ดนิ
(ม.61 ว.7)

โดยมีหลักฐาน
เนื่องจากการเขียน มีอํานาจ
กรณีการคลาดเคลือ่ น ชัดแจง
หรือพิมพ เจาพนักงานที่ดิน หนาที่
ขอความผิดพลาด แกไขให
และผูมีสวนไดเสีย
ถูกตองได
ยินยอมเปนลาย
ลักษณอกั ษรแลว
เชน – ชื่อ นามสกุล ที่อยู ของผูขอ
ผิดไปจากหลักฐานที่ผูขอ
นํามาแสดงประกอบคําขอ
- เขียนเนื้อที่ผิดไปจากตนราง
แผนที่
ฯลฯ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


77

เปนหนาที่ของเจาพนักงานที่ดินดําเนินการตาม
3. กรณีศาลมีคาํ พิพากษาหรือคําสั่งใหแกไขเพิกถอน
คําพิพากษาหรือคําสั่งศาลและดําเนินการตามวิธี
(ม. 61 ว.8)
ที่อธิบดีกรมที่ดินกําหนด

กรณีศาลมีคาํ พิพากษาหรือคําสั่งถึงที่สุด

ใหเพิกถอนหรือแกไขอยางใดแลว

เจาพนักงานที่ดิน

ดําเนินการตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง

ไมใชคําสั่งทางปกครอง

ตามวิธีการที่อธิบดีกําหนด
เปนการปฏิบัติตาม
คําสั่งศาลที่ถึงที่สุดแลว

1. ระเบียบกรมที่ดิน ที่ 3/2516 เรื่อง วิธีการเพิกถอนหรือ


แตถาเจาพนักงานที่ดิน
แกไขโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองการทําประโยชน
ดําเนินการไมถกู ตอง
หรือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม หรือการจด
ตามคําสั่งศาล
แจงเอกสารรายการจดทะเบียนที่ดินในกรณีที่ศาล
มีคําพิพากษาหรือคําสั่งถึงที่สุดใหเพิกถอนหรือแกไข
2. ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยวิธีการเพิกถอนฯ ฉบับที่ 2 ผูมีสวนไดเสียตาม
(พ.ศ. 2522) คําสั่งศาล สามารถ
โตแยงได

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


78 (ช.45)
กฎกระทรวง
กําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการสอบสวนและการพิจารณาเพิกถอนหรือแกไข
การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน การจดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรม
หรือการจดแจงรายการจดทะเบียนโดยคลาดเคลื่อนหรือไมชอบดวยกฎหมาย
พ.ศ. 2553
(กฎกระทรวงตามมาตรา 61 แหงประมวลกฎหมายที่ดนิ )
ยกเลิกกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑฯ
พ.ศ.2544 เพื่อใหสอดคลองกับมาตรา รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย อาศัยอํานาจตาม ม.15 พ.ร.บ.ใหใช
ป.ที่ ดิน และ ม.61 ว.9 ป.ที่ ดิน ซึ่ ง
๖๑ แหงประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่ง
แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดย พ.ร.บ.แก ไ ข
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ ออกกฎกระทรวงฯ เพิ่มเติม ป.ที่ดิน (ฉ.11) พ.ศ. 2551
แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน
(ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่บัญญัติให
อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายซึ่ง หมวดที่ 1 เปน พ.ร.บ.และประมวลกฎหมายที่
มี บ ทบั ญ ญั ติ บ างประการเกี่ ย วกั บ
ดํารงตําแหนงรองอธิบดีหรือผูตรวจ
การจํ า กั ด สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพของ
ราชการกรมที่ดินเปนผูมีอํานาจหนาที่ การตั้งคณะกรรมการสอบสวนและ
บุ ค คลซึ่ ง ม.29 ประกอบกั บ ม.35
ในการสั่งเพิกถอนหรือแกไขได การสอบสวน
และ ม.48 ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง
ราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทํา
การตั้งคณะกรรมการสอบสวน ไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ
(ขอ 2) แหงกฎหมาย

ปรากฏจากเหตุใด
หรือทางใดก็ได เมื่อความปรากฏวา

ไดออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ หรือ ไดจดทะเบียนฯ เกี่ยวกับ หรือ จดแจงเอกสารรายการจด


รับรองการทําประโยชน อสังหาริมทรัพย ทะเบียนอสังหาริมทรัพย

“คลาดเคลือ่ น” = เจาพนักงาน โดยคลาดเคลื่อนหรือ


ที่ดินกระทําไปโดยไมถูกตอง ไมชอบดวยกฎหมาย หมายถึง การยกรายการจด
ตามขอเท็จจริงหรือกระทําไป ทะเบียนที่มีอยูในเอกสารสิทธิ
โดยไมตรงตามระเบียบคําสั่ง ในที่ดินแปลงหนึ่งไปจดแจงใน
ให อีกแปลง เชนยกรายการจํานอง
(ผูมีอํานาจหนาที่สงั่ ภาระจํายอมลงในแปลงแยก
“ไมชอบดวยกฎหมาย” = เจา
เพิกถอนหรือแกไข)
พนักงานที่ดินกระทําฝาฝนไม
ปฏิบัติตามที่กฎหมายบัญญัติไว
อธิบดีกรมที่ดิน หรือ หรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายซึ่งดํารงตําแหนง
รองอธิบดีหรือผูตรวจราชการกรมที่ดนิ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


79

ตั้งคณะกรรมการสอบสวน
คณะหนึ่ง

(1) กรณีออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง (2) กรณีการจดทะเบียนฯ อสังหาริมทรัพย หรือ


การทําประโยชน จดแจงเอกสารรายการทะเบียนอสังหาริมทรัพย

โดยคลาดเคลื่อน หรือ ไมชอบดวยกฎหมาย โดยคลาดเคลื่อน หรือ ไมชอบดวยกฎหมาย

กรุงเทพมหานคร จังหวัดอื่น กรุงเทพมหานคร จังหวัดอื่น

ประกอบดวย ประกอบดวย ประกอบดวย ประกอบดวย

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ


1. เจาพนักงานที่ดิน กทม. 1. เจาพนักงานที่ดินจังหวัด 1. เจาพนักงานที่ดิน กทม. 1. เจาพนักงานที่ดินจังหวัด
หรือสาขา หรือขาราชการ หรือสาขา หรือขาราชการสังกัด หรือสาขา หรือขาราชการ หรือสาขา หรือขาราชการ
สังกัดกรมที่ดินที่อธิบดี กรมที่ดินที่อธิบดีหรือผูซึ่ง สังกัดกรมที่ดินที่อธิบดี สังกัดกรมที่ดินที่อธิบดีหรือ
หรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย อธิบดีมอบหมายซึ่งดํารง หรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย ผูซึ่งอธิบดีมอบหมายซึ่ง
ซึ่งดํารงตําแหนงรอง ตําแหนงรองอธิบดีหรือผูตรวจ ซึ่งดํารงตําแหนงรอง ดํารงตําแหนงรองอธิบดี
อธิบดีหรือผูตรวจราชการ ราชการกรมที่ดินเห็นสมควร อธิบดีหรือผูตรวจราชการ หรือผูตรวจราชการกรม
กรมที่ดินเห็นสมควร กรรมการ กรมที่ดินเห็นสมควร ที่ดินเห็นสมควร
กรรมการ 2. นายอําเภอหรือปลัดอํานาจ กรรมการ กรรมการ
2. ผว.กทม. หรือผูแทน หน.กิ่งอําเภอซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยู 2. ขาราชการสํานักงาน 2. ขาราชการสํานักงาน
3. ผอ.เขตซึ่งที่ดินนัน้ หรือผูแทน ที่ดินกรุงเทพฯ หรือสาขา ที่ดินจังหวัดหรือสาขา
ตั้งอยูหรือผูแทน และ 3. ตัวแทนคณะผูบริหารทองถิ่น ตําแหนงประเภททั่วไป ตําแหนงประเภททั่วไป
4. ผูแทนสวนราชการอื่นที่ หรือผูบริหารทองถิน่ ซึ่งที่ดิน ตั้งแตระดับชํานาญงานขึ้น ตั้งแตระดับชํานาญงานขึ้น
เกี่ยวของตามที่เห็นสมควร นั้นตั้งอยูหรือผูแทน และ ไปหรือประเภทวิชาการ ไปหรือประเภทวิชาการ
และ 4. ผูแทนสวนราชการอื่นที่ ตั้งแตระดับชํานาญการขึ้น ตั้งแตระดับชํานาญการขึ้น
5. ขาราชการสํานักงาน เกี่ยวของตามที่เห็นสมควร และ ไป 2 คน ไป 2 คน
ที่ดินกรุงเทพฯ หรือสาขา 5. ขาราชการสํานักงานที่ดิน - โดยใหคนหนึ่งเปน - โดยใหคนหนึ่งเปน
ตําแหนงประเภททั่วไป จังหวัดหรือสาขา ตําแหนง เลขานุการ เลขานุการ
ตั้งแตระดับชํานาญงานขึ้น ประเภททั่วไปตั้งแตระดับ
ไปหรือประเภทวิชาการ ชํานาญงานขึ้นไปหรือประเภท
ตั้งแตระดับชํานาญการขึ้น วิชาการตั้งแตระดับชํานาญการ
ไป เปนกรรมการและ ขึ้นไป เปนกรรมการและ การสอบสวน
เลขานุการ เลขานุการ
คณะกรรมการสอบสวน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


80

กรณีที่ที่ดินนั้น สอบสวนพยานหลักฐานใหไดความวา
- มีอาณาเขตติดตอ (ขอ 3)
- คาบเกี่ยว หรือ
- อยูใน ไดมีการออกโฉนดที่ดิน การจดทะเบียนสิทธิ การจดแจงเอกสาร
หรือหนังสือรับรอง หรือ และนิติกรรมเกี่ยวกับ หรือ รายการทะเบียน
1. เขตปาไมถาวรตามมติ ครม. การทําประโยชน อสังหาริมทรัพย อสังหาริมทรัพย
2. เขตปาสงวนแหงชาติ
3. เขตอุทยานแหงชาติ
ที่คณะกรรมการสอบสวนไดสอบสวนนั้น
4. เขตรักษาพันธุสตั วปา
5. เขตหามลาสัตวปา
ไดมีการออกหรือจดทะเบียนหรือจดแจงไปโดย
คลาดเคลือ่ นหรือไมชอบดวยกฎหมายหรือไม
แตงตั้ง ทําเปนหนังสือ
ผูแทนกรมพัฒนาที่ดิน ผูแทนกรม
ปาไม หรือผูแทนกรมอุทยาน ในการสอบสวน
- การนัดสอบสวน
แหงชาติ สัตวปา และพันธุพชื - การนัดพิจารณา หรือ
เปนกรรมการดวย (แลวแตกรณี) - การอยางอื่น ที่คณะกรรมการสอบสวน
ตองแจงใหผูมีสวนไดเสียทราบ

อํานาจของคณะกรรมการสอบสวน หมวด 2
(ขอ 4) การแจงผูมีสวนไดเสียเพื่อใหโอกาสคัดคาน

คณะกรรมการสอบสวน
อํานาจเรียก พรอมทั้งแจงใหผูมีสวนไดเสีย
(ขอ 8)
- โฉนดที่ดิน
- หนังสือรับรองการทําประโยชน ทราบเพื่อมีโอกาสคัดคาน
สงหนังสือแจงผูมสี วนไดเสีย
- เอกสารที่ไดจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
- เอกสารที่ไดจดแจงรายการทะเบียน
ผูมีสวนไดเสีย = ผูมีสวนไดหรือ
อสังหาริมทรัพย หรือ เพื่อใหโอกาสคัดคานการเพิกถอน
มีสวนเสียเกี่ยวกับการแกไขหรือ
- เอกสารอื่นที่เกี่ยวของ หรือแกไข การออกหรือการจดฯ ที่
เพิกถอน (เฉพาะผูท ี่จะไดหรือ
(แลวแตกรณี) คลาดเคลือ่ นหรือไมชอบดวย
เสียสิทธิในขณะที่มีการสั่งเพิก
ถอนหรืแกไขเทานัน้ )
จากผูยึดถือมาประกอบการพิจารณา
วิธีการแจง การสงไปรษณีย
(ขอ 9) (ขอ 9)
เรียกเอกสารมาได เรียกเอกสารมาไมได

ทําเปนหนังสือ ตามที่อยูที่ผูมีสวน
คณะกรรมการสอบสวน คณะกรรมการสอบสวน ไดเสียไดใหไวแก
สงทางไปรษณีย พนักงานเจาหนาที่
ใหบันทึกเหตุผลไวในสํานวนการสอบสวนที่เสนอ
ออกใบรับไวเปน ลงทะเบียนตอบรับ
อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายซึง่ ดํารงตําแหนง
หลักฐาน
รองอธิบดีหรือผูตรวจราชการ (ผูมีคาํ สัง่ แตงตัง้ กก.)
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
81

ในสารบบที่ดินแปลงนี้
(ที่อยูตามสารบบที่ดิน)

กรณีแจงได กรณีแจงไมได
(ขอ 10)

ม.71 แหง พ.ร.บ.วิธี ใหถือวาผูมีสวนไดเสีย


ใหคณะกรรมการสอบสวน
ปฏิบัติราชการทาง ไดรับแจงเมื่อครบกําหนด
แจงผูมีสวนไดเสีย โดย
ปกครอง พ.ศ. 2539 7 วัน นับแตวันสง

ปดหนังสือแจงไวในที่เปดเผย
เวนแตจะมีการพิสจู นได
วาไมมีการไดรับหรือไดรับ
กอนหรือหลังจากวันนั้น ณ
1. สํานักงานที่ดิน
2. สํานักงานเขต ที่วาการอําเภอหรือที่วา
การกิ่งอําเภอ
3. ที่ทําการแขวงหรือที่ทําการกํานันทองที่
4. สํานักงานหรือทีว่ าการองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นและ
ถือการปดหนังสือ (1-4 ซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยู)
ที่หลังสุดเปนหลัก 5. ในบริเวณที่ดินนั้น
ในการเริ่มตนนับ (แหงละ 1 ฉบับ)

ใหถือวาผูมีสวนไดเสียไดรับแจงเมื่อลวง
พนระยะเวลา 15 วันนับแตวันปดหนังสือ

ผูมีสวนไดเสียไดรับแจงหรือถือวา คัดคานการเพิกถอนหรือแกไขการออก
ไดรับแจงเพื่อใหมีโอกาสคัดคาน โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทํา
ประโยชนหรือการจดทะเบียนสิทธิและ
นิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยหรือ
ตองคัดคานภายใน 30 วัน
การจดแจงเอกสารราชการทะเบียน
นับแตวันที่ไดรับแจง
อสังหาริมทรัพยที่คลาดเคลือ่ นหรือไม
(ขอ 11)
ชอบดวยกฎหมายนั้น

ไมคัดคานภายใน 30 วัน คัดคานภายใน 30 วัน


นับแตวันที่ไดรับแจง นับแตวันที่ไดรับแจง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


82

ถือวาไมประสงคจะคัดคาน โดยทําเปนหนังสือคัดคานและระบุเหตุผลที่
คัดคานพรอมแสดงพยานหลักฐานที่เกี่ยวของ

ภายในกําหนด 30 วัน
ยื่นตอประธานคณะกรรมการสอบสวน
นับแตวันที่ไดรับแจง

คณะกรรมการสอบสวนพิจารณาคําคัดคาน

คณะกรรมการฯ ตองสอบสวนใหแลวเสร็จและสงรายงานผล
การสอบสวนตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายซึ่งดํารง
ตําแหนงรองอธิบดีหรือผูตรวจราชการ (ผูมีคําสั่งแตงตั้ง กก.)

ภายใน 60 วันนับแตวันที่ไดมี เวลา 60 วันนี้ รวมระยะเวลาที่ใหโอกาส


ม.61 ว.4 แหง ป.ที่ดิน
คําสั่งใหดําเนินการสอบสวน ผูมีสวนไดเสียคัดคาน 30 วัน เขาไวดวย

หากไมสามารถดําเนินการใหแลว เมื่อดําเนินการสอบสวนเสร็จแลว
เสร็จภายใน 60 วันดังกลาว
(ขอ 6)
คณะกรรมการสอบสวน

คณะกรรมการฯ ตองขอ
ขยายเวลาการสอบสวน รายงานผลการสอบสวนตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายซึ่ง
ดํารงตําแหนงรองอธิบดีหรือผูตรวจราชการ (ผูมีคําสั่งแตงตั้ง กก.)
(ขอ 5)
วิธีการขอขยายเวลาการสอบสวน

ระยะเวลาที่จะขอ
องคประกอบ การทําความเห็นแยง การพิจารณาของอธิบดีหรือ
ของรายงานฯ (ของกรรมการสอบสวน) ผูซึ่งอธิบดีมอบหมายซึ่งดํารง
ตองขอขยายระยะเวลา
ตําแหนงรองอธิบดีหรือ
การสอบสวนกอนครบ
1. สรุปขอเท็จจริงและเหตุที่ กรรมการสอบสวน ผูตรวจราชการ (ผูมคี ําสั่ง
กําหนดระยะเวลา 60
มีการออกหรือจดฯ โดย ผูใดมีความเห็นแยง แตงตั้ง กก.)
วันดังกลาว
คลาดเคลือ่ นหรือไมชอบ
ดวยกฎหมาย ทําความเห็นแยงติดไว
รายงาน
2. เสนอความเห็นวาสมควร กับสํานวนสอบสวน
สั่งเพิกถอนหรือแกไขความ
คณะกรรมการฯ ตอง คลาดเคลือ่ นหรือไมชอบ
รายงานเหตุที่ทําใหการ ใหถือวาความเห็นแยงดังกลาวเปน
ดวยกฎหมายนั้นหรือไม
สอบสวนไมแลวเสร็จ สวนหนึ่งของสํานวนการสอบสวน
อยางไร

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


83

ยื่นขอตอ
ระยะเวลาพิจารณา การพิจารณา

อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดี ตองพิจารณาใหแลวเสร็จ
มอบหมายซึ่งดํารงตําแหนง ไมตองสอบสวน เห็นควรสอบสวน
ภายใน 15 วันนับแตไดรับ
รองอธิบดีหรือผูตรวจราชการ เพิ่มเติม เพิ่มเติม
รายงานการสอบสวน
(ผูมีคําสั่งแตงตั้ง กก.)
หมวด 3 - ใหกําหนดประเด็น
กําหนดเวลาที่จะขยาย
การสั่งเพิกถอนหรือแกไข - พรอมสงเอกสารที่
(ม.61 ว.4)
เกี่ยวของใหคณะกรรมการ
หลักเกณฑในการสัง่ เพิกถอน คณะเดิม
อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดี
หรือแกไข
มอบหมายซึ่งดํารง
- สั่งตอเมือ่ ปรากฏชัดแจงวา เพื่อสอบสวนเพิ่มเติม
ตําแหนงรองอธิบดีหรือ
ไดมีการออกหรือจดฯ โดย
ผูตรวจราชการ
คลาดเคลือ่ นหรือไมชอบดวย
คณะกรรมการฯ
กฎหมาย
มีอํานาจสั่งขยายระยะเวลา สอบสวนเพิ่มเติมใหแลว
(ขอ 12)
ไดตามความจําเปน เสร็จโดยเร็ว

สงผลการสอบสวน
แตไมเกิน 60 วัน ปรากฏชัดแจงวา ปรากฏไมชัดแจงวา
เพิ่มเติมใหอธิบดีหรือผู
(ม.61 ว.4 ป.ที่ดิน) คลาดเคลือ่ นหรือไมชอบฯ คลาดเคลื่อนหรือไมชอบฯ
ซึ่งอธิบดีมอบหมายซึ่ง
ดํารงตําแหนงรองอธิบดี
อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดี อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดี หรือผูตรวจราชการ
มอบหมายซึ่งดํารงตําแหนง มอบหมายซึ่งดํารงตําแหนง
แจงคําสั่งพรอมเหตุผล รองอธิบดีหรือผูตรวจราชการ รองอธิบดีหรือผูตรวจราชการ
เชน ยกเลิกเรื่องหรือยุติ หรือ
ใหผูมีสวนไดเสียทราบ
เห็นชอบตามที่ กก.เสนอวา
(ขอ 13) มีคําสั่งเพิกถอนหรือแกไข
พิจารณาสั่งประการใด ไมมีการคลาดเคลื่อน
(แลวแตกรณี) หรือไมชอบดวยกฎหมาย
(ซึ่งเปนการออกโดยชอบแลว)
กรณีสั่งเพิกถอนหรือแกไข ใหพนักงานเจาหนาที่
ในโฉนดที่ดินหรือหนังสือ ดําเนินการตามนั้น
รับรองการทําประโยชน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


84

เปนคําสั่งทางปกครอง การแจงใหนําขอ 8 ขอ 9 แตไมไดโฉนดที่ดินหรือ


(ตองแจงสิทธิอุทธรณดวย) และขอ 10 มาใชบังคับ หนังสือรับรองการทําประโยชน
โดยอนุโลม

สามารถยื่นอุทธรณได ถือวาสูญหาย ม.61 ว.6 ป.ที่ดิน


1. ทําเปนหนังสือ
ตาม ม.44 แหง พ.ร.บ.
2. สงทางไปรษณีย
วิธีปฏิบัติราชการทาง
ลงทะเบียนตอบรับ ใหเจาพนักงานที่ดิน วิธีการออกใบแทน
ปกครอง พ.ศ. 2539
3. สงไปตามที่อยูที่ผูมีสวน ออกใบแทนหนังสือ ตามกฎกระทรวง
ไดเสียใหไวในสารบบที่ดิน แสดงสิทธิ ฉบับที่ 43 ขอ 17(6)
แปลงนั้น
โดยยื่นอุทธรณตออธิบดี
4. แจงไมได ใหใชวิธีปด
(ผูทําคําสั่ง) ณ กรมที่ดิน
หนังสือแจงในที่เปดเผย ณ เพื่อดําเนินการเพิกถอน
ภายใน 15 วันนับแตวันที่
1) สํานักงานที่ดนิ หรือแกไขตอไป
ไดรับแจงคําสั่ง
2) สํานักงานเขต ที่วาการ
อําเภอหรือกิ่งอําเภอ
3) ที่ทําการแขวงหรือที่ทํา
การกํานันทองที่
4) สํานักงานหรือที่ทําการ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น
(1) – 4) ซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยู)
5) ในบริเวณที่ดินนั้น

(ประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 127 ตอนที่ 45 ก วันที่ 22 กรกฎาคม 2553)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


85 (ช.46)
มาตรา 62 การแจงผลคดีของศาล

บรรดาคดีที่เกิดขึ้น

เกี่ยวกับเรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดินที่ได
ออกโฉนดที่ดินแลว

เมื่อศาลพิจารณาพิพากษา
คดีถึงที่สุดแลว

ใหศาลแจงผลของคําพิพากษาอัน ทางปฏิบัติ ศาลไมไดแจง


ถึงที่สุดหรือคําสั่งนัน้ ตามกฎหมายแตอยางใด

ตอเจาพนักงานที่ดนิ จึงเปนเหตุใหเกิดการโอน
กรรมสิทธิ์ไป จนตองมีการ
ฟองรองเพิกถอนนิติกรรม
แหงทองที่ซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยู ดังกลาวอีก

เหตุ ผ ล เพื่ อ ป อ งกั น การแอบโอนที่ ดิ น ให กั บ


บุคคลที่สาม ในกรณีที่คูความฝายหนึ่งตกเปน
ฝายแพคดีแลว ซึ่งอาจทําใหเกิดความเสียหาย
กับฝายชนะคดี ในกรณีที่มิได มีการขอใหศาล
คุมครองตามวิธีการชั่วคราวกอนพิพากษาตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง หรือ
มิไดขออายัดไวกอนฟองคดี ตาม ม.83 (เดิม)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


86 (ช.47)
มาตรา 63 การออกใบแทน (กรณีฉบับเจาของที่ดินชํารุดสูญหาย)
มาตรา 64 การจัดทําขึ้นใหมทั้งคูฉบับ (กรณีฉบับสํานักงานที่ดินชํารุดสูญหาย)

ขอออก ม.63 ม.64 จัดทําขึ้นใหม


ใบแทน ทั้งคูฉบับ

1. โฉนดที่ดิน
2. ใบไตสวน
3. หนังสือรับรองการทําประโยชน
4. ใบจอง

ของผูใด ฉบับสํานักงานที่ดิน
(ฉบับเจาของที่ดิน)
เปนอันตราย ชํารุด สูญหาย - เจาพนักงานที่ดิน
เปนอันตราย ชํารุด - กรณีเกี่ยวกับหนังสือรับรอง
สูญหายดวยประการใด การทําประโยชน และใบจอง
พนักงานเจาหนาที่ ในทองที่ที่ยังไมไดยกเลิก
ตาม ม.71 อํานาจนายอําเภอฯ คือ
เจาของหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน นายอําเภอ หรือปลัดอําเภอ
ผูเปนหัวหนากิ่งอําเภอ
มีอํานาจเรียก
มายื่นขอรับใบแทน

หนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
เมื่อออกใบแทนไปแลว โฉนด ดังกลาวจากผูมีสิทธิในที่ดิน
ที่ดิน ฯลฯ (หนังสือแสดงสิทธิ
ในที่ดินเดิม) เปนอันยกเลิก ทําขึ้นใหมทั้ง 2 ฉบับ
มาพิจารณาแลวจัดทําขึ้นใหม (ฉบับเจาของที่ดิน และ
ฉบับสํานักงานที่ดิน)
เวนแตศาลจะสั่งเปนอยางอื่น
โดยอาศัยหลักฐานเดิม
ฉบับเจาของที่ดินที่เรียก
วิธีการออกใบแทน
มาใหหมายเหตุการออก
วิธีการดําเนินการ
ใหมเก็บเขาสารบบ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 43
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวย แจกฉบับที่ทําใหมให
การจัดทําหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน เจาของที่ดินแทนฉบับเดิม
ขอ 12 และขอ 17
ขึ้นใหม ในกรณีที่หนังสือแสดงสิทธิ
ในที่ดินฉบับสํานักงานที่ดินเปน
ดู ช. 78 อันตราย ชํารุด สูญหาย พ.ศ. 2524

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


87 (ช.48)
หมวด 5
มาตรา 65 การรังวัดออกโฉนดที่ดิน
กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 และฉบับที่ 49
การรังวัดเพือ่ ออกโฉนดที่ดิน

เปนไปตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กาํ หนดในกฎกระทรวง

กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 และฉบับที่ 49

การรังวัดทําแผนที่เพื่อออกโฉนดที่ดิน

ทําได 2 วิธี

ซึ่งใชแผนที่
1. แผนที่ชั้นหนึ่ง 2. แผนที่ชั้นสอง ระวางเปนหลัก

กระทําโดยวิธีใชกลองธีโอโดไลทและเครื่องมือวัดระยะโยง กระทําโดยวิธีวัดระยะเปนมุม
ยึดหลักเขตวัดงามมุมภาคของทิศหรือใชกลองสํารวจแบบ ฉากหรือวัดระยะสกัดเปนรูป
วิธีวัด ประมวลผล หรือการรังวัดดวยเครือ่ งรับสัญญาณดาวเทียม สามเหลี่ยมจากเสนหมุด
หรือดวยเครื่องมือสํารวจประเภทอื่นที่มคี วามละเอียด
หลักฐานโครงการแผนที่หรือ
ถูกตองไมตา่ํ กวาเกณฑมาตรฐานและคํานวณเปนคาพิกดั
โดยวิธีจากรูปถายทางอากาศ
ฉากสืบเนือ่ งจากหมุดหลักฐานโครงงานแผนที่ของกรมที่ดิน

วิธีคํานวณ คํานวณเนื้อที่โดยวิธีคณิตศาสตร และคํานวณเนือ้ ที่โดยวิธีคณิตศาสตร


เนื้อที่ จากคาพิกัดฉากของแตละมุมเขต หรือโดยมาตรสวน

ที่ดินบริเวณใด ควร
การดําเนินการ กระทําโดยวิธีใด ให
อธิบดีกรมที่ดินกําหนด

กรณีเสนเขตที่ดินไมตรงคดไปคดมา กรณี ที่ดินในแผนที่ระวางออกโฉนดที่ดิน


ซึ่งทําการรังวัดเพือ่ อกโฉนดที่ดินไวแลว
ใหเจาของที่ดินทั้งสองฝาย
โดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งหรือโดยวิธีแผนที่ชั้นสอง
ทําความตกลงกําหนดเสนเขตเสียใหม
หากมีความจําเปนตองรังวัดใหม

ใหเปนเสนตรงเสนเดียว หรือหลายเสนตอกันได
ใหทําการรังวัดโดยมี

เพื่อใหเสนเขตที่ดินที่ทําการรังวัดเปนเสนตรงไมคดไปคดมา มาตรฐานเทาเดิมหรือดีกวา

เมื่อเจาของที่ดินทั้งสองฝายตกลงเปนประการใด พนักงานเจาหนาที่ ทําการรังวัดไปตามนั้น


ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
88 (ช.49)
มาตรา 66, 70, 70 ทวิ อํานาจของเจาหนาทีใ่ นการรังวัด

หมายถึง เจาพนักงานซึ่ง เพื่อประโยชนแกการรังวัด การรังวัดออกโฉนดที่ดิน หรือสอบเขตที่ดินหรือแบงแยกที่ดิน


เปนผูปฏิบัติการตาม (ม.66)
ประมวลกฎหมายทีด่ ินและ
ม.70 ทวิ ใหนํา ม.66 และ ม.70 ใชบังคับแกการ
พนักงานอื่นซึง่ รัฐมนตรี พนักงานเจาหนาที่ พิสูจนสอบสวนที่ดินเพื่อออกหนังสือรับรองการ
แตงตั้งใหปฏิบัติตาม
ทําประโยชน และการตรวจสอบเนือ้ ที่ตาม
ประมวลกฎหมายทีด่ ิน
มีอํานาจ หนังสือรับรองการทําประโยชนโดยอนุโลม

(1) เขาไปในที่ดินของผูมี (2) สรางหมุด (3) ขุดดิน ตัดรานกิง่ ไม (4) อํานาจเรียกบุคคล
สิทธิในที่ดินหรือผู หลักฐานลงในที่ดิน หรือกระทําการอยางอื่นแก (ม.70)
ครอบครอง (ผูมีอํานาจ สิ่งที่กีดขวางแกการรังวัด
รวมถึงคนงานดวย)
(1) เรียกผูมีสิทธิ
ในที่ดินขางเคียง
(เขาไดเฉพาะ) กรณีตองสรางหมุดหลักฐาน เฉพาะกรณีมคี วาม
ในเวลากลางวัน แผนที่ในที่ดินของผูใด จําเปนและโดยสมควร
มาระวังแนวเขต
และลงชือ่
แตจะตองแจงใหผมู ีสิทธิฯ พนักงานเจาหนาที่ ทําไดเทาที่จําเปน รับทราบแนว
ทราบเสียกอน เขตที่ดินของตน
มีอํานาจสรางหมุด โดยระลึกถึงการที่จะ
ผูมีสิทธิในที่ดินหรือผู
หลักฐานลงได ใหเจาของไดรับความ (2) เรียกใหบุคคล
ครอบครองที่ดินนัน้
เสียหายนอยที่สุด ที่เกี่ยวของ

ตองอํานวยความสะดวก ตามความจําเปน
ตามควรแกกรณี มาใหถอยคํา หรือ สั่งใหสงเอกสาร
หรือหลักฐานอื่น
ใดที่เกี่ยวของใน
หากผูใดขัดขวางหรือไมใหความ การสอบสวน
สะดวกแกพนักงานเจาหนาที่ซึ่ง
ปฏิบัติหนาที่
ผูใดฝาฝน หรือไมปฏิบัติ
ตาม ม.70
มีความผิดตาม ม.108 ตรี
มีความผิดตาม ม.107

ตองระวางโทษปรับไมเกิน ตองระวางโทษปรับไมเกิน
1,000 บาท 500 บาท

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


89 (ช.50)
มาตรา 67, 68 การจัดทําและการยายหลักเขต
การรังวัดที่ดินตาม ป.ที่ดิน รวมทั้งการจัดทําหมุดหลักฐาน
(ม.67) แผนที่เพื่อออกโฉนดที่ดิน

เมื่อพนักงานเจาหนาที่

ไดจัดทําหลักหมายเขตที่ดิน หรือ ไดสรางหมุดหลักฐานเพื่อการแผนที่

ลงไวในที่ดินที่ใด

หามถึงเจาของที่ดนิ และ
หามมิใหผูหนึ่งผูใด นอกจากพนักงานเจาหนาที่
เจาของที่ดินขางเคียงดวย

- ทําลาย - ดัดแปลง - หลักหมายเขตที่ดิน


หลักเครือ่ งหมายเขตที่ดินที่ - เคลื่อนยาย - ถอดถอน - หมุดหลักฐานเพื่อการแผนที่
เจาพนักงานที่ดินปกในการทํา
แผนที่พิพาทตามคําสั่งศาล
ไปจากที่เดิม ฝาฝนมีความผิดตาม ม.109

ไมถือเปนหลักหมายเขตตาม ม.67 ตองระวางโทษปรับไมเกิน


เวนแตไดรับอนุญาต
2,000 บาท หรือจําคุกไมเกิน 3
จากเจาพนักงานทีด่ ิน
เดือนหรือทั้งปรับทั้งจํา
เพราะไมใชการรังวัดปฏิบัติ
การขออนุญาต ตองชี้แจงความจําเปนพรอม
ตาม ป.ที่ดิน
(ม.68) ดวยแผนทีป่ ระมาณแสดง
กิจการที่จะกระทําและที่ตงั้ หลัก
ฝาฝนถอนออกไป หมายเขตที่ดิน พรอมคํารอง
ยื่นคํารองตอ
เจาพนักงานที่ดิน ณ สํานักงานที่ดิน
ไมผิดตาม ม.109 ป.ที่ดิน ทองที่ซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยู
เพื่อขออนุญาต
ตามความจําเปน

เจาพนักงานที่ดิน

อนุญาต ไมอนุญาต

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


90

ดําเนินการตามที่เจาพนักงาน เจาของที่ดิน
ที่ดินสั่งอนุญาต

มีสิทธิอุทธรณ
ตามความจําเปนและ
ดําเนินการตามควรแกกรณี
ตอรัฐมนตรีวา การ
วิธีการดําเนินการ กระทรวงมหาดไทย

ภายใน 15 วันนับจากวัน
คําสั่งกรมที่ดิน ที่ 9/2499 ลงวันที่ 24 ทราบคําสั่งไมอนุญาต
กันยายน 2499 เรื่อง การขออนุญาต
ทําลาย ดัดแปลง เคลื่อนยาย ถอด
รัฐมนตรีฯ สั่งอุทธรณ
ถอนหลักหมายเขตที่ดินหรือหมุด
หลักฐานเพื่อการแผนที่

ภายใน 60 วัน นับจากวัน


ไดรับอุทธรณ

รัฐมนตรีฯ สั่งภายในกําหนด รัฐมนตรีฯ ไมสั่งภายในกําหนด

คําสั่งเปนประการใด ใหถือวาอนุญาต (ตามที่ขอ)

ถือวาเปนที่สุด

ถึงที่สุดในทางบริหาร
เทานั้น สามารถฟองศาลได

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


91 (ช.51)
มาตรา 69 สอบเขตทั้งตําบล

“สอบเขต” ใชกับโฉนดที่ดิน เมื่อเปนการสมควรจะทําการ โดยหลักกรมที่ดิน


สวนหนังสือรับรองการทํา สอบเขตที่ดิน (โฉนดที่ดิน) เปนผูพิจารณา
ประโยชน ใชคําวา “ตรวจสอบ
เนื้อที่” (เปนการทําการรังวัด
ตามแผนที่ระวางในทองที่ใด เห็นสมควรในจังหวัดใด
ตรวจสอบแนวเขตที่ดินใหม)

ผูวาราชการจังหวัด แจง
1. มาตรานี้บัญญัตไิ วเพื่อ
รองรับโฉนดที่ดินที่รังวัดไว
นานแลว อาจมีปญหาในเรื่อง
ประกาศ (นอกจากประกาศแลว)
แนวเขตที่ดินที่อาจครอบครอง
ตองแจงกําหนดวัน เวลา
ไมตรงกับแนวเขตที่ดินตามรูป
แผนที่ในโฉนดที่ดิน
ใหผูมีสิทธิในที่ดินทราบ ไปใหผูมีสิทธิในที่ดิน
2. ปจจุบันกรมที่ดินไมเรง
ทราบอีกชั้นหนึ่ง
ดําเนินการสอบเขตวิธีนี้
เนื่องจากตองเรงรัดออกโฉนด
ที่ดินใหทั่วประเทศกอน (เวน ระยะเวลา การปดประกาศ ถึงกําหนดเวลา
แตทองที่ที่มีปญหามากจริง ๆ)
ผูมีสิทธิในที่ดินหรือตัวแทน
ลวงหนา ทําเปนหนังสือ
ไมนอยกวา 15 วัน นําพนักงานเจาหนาที่
ปดไวในบริเวณที่ดิน
ทําการรังวัดสอบเขต
ที่ดินของตน
เพื่อใหผูเกี่ยวของทราบ

เมื่อดําเนินการสอบเขตเสร็จ

เจาพนักงานที่ดิน

มีอํานาจทําโฉนดที่ดินใหม
(ทําเปนคูฉบับทั้งฉบับเจาของ
ที่ดินและฉบับสํานักงานที่ดิน)

แจกใหผูมีสิทธิในที่ดิน
แทนฉบับเดิม
หมายเหตุเก็บเขาสารบบ
(รวมทั้งฉบับสํานักงานที่ดินเดิมดวย) ยกเลิกและใหสงคืน โฉนดที่ดินฉบับเดิม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


92 (ช.52)
มาตรา 69 ทวิ สอบเขตเฉพาะราย
มาตรา 79 แบงแยกและรวมที่ดิน
กฎกระทรวง ฉบับที่ 31 การแจงเจาของทีด่ ินขางเคียง
ใหนํา ม.69 ทวิ ไปใชบังคับโดย ผูมีสิทธิในที่ดิน
อนุโลมกับกรณีการขอแบงแยก
ที่ดินออกเปนหลายแปลง หรือรวม รวมทั้งขอตรวจสอบเนื้อที่ตาม
ประสงคจะขอสอบเขตโฉนด หนังสือรับรองการทําประโยชน
ที่ดินหลายแปลงเขาเปนแปลง
ที่ดินของตนเปนการเฉพาะราย เฉพาะราย (โดยอนุโลม)
เดียวกันดวย (ม.79)

ยื่นคําขอตอเจาพนักงาน ยื่นคําขอตอเจาพนักงานที่ดิน
ยื่นคําขอพรอมหนังสือ
แสดงสิทธิในที่ดิน
ณ สํานักงานที่ดิน
ตอพนักงานเจาหนาที่ จังหวัดหรือสาขาที่ที่ดิน ทองที่ที่ยกเลิก ทองที่ที่ยังไม
ตาม ม.71 ตั้งอยูในทองที่ อํานาจ ยกเลิกอํานาจ
นายอําเภอฯ แลว นายอําเภอฯ

เมื่อดําเนินการรังวัดเสร็จ พรอมดวยโฉนดที่ดิน
(หรือหนังสือรับรองการทํา ณ สํานักงานที่ดิน
ประโยชน แลวแตกรณี) จังหวัด/สาขา
กรณีที่ตองมีการจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรม (กรณีแบงแยก) ณ สํานักงานที่ดินอําเภอ (นายอําเภอฯ ปฏิบัติ
พนักงานเจาหนาที่ หนาที่ตาม ป.ที่ดินไปพลางกอนจนกวา
ใหจดทะเบียนฯ กอน ไปทําการรังวัด รัฐมนตรีจะประกาศยกเลิกอํานาจนายอําเภอฯ)

แลวจึงออกหนังสือแสดงสิทธิ ผลการรังวัด การแจงผูมีสิทธิในที่ดินขางเคียง ใหมาระวังแนว


ในที่ดินฉบับใหมให เขตของตน

ม. 69 ทวิ ว.3,4 + กฎกระทรวง ฉบับที่ 31


ถาการครอบครองไมตรงกับ
แผนที่หรือเนื้อที่ในโฉนดที่ดิน
ติดตอได ติดตอไมได
เมื่อผูมีสิทธิในที่ดินขางเคียง
ไดรับรองแนวเขตแลว ใหพนักงานเจาหนาที่
แตไมมา มาแตไมยอมลงชื่อรับรองแนว มา
เขตโดยไมคัดคานการรังวัด
ไมเปนการสมยอมเพื่อ ปดหนังสือ
หลีกเลี่ยงกฎหมาย แจงผูมีสิทธิใน
รับรอง คัดคาน
พนักงานเจาหนาที่ ที่ดินขางเคียง
เจาพนักงานที่ดิน
ดูตอนทาย
ทําหนังสือแจง
คัดคานแลวไมยอมมาทําการไกลเกลี่ย
ถือวาไมประสงคจะคัดคานตอไป

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


93

มีอํานาจแกไข ใหมาลงชื่อรับรองแนวเขต ใหมาลงชื่อรับรอง


แผนที่หรือเนื้อที่ หรือคัดคาน แนวเขตหรือคัดคาน
การรังวัด
ใหตรงกับความ สงไปรษณียตอบรับ
เปนจริงได
1. ปดที่เปดเผย ณ 2. สงหนังสือแจงนัน้
ไปยังผูมีสิทธิในที่ดินขางเคียง - บริเวณที่ดินของ พร อมทั ง
้ ทางไปรษณีย
แจงผูขอมาทราบ
ผูมีสิทธิในที่ดิน ลงทะเบียนตอบรับ
ผลการรังวัด ตามที่อยูที่เคยติดตอ หรือ ขางเคียงและ
ตามที่อยูที่ขางเคียงไดแจงเปน - ณ ที่วาการเขตหรือ ไปยังผูมีสิทธิในที่ดินขางเคียง
หนังสือไวตอเจาหนาที่ อําเภอหรือกิง่ อําเภอ
ทองที่ที่ตั้งของที่ดิน
มาลงชือ่ รับรองแนวเขตหรือคัดคานการรังวัด สงตามที่อยูที่สอบถามได
จากนายทะเบียนอําเภอหรือ
แหงละ 1 ฉบับ
นายทะเบียนทองถิ่น
ภายใน 30 วัน นับแตวันที่ไดสงหนังสือ

สอบถามไดที่อยู สอบถามแลวไมทราบที่อยู

ใหสงไปตามนั้น ใหสงไปตามที่อยูที่ปรากฏหลักฐาน
ที่สํานักงานที่ดิน (สารบบ)

แจงใหมาลงชื่อรับรองแนวเขตหรือคัดคาน หามรับคําคัดคาน
ภายหลังครบกําหนด
เวลาสอบถามแลว
ภายใน 30 วันนับแต
วันที่ไดสงหนังสือ

มาดําเนินการภายในกําหนด ไมมาดําเนินการภายในกําหนด

รับรองแนวเขต คัดคานการรังวัด คัดคานแลวไมยอมมาใหทํา ไมมารับรองแนวเขต


การสอบสวนไกลเกลี่ยถือวา หรือคัดคานการรังวัด
ดําเนินการตอไป เจาพนักงานที่ดิน ไมประสงคคัดคานตอไป

หากผูขอไดให
คัดคานรุกล้าํ ทาง
มีอํานาจสอบสวน คํารับรองวา
ครอบครองไมตรง ครอบครองตรง สาธารณประโยชน
ไกลเกลี่ย
ก็ทําการสอบสวน
(หามเปรียบเทียบ)
ดําเนินการตามระเบียบ ไกลเกลี่ยได
และแจงผูขอทราบ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


94

โดยถือหลักฐานแผนที่
1. มิไดนําทําการรังวัด 2. ยินยอมใหแกไขแผนที่หรือ
เปนหลักในการพิจารณา
รุกล้ําที่ดินขางเคียง เนื้อที่ใหตรงกับความเปนจริง

ตกลงกันได ตกลงกันไมได
(ตกลงแนวเขต) เจาพนักงานที่ดิน

ไมเปนการสมยอมกัน เจาพนักงานที่ดิน มีอํานาจแกไขแผนที่ หรือเนื้อที่


เพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมาย ใหตรงกับความเปนจริงได

เจาพนักงานที่ดิน แจงใหคูกรณีไปฟองศาล โดยไมตองมีการ


ดําเนินการไปตามที่ตกลง รับรองแนวเขต

ฟองใหศาลวินิจฉัยวาใครมี
สิทธิในที่ดินที่พิพาทดีกวากัน

แจงใหนําหลักฐานการ
ภายใน 90 วันนับแต
ฟองมาให สนง.ที่ดิน
วันที่ไดรับแจง
ดวย

ฟองภายในกําหนด ไมฟองภายในกําหนด

รอเรื่องจนกวาคดีถงึ ที่สุด ถือวาผูขอไมประสงคจะ


สอบเขตโฉนดที่ดินตอไป

เจาพนักงานที่ดินสัง่
ยกเลิกคําขอ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


95 (ช.53)
หมวด 6
การจดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรม
มาตรา 71 พนักงานเจาหนาที่ผูมีอํานาจจดทะเบียน และการจดทะเบียนตางสํานักงาน
มาตรา 72 การขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม และการรับคําขอตางสํานักงาน
การจดทะเบียนสิทธิและ
นิติกรรมตาม ป.ทีด่ ิน

พนักงานเจาหนาที่ การขอจดทะเบียนฯ
(ม.71) (ม.72)

ป.พ.พ. = ประมวล จดทะเบียนสิทธิและ ผูใดประสงคจะจดทะเบียนสิทธิและ


กฎหมายแพงและพาณิชย นิติกรรมเกี่ยวกับอสังหา- นิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย
ริมทรัพย ตาม ป.พ.พ. ตาม ป.พ.พ.

สําหรับอสังหาริมทรัพยที่ สําหรับอสังหาริมทรัพยอยูใน ใหคูกรณีนําหนังสือแสดง


อยูในเขตทองที่สํานักงาน เขตทองที่อําเภอหรือกิ่งอําเภอที่ สิทธิในที่ดิน (ตาม ป.ที่ดิน)
ที่ดินจังหวัดหรือสาขา ยังไมไดยกเลิกอํานาจนายอําเภอ
มาขอจดทะเบียนตอ
โฉนดที่ดิน+ พนักงานเจาหนาที่ ตาม ม.71
หนังสือรับรองการทํา หนังสือรับรองการทํา
ใบไตสวน+อสังหา- ประโยชนในทองที่ที่ ประโยชนและอสังหา-
ริมทรัพยอื่นๆ ยกเลิกอํานาจ ริมทรัพยอยางอืน่
นายอําเภอฯ แลว

นายอําเภอหรือปลัดอําเภอผู
เจาพนักงานที่ดิน เปนหัวหนาประจํากิ่งอําเภอ

ผูใดเปนเจาพนักงานที่ดินใน มาตรา 19 แหง พ.ร.บ.


สํานักงานที่ดินจังหวัด/สาขา แกไขเพิ่มเติมฯ (ฉบับที่ 4)
พ.ศ. 2528
คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่
66/2552 ลว. 18 ก.พ.2552 - การปฏิบัติการตามประมวลกฎหมายที่ดิน
ซึ่งเปนอํานาจหนาที่ของหัวหนาเขต
การกําหนดหนาที่และทุนทรัพยในการ นายอําเภอ หรือปลัดอําเภออยูเปนหัวหนา
จดทะเบียนฯ ของเจาพนักงานที่ดิน ประจํากิ่งอําเภออยูกอนวันที่ พ.ร.บ.นี้ใช
บังคับใหผูดํารงตําแหนงดังกลาวปฏิบัติตอไป
พลางกอน จนกวารัฐมนตรีจะไดประกาศ
คําสั่งกรมที่ดิน ที่ 955/2552 ลว.22 พ.ค.2552
ยกเลิกในราชกิจจานุเบกษาเปนทองที่ไป

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


96

ณ สํานักงานที่ดินจังหวัดหรือสาขาหรือสํานักงาน กรณีที่ดินที่มีโฉนดที่ดิน การยื่น


ที่ดินอําเภอซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยูแลวแตกรณี ใบไตสวน หรือหนังสือ คําขอตาง
(วาเปนหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินประเภทใดและอยู รับรองการทําประโยชน สํานักงาน
ในทองที่ที่ยกเลิกอํานาจนายอําเภอแลวหรือไม) ที่ดิน

ปจจุบัน กรมที่ดินตั้งสํานักงานที่ดินจังหวัด/ เปนการจดทะเบียนที่ เปนการจดทะเบียนที่


สาขา/สวนแยกขึ้นบริการประชาชนโดยถือเปน ตองมีการประกาศหรือ ไมตองมีการประกาศ
สวนหนึ่งของสํานักงานที่ดินจังหวัดหรือสาขา ตองมีการรังวัด หรือไมตองมีการรังวัด
แลวแตกรณี

ยื่นคําขอตอพนักงาน ยื่นคําขอตอพนักงาน
ดู ม.13 (ช. 24) เจาหนาที่ เจาหนาที่

ณ ณ

กรมที่ดิน หรือ สํานักงานที่ดิน


แหงหนึ่งแหงใด

งานจดทะเบียนที่ดินกลาง สํานักงานทีด่ ิน สํานักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร/


กรุงเทพมหานคร สาขา, สํานักงานที่ดนิ จังหวัด/
(สํานักงานที่ดินกรุงเทพมหานครมีฐานะเปน สาขา/สวนแยก (ไมรวมสํานักงาน
สํานักหนึ่งในการแบงสวนราชการกรมที่ดิน) ที่ดินอําเภอ)

รับคําขอแลวสงเรือ่ ง

เปนการรับคําขอตางสํานักงาน
(ไมใชจดทะเบียนตางสํานักงาน)
มาตรา 71 ว.2 การจดทะเบียน
ตางสํานักงาน
ใหพนักงานเจาหนาที่ตาม ม.71 ในทองที่
ที่ที่ดินตั้งอยูในทองที่ เปนผูจดทะเบียนฯ

ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรับคําขอจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยสําหรับที่ดินที่มี
โฉนดที่ดิน ใบแตสวนหรือหนังสือรับรองการทํา
ประโยชน ณ สํานักงานที่ดินแหงใดแหงหนึ่ง พ.ศ. 2554

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


97

มาตรา 71 ว.2 การจดทะเบียนตางสํานักงาน

กรณีที่สํานักงานที่ดินจังหวัด/สาขา ไดนํา
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
มาใชในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมแลว

เจาพนักงานที่ดิน อีกสํานักงานที่ดินหนึ่ง

เปนพนักงานเจาหนาที่จดทะเบียนสิทธิและ จดทะเบียนฯ
นิติกรรมฯ โดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศฯ
สําหรับอสังหาริมทรัพย
เอกสารสิทธิในที่ดินของ
สํานักงานที่ดินอื่นได
ที่อยูในเขตทองที่สํานักงานที่ดิน
จังหวัด/สาขาอื่นไดดวย

การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม

ขอยกเวน หลักเกณฑและวิธีการจดทะเบียน
(จดทะเบียนฯ ตางสํานักงานไมได)

ตามที่อธิบดีกรมทีด่ ินประกาศ
การจดทะเบียนที่ตอง กําหนดในราชกิจจานุเบกษา
1. มีการประกาศกอน (เชน โอนมรดก
ตาม ม.81, นิติกรรมที่ตองมีการ
ประกาศตามกฎฉบับที่ 7) ปจจุบัน ยังไมไดกําหนดหลักเกณฑและวิธีการ
หรือ (กรมที่ดินยังไมพรอมจดทะเบียนตาง
2. มีการรังวัดกอน (เชน แบงไดมาโดย สํานักงาน) เนือ่ งจากตองสรางฐานขอมูลที่ใช
การครอบครอง, แบงกรรมสิทธิ์รวม) จดทะเบียน และเอกสารสิทธิในระบบออนไลน
เชื่อมโยงกันในแตละสํานักงานใหเสร็จกอน จึง
จะสามารถจดทะเบียนตางสํานักงานได

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


98 (ช.54)
มาตรา 73 นิตกิ รรมโมฆะกรรม โมฆียกรรม
มาตรา 74 อํานาจของพนักงานเจาหนาที่ในการจดทะเบียน
ทราบจากการ การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตาม ป.ที่ดิน
สอบสวนตาม
กฎกระทรวง ฉบับ
ที่ 7 (รวมทั้งฉบับ ความสมบูรณของนิติกรรม อํานาจของพนักงานเจาหนาที่
ที่แกไขเพิ่มเติม)

เมื่อปรากฏตอพนักงานเจาหนาที่วา ในการดําเนินการจดทะเบียนฯ
นิติกรรมที่คูกรณีนาํ มาขอจดทะเบียน ของพนักงานเจาหนาที่ ตาม ม.71
(ม.73) (ม.74)

พนักงานเจาหนาที่
โมฆะกรรม โมฆียะกรรม

พนักงานเจาหนาที่ พนักงานเจาหนาที่ มีอํานาจ


(ตาม ม.71) (ตาม ม.71)

1. สอบสวนคูกรณี 2. เรียกบุคคลที่เกี่ยวของมา
ไมตองจดทะเบียนให
รับจดทะเบียน ไมรับจดทะเบียน ใหถอยคําหรือสงเอกสาร
การสอบสวนปฏิบัติ หลักฐานที่เกี่ยวของตาม
เมื่อคูกรณีฝายที่ หากคูกรณีฝายที่ ตามขอ 2 แหง ความจําเปน

การปฏิเสธคําขอเปน อาจเสียหายยืนยัน อาจเสียหายไม กฎกระทรวง ฉบับที่ 7


คําสั่งทางปกครอง ใหจด ยอมยืนยันใหจด ใหพนักงานดําเนินการ
ดู ช. 77 ไปตามควรแกกรณี
โมฆียกรรม
1. เปนนิติกรรมที่มีผลใชไดจนกวาจะถูกบอกลาง กรณีเปนที่ควรเชื่อไดวา ผูใดฝาฝนหรือไม
2. เสียเปลาเมื่อมีการบอกลางใหตกเปนโมฆะ ปฏิบัติตาม ม.74
3. ผูมีสิทธิบอกลางไดตองเปนบุคคลที่กฎหมายกําหนดไว
โดยเฉพาะ ผูมีสวนไดเสียทั่วไปไมมีสิทธิบอกลาง
มีความผิดตาม ม.109
4. อาจใหสัตยาบันได
5. มีกําหนดเวลาบอกลาง ถาไมบอกลางภายในกําหนดเปน
อันหมดสิทธิ ระวางโทษปรับไมเกิน 2,000 บาท หรือ
จําคุกไมเกิน 3 เดือน หรือทั้งปรับทั้งจํา
โมฆะกรรม
1. เปนการกระทําที่เสียเปลามาแตตน ไมมีผลอยางใดในทางกฎหมาย การขอจดทะเบียนฯ จะ บุคคลใดจะซื้อที่ดินเพื่อ
2. เสียเปลาทันทีโดยไมตองบอกลาง เปนการหลีกเลี่ยงกฎหมาย ประโยชนแกคนตางดาว
3. ผูมีสวนไดเสียทั่วไปมีสิทธิกลาวอางความเสียเปลาได เชน เจาหนี้
4. ไมอาจใหสัตยาบันได เพราะเปนการกระทําที่เสียเปลามาแตตน
พนักงานเจาหนาทีส่ งเรื่องขอคําสั่งตอรัฐมนตรีฯ
5. การกลาวอางถึงความเสียเปลาไมมกี ําหนดอายุความหรือ
กําหนดเวลา ถึงที่สุดทางบริหาร
คําสั่งรัฐมนตรีฯ เปนที่สุด สามารถฟองศาลได
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
99 (ช.55)
มาตรา 75 จดทะเบียนทั้งสองฉบับ
มาตรา 76 จดทะเบียนใบไตสวน
มาตรา 77 หลักเกณฑวิธีการจดทะเบียน
มาตรา 78 วิธกี ารจดทะเบียนการไดมาตาม ม.1382 ป.พ.พ. หรือโดยประการอื่น
มาตรา 80 ไถถอนฝายเดียว
การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตาม ป.ที่ดิน

การทําสัญญา หลักเกณฑและ การไดมาตาม ม.1382 จดทะเบียนฝายเดียว


และจดทะเบียน วิธีการจดทะเบียน ป.พ.พ. หรือประการ
อื่นนอกจากนิตกิ รรม
กรณีไถถอนจากจํานอง
การจดทะเบียนฯ การจดทะเบียนฯ (ม.78)
หรือไถถอนจากขายฝาก
เกี่ยวกับที่ดิน เกี่ยวกับที่ดินหรือ (ม.80)
(ม.75) อสังหาริมทรัพยอยางอืน่ การจดทะเบียนสําหรับ
(ม.77) ที่ดินที่มีโฉนดที่ดินแลว

ที่มี ที่ดินซึ่งพนักงาน ถาประมวลกฎหมายที่ดิน


- โฉนดที่ดิน เจาหนาที่ไดทําการ มิไดบัญญัติไวเปนอยางอื่น
- หนังสือรับรอง สอบสวนและรังวัด
การทําประโยชน หมายเหตุแลว แตยัง ใหปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธกี าร
ไมไดออกโฉนดที่ดิน ที่กําหนดไวในกฎกระทรวง
เจาพนักงานที่ดิน (มีใบไตสวน, (น.ส.5))
(ม.76) กฎกระทรวง ฉบับที่ 7
และฉบับที่แกไขเพิ่มเติม
1. ทําบันทึกขอ
ตกลงหรือทํา ขอจดทะเบียนไดตอพนักงาน
สัญญาเกี่ยวกับการ เจาหนาที่ ตาม ม.71 ดู ช. 77
นั้นแลวแตกรณี
การจดทะเบียน จดแจงในใบไตสวน
2. จดบันทึก
สาระสําคัญลงใน
อนุโลมตามวิธีจดทะเบียนโฉนดที่ดิน
โฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรอง
การทําประโยชน 1. ทําบันทึกขอ ตกลงหรือทํา
สัญญาเกี่ยวกับการนั้นแลวแตกรณี
ทั้งฉบับ
สํานักงานที่ดิน 2. จดบันทึกสาระสําคัญลงใน
และฉบับเจาของ ใบไตสวน
ที่ดินใหตรงกัน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


100

สิ่งปลูกสรางอยางเดียว เฉพาะที่ดินมีหนังสือ
จะขอไถถอนฝายเดียวไมได แสดงสิทธิในที่ดินแลว
เทานั้น
กําลังมีการขอแกไขกฎหมาย
ใหไถถอนฝายเดียวได ผูรับจํานองหรือผูรบั ซื้อฝาก

ไดทําหลักฐานเปนหนังสือวาได มาพรอมกับผูมีสิทธิในที่ดิน
มีการไถถอนแลว (ไมมาดวย) หรือผูมีสิทธิไถถอน

ผูมีสิทธิในที่ดินหรือ จดทะเบียนตามปกติ
ผูมีสิทธิไถถอน ที่มีคูกรณีทั้ง 2 ฝาย

นําหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
(พรอมหลักฐานขางตน)

มาขอจดทะเบียนไถถอน
(ฝายเดียว) ตอพนักงาน
เจาหนาที่ได

ตรวจเปนที่ถูกตองใหจดทะเบียนไถถอน
ใหปรากฏในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน

จดทะเบียนทั้ง 2 ฉบับ
ใหตรงกัน

การจดทะเบียนไถถอนจากจํานอง
หรือขายฝากในกรณีคูสัญญาตาย

ปฏิบัติตาม

ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับการขายฝากที่ดินและอสังหาริมทรัพยอยางอื่น พ.ศ. 2549


ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับการจํานองที่ดินและอสังหาริมทรัพยอยางอื่น พ.ศ. 2550

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


101 (ช.56)
มาตรา 81 โอนมรดก
(ปจจุบันแกไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติม ป.ที่ดิน (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2543
กฎกระทรวง ฉบับที่ 24
การขอจดทะเบียนฯ เกี่ยวกับ ทางปฏิบัติ ปฏิบัตติ ามระเบียบกรม
อสังหาริมทรัพย ซึง่ ไดมา ที่ดิน วาดวยการจดทะเบียนสิทธิ
โดยทางมรดก เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยซึ่งไดมา
(ม.81) โดยทางมรดก พ.ศ. 2548, (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2549, (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553
ผูไดรับมรดก
เชน มรณะบัตร พินัยกรรม
หลักฐานการเปนทายาท
1. นําหลักฐานสําหรับที่ดิน 2. หลักฐานในการ ทะเบียนบาน สูติบัตร เพื่อ
ซึ่งมีชื่อเจามรดก
หรือหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน ไดรับมรดก แสดงฐานะความเปนทายาท
ของผูตาย

มายื่นคําขอ
1. กรณีมรดกมีพินัยกรรม
ถาหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินอยู ตอ
ใหสอบสวนพยานหลักฐานและ
กับบุคคลอื่น พนักงานเจาหนาที่
วันตายของเจามรดกตลอดจนสิทธิ
มีอํานาจเรียกมาจดทะเบียนได พนักงานเจาหนาที่ ตาม ม.71
ในการรับมรดกตามพินัยกรรม
2. กรณีมรดกไมมีพินัยกรรม
สอบสวนแลวบันทึกลงในเรื่องราวขอ สอบสวนพยานหลักฐาน
ใหสอบสวนพยานหลักฐานและ
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (ท.ด.1)
พิ จารณาการเป นทายาท สิ ทธิ ใน
และในแบบบันทึกการสอบสวนขอจด
ไมเชื่อวาผูขอเปนทายาท เชื่อวาผูขอ การรั บมรดกและวั นตายของเจ า
ทะเบียนโอนมรดก (ท.ด.8)
เปนทายาท มรดก โดยใหผูขอแสดงบัญชีเครือ
สั่งไมรับคําขอแจงผูขอ ญาติและหลักฐานอื่นประกอบ
เฉพาะกรณี น.ส.3/ น.ส.3 ข. หากจะ (กฎกระทรวง ฉบับที่ 24)
(เปนคําสั่งทางปกครอง) สั่งรับคําขอและดําเนินการ
มีการทํานิติกรรมประเภทอื่นเชน
ขายในวันที่จดทะเบียนโอนมรดก
จะตองประกาศการขอจดทะเบียน 1. ประกาศ (การขอรับมรดก) และ 2. มีหนังสือสงประกาศ ตาม 1.
มีกําหนด 30 วัน ตามกฎกระทรวง
ฉบับที่ 7 ขอ 5ตางหากดวย ทําเปนหนังสือ ใหบุคคลที่ผูขอแจงวา เทาที่จะ
เปนทายาททุกคนทราบ ทําได
ดู ช. 77 ปดในที่เปดเผย ณ ปดมีกําหนด 30 วัน
หามรับคําคัดคาน
ภายใน
ภายหลังครบ
1. สํานักงานที่ดิน (หมายถึง สํานักงานที่ดินจังหวัดหรือสาขา กําหนด
การเริ่มนับ กําหนดประกาศแลว
ไมไดหมายถึงสํานักงานที่ดินอําเภอดวย) ประกาศ
2. เขต หรือที่วาการอําเภอ หรือกิง่ อําเภอ กําหนดใหนับ
30 วัน
3. สํานักงานเทศบาล/ ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบล จากวันปด เฉพาะทายาทเทานั้นที่มี
4. ที่ทําการแขวงหรือที่ทําการกํานัน (1-4 ทองที่ ซึ่งที่ดินตั้งอยู) ประกาศฉบับ สิทธิโตแยง คัดคานบุคคล
5. บริเวณที่ดิน แหงละ 1 ฉบับ หลังสุดเปน อื่น ๆ จะโตแยงไมได เพราะ
หลัก เปนเรื่องขอโอนมรดก
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
102

ไมมีทายาทซึ่งมีสิทธิ มีทายาทซึ่งมีสิทธิ
ไดรับมรดกโตแยง ไดรับมรดกโตแยง

และมีหลักฐานเปนที่เชื่อได โตแยงเกินกําหนด โตแยงภายใน


วาผูขอมีสิทธิไดรับมรดก เวลาประกาศ กําหนดประกาศ

ครบประกาศ ไมรับคําโตแยง (ถือวาไมอยูใน พนักงานเจาหนาที่


หลักเกณฑที่จะคัดคานได)
พนักงานเจาหนาที่ มีอํานาจ
เนื่องจากเกินกําหนด
จดทะเบียนโอนมรดก เวลาที่กฎหมายกําหนด 1. สอบสวนคูกรณี
2. เรียกบุคคลใด ๆ มาให
ผูโตแยงมีสิทธิไป ถอยคําหรือสัง่ ใหสงเอกสารที่
เทาที่ผูขอมีสิทธิตาม ตามที่ผูขอแสดงหลักฐาน
ดําเนินการทางศาล เกี่ยวของไดตามความจําเปน
กฎหมายเทานั้น การมีสิทธิตามกฎหมาย
เพื่อรับมรดกตอไป
3. มีอํานาจเปรียบเทียบ
ระเบียบกรมที่ดิน หลักเกณฑและวิธีการ ยื่นโตแยง (คัดคาน)
(วาใครมีสิทธิในมรดกดีกวากัน)
วาดวยการจด ไวแลว แตไมยอมมา
ทะเบียนสิทธิเกีย่ วกับ เปรียบเทียบถือวา
อสังหาริมทรัพยซึ่ง ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 24
คูกรณีไมอาจตกลงกัน เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ
ไดมาโดยทางมรดก ได พนักงานเจาหนาที่ ไมตกลง ตกลงกันได
พ.ศ. 2548 ,(ฉบับที่ 2) กรณีมรดกไมมีพินยั กรรม พิจารณาสั่งการได
พ.ศ. 2549, (ฉบับที่ 3) และมีทายาทมีสิทธิรับมรดก ตามที่เห็นสมควร
พนักงาน พนักงาน
พ.ศ. 2553 หลายคน
เจาหนาที่ เจาหนาที่

(1) ทายาทบางคนมาขอตามสิทธิของ (2) กรณีทายาทบางคนมา สั่งการไปตามที่ สั่งการตามที่


ตนหรือขอใหลงชือ่ ทายาทอื่นที่มี ขอรับมรดกทั้งหมด เห็นสมควร ตกลง แตไม
สิทธิทุกคนตามที่ผขู อแสดงไวใน เกินสิทธิและ
บัญชีเครือญาติ ถาผูขอนําทายาททีแ่ สดง ไมขัดกฎหมาย
แจงคูกรณีทราบ
ไวในบัญชีเครือญาติทุก และใหฝายที่ไม
คนมาใหถอยคํายินยอม พอใจไปดําเนินการ
ไมมีผูโตแยงภายใน
หรือนําหลักฐานการไม จดทะเบียน
กําหนดประกาศ
รับมรดกของทายาทมา โอนมรดก
ฟองตอศาล
แสดงตอพนักงาน
พนักงานเจาหนาที่
ภายในกําหนด 60 วัน
ภายในกําหนดเวลาที่ประกาศ
จดทะเบียนใหตามที่ผูขอแสดง นับแตวันที่ไดรับแจง
(30 วัน)
หลักฐานการมีสิทธิตามกฎหมาย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


103

การไมรับมรดกตามกฎกระทรวง ทายาทฝายไมพอใจ กรณีทายาทฟองตอ กรณีทายาทอื่นซึ่งมี


ฉบับที่ 24 ไมใชการสละมรดก แต มิไดฟองตอศาลและ ศาลและนําหลักฐาน สิทธิไดรับมรดกได
เปนสัญญาประนีประนอมยอมความ นําหลักฐานมาแสดง มาแสดงตอพนักงาน ฟองคดีเกี่ยวกับสิทธิ
(ไมมีการแทนที่เหมือนการสละมรดก) ภายในกําหนด เจาหนาที่ภายใน ในการรับมรดกตอ
ศาลกอนที่จะมีการ
ดําเนินการไปตามที่ หลักฐานที่ตอ งนํามา จดทะเบียนไดมาโดย
พนักงานเจาหนาที่
พนักงานเจาหนาทีส่ ั่ง แสดงคือหลักฐานการ ทางมรดก
ยื่นฟองพรอมสําเนา
จดทะเบียนใหตามที่ผูขอแสดง
คําฟองเกี่ยวกับสิทธิ ตองนําหลักฐานการ
หลักฐานในการมีสทิ ธิตามกฎหมาย รวมทั้งกรณีฟอ ง
ในการไดรับมรดก ฟองมาแสดงกอน
ภายในกําหนด แตไม
นําหลักฐานการฟอง พนักงานเจาหนาที่
กรณีตอ งมี กรณีผูขอไม จดทะเบียน
มาแสดงภายใน
คําสั่งศาลเพือ่ สามารถนํา พนักงานเจาหนาที่
กําหนดดวย
เปนหลักฐาน ทายาทมาให ระงับการจดทะเบียนไว
การไมรับมรดก ถอยคํายินยอม เมื่อผูนํา (ผูฟอ ง) นํา
ของทายาท หรือไมสามารถ หลักฐานการยื่นฟอง
ศาลไดมีคําพิพากษา
นําหลักฐานการ พรอมสําเนาคําฟอง
หรือคําสั่งถึงที่สุด
ไมขอรับมา มาแสดงตอพนักงาน
ผูขอตองนํา ประการใด
แสดงไดภายใน เจาหนาที่
คําสั่งศาลที่ถึง
ที่สุดพรอมการ กําหนดประกาศ
พนักงานเจาหนาที่
ใหถอยคํา
ดําเนินการไปตามนั้น
ยินยอมของ
พนักงานเจาหนาที่
ทายาทนั้น
ยกคําขอเสีย

ตอพนักงานเจาหนาที่

กรณียังไมมีคําสัง่ ศาล

ใหรอเรื่องไวจนกวา
จะมีคําสัง่ ศาลถึงทีส่ ุด

ผูขอตองนําหลักฐานการดําเนินการทางศาลมาแสดง
ภายใน 30 วัน นับแตทายาทนั้นมาใหถอยคํายินยอม

ไมนํามาแสดงภายในกําหนด

พนักงานเจาหนาทีย่ กคําขอเสีย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


104 (ช.57)
มาตรา 82 จดทะเบียนผูจัดการมรดก, โอนมรดก
ผูใด (ผูจัดการมรดก) ประสงคจะ
จดทะเบียนลงชื่อผูจ ัดการมรดก
ตองมีหนังสือแสดงสิทธิใน
ที่ดินเทานั้น จึงจะขอจด
ในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน ทะเบียนผูจัดการมรดกได

ยื่นคําขอพรอมนําหนังสือแสดง สิ่งปลูกสรางอยางเดียว จะขอจด


ทะเบียนผูจัดการมรดกไมได
สิทธิในที่ดินและหลักฐานการ
เพราะกฎหมายใหจดลงใน
เปนผูจัดการมรดกมาแสดง
หนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเทานั้น
(กําลังมีการขอแกกฎหมายใหจด
พนักงานเจาหนาทีต่ าม ม.71 ผูจัดการมรดกได)

ทางปฏิบัติ ปฏิบัตติ าม
กรณีผูจัดการมรดกตามคําสั่งศาล กรณีเปนผูจัดการมรดกในกรณีอื่น ระเบียบกรมที่ดิน
(พินัยกรรม) วาดวยการจดทะเบียน
พนักงานเจาหนาที่ สิทธิเกี่ยวกับอสังหา
พนักงานเจาหนาที่ ริมทรัพยซึ่งไดมา
ทั้งเรื่อง โดยทางมรดก พ.ศ. 2548
ตรวจสอบหลักฐาน - เจามรดก
- คําสั่งศาล สอบสวนและตรวจสอบหลักฐาน ทั้งเรื่อง
- เจามรดก
ถูกตองครบถวน - เอกสารสิทธิ
- พินัยกรรม
ในที่ดิน นํา ม.81 ว.2 ใชบังคับโดยอนุโลม - เอกสารสิทธิในทีด่ ิน
จดทะเบียนผูจัดการมรดก
คือ 1. มีการประกาศ 30 วัน ดู ช. 56
2. สงประกาศใหทายาททุกคนทราบ (เฉพาะชวง
ลงในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน (เพื่อใหทราบวามีผูขอจดทะเบียน ประกาศและแจง
ผูจัดการมรดกของผูต าย) ทายาทเทานั้น)

เหมือนกับรับมรดกธรรมดาจะ
ไมมีผูโตแยง มีผูโตแยง
ตางกันเฉพาะกรณีมีการคัดคาน

จดทะเบียนผูจัดการมรดก ใหรอเรื่องไวและให ฟองเกี่ยวกับการ


คูกรณีไปฟองศาล เปนผูจัดการมรดก
(พินัยกรรม)
ลงในหนังสือ
แสดงสิทธิในที่ดิน ศาลมีคําพิพากษา
หรือคําสั่งถึงที่สุด เจาพนักงานที่ดินไมมี
อํานาจหนาที่ในการ
เปนประการใด
เปรียบเทียบเหมือน
ม.81 เพราะเปนกรณี
ใหดําเนินการไปตามนั้น โตแยงเรื่องพินัยกรรม)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


105

ทั้งกรณีผูจัดการมรดกตาม เมื่อไดมีการจดทะเบียนผูจัดการมรดก
คําสั่งศาลและตามพินัยกรรม ลงในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินแลว

ผูจัดการมรดกจะขอโอนใหทายาท

พนักงานเจาหนาที่

จดทะเบียนโอนมรดกใหตามคําขอ

โดยไมตองประกาศเรื่องโอนมรดกตาม ม.81

เฉพาะกรณีที่ดินที่มีหนังสือรับรองการ
ทําประโยชน (เฉพาะ น.ส.3, น.ส.3ข.)

แตถาไมโอนมรดกใหทายาทแตจะทํานิติกรรม หรือกรณีโอนใหทายาทแลว และทายาท


ประเภทอื่น (ที่ผูจัดการมีอํานาจกระทํา) เชน ขาย จะขายตอในวันนั้น

ตองประกาศการขอจดทะเบียนขาย เนื่องจากที่มีการประกาศไป
ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 7 ขอ 5 กอนนั้นเปนการประกาศเรื่อง
มรดกตาม ม.81 / ม .82 ไมใช
ดู ช. 77 เปนการประกาศตาม
กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 ซึ่ง
เปนประกาศเรือ่ งทํานิติกรรม
ตามที่กฎหมายกําหนด
(เปนการประกาศคนละ
วัตถุประสงค)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


106 (ช.58)
มาตรา 83 อายัดที่ดิน
(แกไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2543)

การอายัดหองชุด นําหลักเกณฑอายัด ตาม ผูขออายัด


ม.83 ป.ที่ดิน มาใชบังคับกับการอายัดหอง ผูใดมีสวนไดเสียในที่ดิน
ชุดดวย
(ม.30 แหง พ.ร.บ.อาคารชุด พ.ศ. 2522) ตองมีสวนไดเสียในที่ดิน

หมายถึง ยังไมไดฟอง
สวนเมื่อฟองแลวจะแพชนะไมใชหนาที่
อันอาจฟองบังคับ มากอนขออายัด
ของเจาหนาที่จะตองพิจารณา

ใหมีการจดทะเบียน หรือ ใหมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนได

ประสงคจะขออายัดที่ดิน
ณ สํานักงานที่ดินจังหวัด/สาขา
(หรือสํานักงานที่ดนิ อําเภอ กรณียัง
ไมยกเลิกอํานาจหนาที่นายอําเภอ) ยื่นคําขอ
ที่ที่ดินตั้งอยูแลวแตกรณี ตอ
พนักงานเจาหนาทีต่ าม ม.71 - หลักฐานไมรวมถึงพยานบุคคล
ประเด็นที่ขออายัดจะตองยังไมมีการ - ไมตองเรียกเอกสารหลักฐานเพิ่มให
ยื่นฟองตอศาล สอบสวนเอกสารหลักฐาน พิจารณาเทาที่นํามาแสดงเทานั้น
ที่ผูขอนํามาแสดงแลว - หลักฐานในสารบบ ผูขออายัดก็อา งได

เนื่องจากการอายัดที่ดินตาม ป.ที่ดิน ปฏิบัติตามคําสัง่


ไมสมควรเชื่อถือ สมควรเชื่อถือ
เปนการอายัดเพื่อใหผูขออายัดไป กระทรวงมหาดไทย
(วา (มีหลักฐาน) เปนผูมี (อยูในหลักเกณฑ
ดําเนินการทางศาลตอไป (เปนการ ที่ 635/2547 ลว.21
สวนไดเสีย และจะฟองศาล รับอายัด)
คุมครองชั่วคราวระหวางไป ธ.ค.2547 เรื่องอายัด
ได (ไมอยูในหลักเกณฑ))
ดําเนินการฟองศาล)
กรณีสั่งอายัดไมชอบ
เปนคําสั่ง สั่งรับอายัด ดวยกฎหมาย
เปนคําสั่ง ทางปกครอง
สั่งไมรับอายัด
ทางปกครอง
แจงใหผูขออายัดทราบ มีกําหนด 30 วัน ถาผูมีสวนไดเสีย
ถึงวันที่ไดสั่งรับอายัดดวย นับแตวันที่สั่ง คัดคานวาอายัดนั้น
แจงผูขอทราบ
รับอายัด ไมชอบดวยกฎหมาย

ผูขอขออายัดใหมได พนักงานเจาหนาที่

ชั้นนี้สอบสวนไดทั้งพยานบุคคล มีอํานาจสอบสวน
และเอกสารหลักฐาน เมื่อพนกําหนด พยานหลักฐาน
ระยะเวลาอายัด เทาที่จําเปน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


107

เปนหลักเกณฑ ม.83 ใหม ถือวาอายัดสิ้นสุดลง และ ผูนั้นจะขออายัดซ้ํา เชื่อไดวารับอายัดไมชอบฯ


ทันที ในกรณีเดียวกันอีก

ไมวาผูขออายัดจะไป ใหพนักงานเจาหนาที่
คือหามอายัดซ้ํากรณีผูขอคนเดิม
ฟองศาลหรือไม และ
และเปนกรณีขออายัดเดิม
ไมตองนําหลักฐานการ
ฟองมาแสดงอีก มีอํานาจสั่งยกเลิก
แตถาเปนกรณี การอายัดนั้น

เมื่อฟองแลว
- ผูขออายัดเดิม - ผูขอคนใหม แตนํา แจงผูขออายัดทราบ
แตขออายัดกรณีใหม กรณีเดียวกับที่คนอืน่
เปนเรื่องของศาลที่ เคยขออายัดไวแลว
จะดําเนินการตาม
ป. วิแพงตอไป
เปนเรื่องขออายัดกรณีใหม เปนเรื่องคนขออายัดคนใหม

คูความตองขอศาลตามวิธีการ
ชั่วคราวกอนพิพากษาตาม ป.วิ ขออายัดได ตามหลักเกณฑขางตน
แพง ภาค 4 (คุมครองชั่วคราว
สั่งหามทํานิติกรรมใด ๆ) เริ่มกระบวนพิจารณา
อายัดใหม

หากไมขอและศาลไมมี
คําสั่งเกี่ยวกับที่ดินนั้น มาตรา 83 ที่แกไขเพิ่มเติมใหม
มาภายในกําหนดอายัด มีผลทําใหอายัดสิ้นสุดลง
(3 กรณี)

เมื่อครบกําหนดอายัดแลว
สามารถขอจดทะเบียนได 1. เมื่อพนกําหนด 30 วัน นับแตวันที่สั่งรับ

2. พนักงานเจาหนาที่สั่งยกเลิกอายัด เนื่องจากรับ
อายัดไวโดยไมชอบดวยกฎหมาย

3. ผูขออายัดขอถอนอายัดนั้น

แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการอายัดที่ดิน

ปฏิบัติตามคําสัง่ กระทรวงมหาดไทย
ที่ 635/2547 เรื่อง การอายัดที่ดิน ลว. 21 ธ.ค. 2547

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


108
(ช.59)
คําสั่งกระทรวงมหาดไทย
ที่ 635/2547 เรื่อง การอายัดทีด่ ิน

คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 635/2547


ออกตามมาตรา 83 ป.ที่ดิน
เรื่อง การอายัดที่ดนิ ลว. 21 ธ.ค. 2547

ยกเลิกคําสั่งเดิม การใชบังคับ หมวด 1


(ขอ 1) แบบบัญชีอายัดและแบบคําสั่งหามโอน

ตั้งแตวันที่ 21 ธ.ค.
คําสั่งกระทรวงมหาดไทย 2547 เปนตนไป บัญชีอายัด แบบคําสั่งหามโอน
ที่ 228/2530 ลว. 15 พ.ค. 2530
(ขอ 4)
จัดทํา 2 บัญชี
คําสั่งหรือระเบียบการอื่นใดขัดหรือ แบบพิมพคําสั่งหามโอน
(ขอ 3)
แยงกับคําสั่ง มท ที่ 635/2547 (ขอ 2) (ท.ด.37)
(สีชมพู)
ใหใชคําสั่ง มท. ที่ 635/2547 1. บัญชีตัวอักษร 1. บัญชีตัวเลข
ลว. 21 ธ.ค.2547 แทน กรณีอายัดในระบบ
เรียงตามตัวอักษร ก ถึง ฮ เรียงตามหมายเลข คอมพิวเตอร ไม
ตองจัดทําบัญชี
ลงบัญชีตามตัวอักษรชื่อตัวแรก ลงบัญชีตามหมายเลข อายัดตัวเลข
ของเจาของที่ดินในชอง 2 ตัวแรกของหนังสือ
แสดงสิทธิในที่ดินใน
บัญชีจัดแบงหนาบัญชี ชอง 3
ตามลําดับตัวอักษร ก ถึง ฮ
บัญชีจัดแบงหนาบัญชี
ตามลําดับเลข 1 ถึง 9

บัญชีอายัดแยกเลมกัน (บัญชี แตละบัญชีแยกเปน


ตัวอักษรและบัญชีตัวเลข) อําเภอ

จํานวนเลมบัญชีอายัด

ตามความเหมาะสม

อําเภอละเลม หรือ หลายอําเภอตอเลม หรือ อําเภอละหลายเลม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


109

การแบงหนาในเลม หนาหนึ่ง ๆ ในบัญชี

- แบงหนาอักษร 1 หนา ใหลงเพียง 5


- แบงหนาหมายเลข รายเทานั้น

มากหรือนอยตามสมควร เวนบรรทัดใหเทากัน

(เปนดุลพินิจวาควรจะแบง หมวดที่ 2
กันไวแตละตัวอักษรหรือ การรับคําขอ
ตัวเลขไวจํานวนกีห่ นา) หลักเกณฑของผูขอที่
มีสิทธิขออายัด ดู ม 83 การยื่นคําขอ
(ช. 58) (ขอ 5)

สถานที่ยื่น รายละเอียดในคําขออายัด
(ขอ 6)
ณ สํานักงานที่ดินทองที่ที่ที่ดินนั้นตั้งอยู
ผูขออายัดตองระบุ
ใหชัดเจน
ยื่นตอนพนักงานเจาหนาที่

รายละเอียดที่ตอ งสอบใหชัดเจนทุกขอ
เจาหนาที่ตองระบุเวลาที่
ตามแบบ ท.ด.9 1. ผูขออายัดเปนผูม ีสวนไดเสียเกี่ยวกับที่ดิน
ยื่นคําขอใหปรากฏดวย ที่ขออายัดอยางไร
2. มีเอกสารหลักฐานอยางไร (ที่แสดงการมี
เพื่อใหทราบวาหากมีการ พรอมเอกสารหลักฐาน สวนไดเสียตาม 1.)
จดทะเบียนไประหวางนั้น 3. มีเหตุผลความจําเปนอยางไรที่ตอ งมาขอ
ไดจดทะเบียนกอนหรือ อสังหาริมทรัพย อายัด
มีการอายัดไวกอ น ที่จะยื่นอายัดได 4. ขออายัดแลวจะไปฟองศาลในประเด็นใด
(เพื่อดูวาเขาหลักเกณฑ ม.83 คือ เปนการ
ฟองแลวหากชนะจะมีการจดทะเบียนหรือมี
ที่ดิน สิ่งปลูกสราง การเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนหรือไม)
(ขอ 8) 5. ตามขอ 4 หากมีเหตุหลายประเด็นใหแยก
เปนประเด็น (เพือ่ จะไดสั่งถูกวารับอายัดใน
ไมมีหนังสือ มีหนังสือแสดงสิทธิ ไมสามารถ เหตุผลประเด็นใด)
แสดงสิทธิในที่ดิน ในที่ดินแลว ยื่นขออายัดได 6. กรณีที่ดินที่ขออายัดปรากฏวามีการโอน
ไปบุคคลภายนอกแลว (ชื่อในที่ดินไมใช
ยื่นขออายัดไมได ยื่นอายัดได คูกรณีที่มาขออายัด) ใหระบุดวยวา จะฟอง
กฎหมายไมได บุคคลภายนอกดวยหรือไม และถาฟองจะ
ระบุใหยื่นอายัดได ฟองในประเด็นใด มีเหตุผลอยางไร)
เพราะไมมีการจดทะเบียน
เปลี่ยนแปลงทางทะเบียน
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
110

กรณีผูขอมาขออายัด ณ กรณีขออายัดทางหนังสือ
สํานักงานที่ดินทองที่ที่ที่ดินตั้งอยู (ขอ 9)

พนักงานเจาหนาที่ โดยผูขอไมไดมาขออายัดตอพนักงาน
(ขอ 7) เจาหนาที่ ณ สํานักงานที่ดินฯ

สอบสวนรับคําขอ พนักงานเจาหนาที่

เมื่อไดรับแจงหนังสือขอใหระงับ
ลงบัญชีอายัด (บ.ท.ด. 27) การพิจารณาสั่งคําขอ
การจดทะเบียนหรือเปลี่ยนแปลง
ทั้ง 2 บัญชี
ทางทะเบียนเกี่ยวกับที่ดินของผูใด
- รับอายัด
ลงทันที - ไมรับอายัด ใหพนักงานเจาหนาที่ดําเนินการ
ไมตองแจง
พรอมจดบันทึกในชอง 5 เปนคําสั่ง
แจงผูขอสงหนังสือทราบ เจาของที่ดิน
(จัดการอยางไร) วา ทางปกครอง
(ทางหนังสือ) ที่ถูกขออายัด
“ระหวางดําเนินการ”
ทราบ
หมวด 3
การพิจารณาและสัง่ อายัด
1. การอายัดตาม ม.83 และ 2. แนะนําให
ตองมาขออายัดตอ ไปดําเนินการยื่นคํา
หลักเกณฑการรับอายัด พนักงานเจาหนาที่ โดย ขออายัดตอ
(ขอ 12) มีหลักฐานที่แสดงวา พนักงานเจาหนาที่
เปนผูมีสวนไดเสียใน ใหถูกตองตาม
ตอง ที่ดินที่จะขออายัดอัน กฎหมายตอไป
- เปนกรณีที่ผูขอมีสวนไดเสียเกี่ยวกับที่ดินแปลงที่ขออายัด อาจจะฟองบังคับใหมี
โดยตรง อันอาจจะฟองบังคับใหมีการจดทะเบียนหรือใหมี การจดทะเบียนหรือ
กรณีมีการฟองศาลแลว
การเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนไดเทานั้น เปลี่ยนแปลงทางทะเบียน
(ขอ 10)
(ดูรายละเอียด ม.83 (ช.58))

ตัวอยาง
กรณีผูขอมายื่นคําขอ กรณีผูขอมีหนังสือมาแจง

มีสวนไดเสียโดยตรง ไมมีสวนไดเสียโดยตรง
“ขอใหพนักงานเจาหนาที่แจงใหคูกรณีที่ขอจด
ทะเบียนทราบวาอสังหาริมริมทรัพยที่ขอจดทะเบียน
EX EX มีการฟองรองกันอยูในศาลแลว”
- มีสัญญาจะซื้อจะขาย - เปนหนี้สินธรรมดา
- มีสิทธิรับมรดกที่ดิน (เจาหนี้ธรรมดา)
- ถูกปลอมหนังสือมอบอํานาจ การดําเนินการขอพนักงานเจาหนาที่

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


111

พิจารณาควบคูก ับประเด็น เปนคําสั่ง ปฏิเสธไมรับคําขอไว แจงผูสงหนังสือ


การที่จะฟองศาลดวย ทางปกครอง ดําเนินการ (ทางหนังสือ)

การสอบสวน การ 1. พนักงานเจาหนาที่ไมอาจปฏิบัติได


พิจารณาและสัง่
อายัด
2. แนะนําใหไปใชสิทธิทางศาลเพื่อขอให
(ขอ 13)
ศาลสั่งอายึดหรืออายัด (ชั่วคราวกอนมี
คําพิพากษา) ตาม ป.วิ แพง ตอไป

พนักงานเจาหนาที่
ดําเนินการ การแจงหนังสือใหผูสงหนังสือระงับการจดทะเบียน/
หรือขอใหแจงผูขอจดทะเบียนทราบ (ขอ 11)

เปนหนังสือ วิธีสง ระยะเวลาสง

พรอมสงหนังสือทีผ่ ูนั้น ทางไปรษณีย ภายในวันนั้นหรือ


แจงมาคืนไปดวย ตอบรับ วันรุงขึ้นเปนอยางชา

การสอบสวน การพิจารณาอายัด การสั่งเกี่ยวกับอายัด

สอบสวนจากเอกสาร - ตองใชดุลยพินจิ ดวยความ


กรณีพิจารณาเห็น กรณีพิจารณาเห็น
หลักฐานที่ผูขอนํามาแสดง รอบคอบ (ตามหลักเกณฑ
วามีเอกสาร วาไมสมควร
แตเพียงฝายเดียวเทานั้น ของ ม.83 ป.ที่ดิน)
หลักฐานอันควร เชื่อถือ (หรือไม
เชื่อถือและสมควร เขาหลักเกณพตาม
ไมตองเรียกเอกสารจาก พิจารณาจาก รับอายัดได ม.83)
เจาของที่ดิน 1. เอกสารหลักฐาน และ
2. ขออางที่ผูขออายัดกลาว
เจาพนักงานที่ดิน เจาพนักงานที่ดิน
สอบสวนจากเอกสาร อางในคําขออายัดเทานั้น
(เจาพนักงานที่ดิน (เจาพนักงานที่ดิน
หลักฐานที่ผูขอยื่นเทานั้นวา
จังหวัด/สาขา) จังหวัด/สาขา)
อยูในหลักเกณฑรับอายัดได - ไมตองเรียกเอกสาร
หรือไมเทานั้น หลักฐานเพิ่ม
- ไมตองฟงคําคัดคานของ สั่งรับอายัด สั่งไมรับอายัด
เอกสารหลักฐานประกอบ เจาของที่ดินที่จะถูกอายัด
คําขออายัด อายัดมีกําหนด 30 เปนคําสั่งทาง
กรณีผูขออายัดไมมี วัน นับแตวันที่สั่ง ปกครอง
- ตองนําตนฉบับพรอม เอกสารหลักฐานมาแสดง รับอายัด
สําเนาที่ผูขออายัดรับรอง ในขณะยื่นคําขออายัด
ความถูกตอง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


112

พนักงานเจาหนาที่ - ไมอยูในหลักเกณฑ
ระยะเวลา ของเจา
ตรวจสอบและรับรองวา ที่จะรับอายัด
พิจารณาสั่งอายัด พนักงานที่ดิน
ถูกตองตรงกับตนฉบับ

- หามรับฟงหรือนําพยาน กรณีสั่งได กรณีตอ งหารือหนวยงาน


เก็บเฉพาะสําเนาเขาเรื่อง
บุคคลมาใหสอบสวนเพื่อ ในระดับสูงขึ้น
ไวเปนหลักฐาน
ประกอบการขออายัด
ตองสั่งใหแลวเสร็จ
สอบสวนใหปรากฏถึงสิทธิที่จะ - ในวันที่ขออายัด ตองจัดทําเรื่องหารือให
การปฏิเสธคําขอเปน หรือ
ขออายัดตาม ม.83 ประกอบขอ 12 แลวเสร็จ
คําสั่งทางปกครอง - อยางชาในวันทํา - ในวันที่ขออายัด
การรุงขึ้น หรือ
สงคําขอใหผูมีอํานาจสั่ง
ผูขอสามารถยื่นคําขอ - อยางชาในวันทําการรุงขึ้น
เกี่ยวกับอายัด
อายัดใหม พรอมเอกสาร
หลักฐานที่ครบถวนได
เจาพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา/ หรือจะใชสิทธิอุทธรณก็ได องคประกอบของคําสั่งอายัด
สวนแยก/นายอําเภอ แลวแตกรณี (ขอ 14)

เจาพนักงานที่ดินมีคําสั่ง
คําสั่งกรมที่ดิน ที่ 955/2552 ลว. 22
พ.ค.2552 เรื่อง กําหนดหนาที่และ
ทุนทรัพยในการจดทะเบียนสิทธิ เปนคําสั่ง
รับอายัด ไมรับอายัด
และนิติกรรมของเจาพนักงานที่ดิน ทางปกครอง

การดําเนินการของ
1. ใหสั่งตามประเด็นแตละประเด็นใหมีความ
การดําเนินการของพนักงานเจาหนาที่ พนักงานเจาหนาที่
ชัดเจน
(ขอ 17) 2. มีเหตุผลและกฎหมายอางอิง (ขอ 16)
และ
3. ระบุวัน เดือน ป พรอมลงลายมือชื่อและ 1. บัญชีอายัด
1. บัญชีอายัด ใหบันทึกในชอง 6 (จัดการ
ตําแหนงของพนักงานเจาหนาที่ผูสงั่ อายัด (ที่ลงไววา “ระหวาง
เสร็จ) วา “รับอายัดถึงวันที่.......เดือน.........
ดําเนินการ” ตามขอ 7)
พ.ศ. ....” แลวลงลายมือชือ่ กํากับไวพรอม
การนับระยะเวลาอายัด
วัน เดือน ป
(ขอ 15)
- ขีดฆารายการอายัด
ในบัญชีอายัดชอง 5
2. ทําคําสั่งหามโอน (ท.ด.37) ปดปะไว นําบทบัญญัติ ม.64 พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการ
ออกดวยหมึกแดง
(1) ดานหนาหนังสือแสดงสิทธิใน ทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาใชบังคับ
ที่ดินฉบับสํานักงาน
หรือ ไมตองนับวันแรกแหงระยะเวลา (วันสัง่ - จดบันทึกขอความ
ในทะเบียนการครอบครองที่ดิน รับคําขอ) มารวมคํานวณเขาดวย “ไมรับอายัด” ในชอง 6
สําหรับที่ดินแปลงที่ถูกอายัด - แลวลงลายมือชื่อ
และ ระยะเวลารับอายัดกําหนด 30 วัน นับแต กํากับไวพรอมลง วัน
(2) สารบบที่ดินแปลงที่ถกู อายัด วันที่สั่งรับอายัด ไมตองนับวันที่สั่งรับอายัด เดือน ป
เปนวันที่ 1 แตใหนับวันรุงขึ้นเปนวันที่ 1

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


113

3. แจงคําสั่งรับอายัด 2. แจงคําสั่งไมรับอายัด
(ขอ 18) ใหผูขออายัดทราบ
(ขอ 18)
เปนหนังสือ (ลายลักษณอักษร)
เปนหนังสือ (เปนลายลักษณอกั ษร)

ผูขออายัด และ เจาของที่ดิน


การแจง

กรณีผูขออายัด/ กรณีผูขออายัด เจาของที่ดิน ผูขออายัด เจาของที่ดิน


เจาของที่ดินอยู ไมอยูในเวลาสั่ง
ในเวลาสั่งการ ไมตองแจง

แจงใหทราบ แจงเปนหนังสือ
กรณีผูขออายัดอยูใน กรณีผูขออายัดไมอยู
เปนลายลักษณ
เวลาสั่งไมรับอายัด ในเวลาสั่งไมรับอายัด
อักษรในวันนั้น

ใหผูขออายัด/ แจงดวยวา แจงใหทราบเปนลาย แจงเปนหนังสือ


เจาของที่ดิน 1. พนักงานเจาหนาที่สั่งรับ ลักษณอกั ษรในวันนั้น
หากอยูดวย อายัดเมื่อใด
สงทางไปรษณีย
ลงลายมือชื่อ และ ใหผูขออายัดลง
ตอบรับ
รับทราบ 2. อายัดมีกําหนด 30 วัน นับแต ลายมือชือ่ รับทราบ
วันที่สั่งรับอายัด
(อายัดถึงวันที่ เดือน ป ใด)
ไมตองเอา
สําเนาคําฟอง
ตามที่ขออายัด ระยะเวลาสงหนังสือแจงคําสั่ง
สงทางไปรษณียตอบรับ
มาแสดงเหมือน รับอายัด/ไมรับอายัด
กฎหมายเกาอีก

- ภายในวันที่มีคาํ สัง่
หรือ
- อยางชาภายในวันทําการรุง ขึ้น

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


114

คําสั่งอายัดตามกฎหมาย

กรณีคําสัง่ รับหรือไมรับอายัดของ - กรณีศาลสั่งยึดหรืออายัดที่ดิน หรือ


เจาพนักงานที่ดินตาม ม.83 ป.ที่ดิน - กรณีผูมอี ํานาจสั่งยึดหรืออายัดทรัพยสินตามกฎหมาย
เชน ป.รัษฎากร หรือ กม.เกี่ยวกับภาษีบํารุงทองที่ ฯลฯ
(ขอ 19)
เปนคําสั่งทางปกครอง

แจงการสั่งยึด/อายัดมา
รูปแบบคําสั่ง การแจงคําสั่ง

พนักงานที่ดิน
ถือปฏิบัตติ ามกฎหมายวาดวยวิธี
ปฏิบัติราชการทางปกครอง ลงบัญชีอายัด ปดปะคําสั่งหามโอน
และ

EX
ตามขอ 3 ตามขอ 17(2)
- แจงสิทธิอุทธรณพรอมระยะเวลาอุทธรณ
พรอมสถานที่ยื่นอุทธรณตอผูใดดวย ฯลฯ

ลงชื่อสวนราชการ เลขที่ วัน


เดือนปของหนังสือที่แจงมา

หมวด 4
การตรวจอายัด

กรณีตอ งตรวจอายัด

กรณีมีการขอจดทะเบียน กรณีออกหนังสือแสดง กรณีที่ดินแปลงที่มกี าร กรณีมีการเปลี่ยนแปลงชือ่


สิทธิและนิติกรรม สิทธิในที่ดินหรือจด อายัดมีการแบงแยก เจาของที่ดินหรือเลขที่
(ขอ 20) ทะเบียนฯ ในใบไตสวน หนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
เมื่อแบงแยกและออก
(1) ตองตรวจสอบการ กอนดําเนินการ หนังสือแสดงสิทธิใน ใหแกไขเปลี่ยนแปลงตาม
อายัดจากบัญชีอายัดทั้ง 2 - ใหสอบถามไปยังพนักงาน ที่ดินแปลงแยกใหมแลว ชื่อเจาของที่ดินและ
บัญชีกอนทุกราย เจาหนาที่ ณ อําเภอทองที่กอน หมายเลขหนังสือแสดง
สิทธิที่เปลี่ยนไปทั้ง 2 บัญชี
สอบถามวา - นําแปลงแยกใหม
(2) หามจดทะเบียนหาก
- มีการอายัดหรือไม (1) ลงบัญชีอายัด
ที่ดินนั้นมีการอายัดอยู
ตามขอ 3 และ
หากมีอายัดอยู ใหนําขอมูลอายัดมา (2) ปดปะคําสัง่ หาม
ขอยกเวน (1) ลงบัญชีอายัดตามขอ 3 และ โอนตามขอ 17(2)
(2) ปดปะคําสั่งหามโอนตามขอ 17(2)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


115

1. ศาลสัง่ หรือ บัญชีอายัดตัวอักษร บัญชีอายัดตัวเลข


2. จดฯ แลวไมเสียหายแกผูขออายัด

EX - ขีดฆา เปลี่ยนแปลงของเดิมให
- ไถถอนจํานอง เปนปจจุบันใหม
- จดผูจัดการมรดก
- โอนสิทธิการรับจํานอง
(1) ในบัญชีอายัดเรียง (2) ในบัญชีอายัดเรียง
ฯลฯ
ตามตัวอักษร ตามหมายเลข

กรณีบันทึกขอมูลอายัดไวใน
ระบบคอมพิวเตอรตามหมวด 6 ก. การเปลี่ยนแปลงชื่อเจาของที่ดิน ให ก. การเปลี่ยนแปลงชื่อเจาของที่ดิน ให
(ขอ 35) ขีดฆารายการเดิมแลวยกรายการอายัดไป ขี ด ฆ า ชื่ อ เดิ ม แล ว เ ขี ย นชื่ อ ใหม ที่
ลงตามอักษรชื่อที่เปลี่ยนแปลงนั้น และ เปลี่ ย นแปลงแทน และบั น ทึ ก การ
บั น ทึ ก การเปลี่ ย นแปลงชื่ อ ในช อ ง 7 เปลี่ยนแปลงชื่อในชอง ๗ (หมายเหตุ)
ตองตรวจสอบการอายัดในระบบ
(หมายเหตุ) ของบัญชีอายัดทั้งชื่อเดิม ของบัญชีอายัด
คอมพิวเตอรควบคูก ับบัญชี
และชื่อใหมโยงถึงกันไว ข. การเปลี่ ย นแปลงหมายเลขของ
อายัด (สมุด) ดวย
ข. การเปลี่ยนแปลงหมายเลขของหนังสือ หนั ง สื อ แสดงสิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น ให ขี ด ฆ า
แสดงสิทธิในที่ดิน ใหขีดฆาหมายเลขเดิม รายการเดิมแลวยกรายการอายัดไปลง
แล ว เขี ย นหมายเลขใหม ที่ เ ปลี่ ย นแปลง ตามหมายเลขที่เปลี่ยนแปลงนั้น และ
แทน และบั น ทึ ก การเปลี่ ย นแปลง บั น ทึ ก การเปลี่ ย นแปลงหมายเลขใน
หมายเลขในชอง 7 (หมายเหตุ) ของ ชอง ๗ (หมายเหตุ) ของบัญชีอ ายั ด
บัญชีอายัด ทั้งหมายเลขเดิมและหมายเลขใหมโยง
ถึงกันไว

หมวด 5
การยกเลิกและสิ้นสุดการอายัด

กรณีมีการคัดคานคําสั่งอายัดวา กรณีอายัดสิ้นสุดตาม ป.ที่ดิน กรณีหนวยงานของรัฐสั่งอายัดหรือ


ไมชอบดวยกฎหมาย (ขอ 25) ยึดตามกฎหมายอืน่ เกินกวา 10 ป
(ขอ 24) (ขอ 27)
อายัดสิ้นสุดเมื่อ
ผูมีสิทธิคัดคาน 1. พนกําหนด 30 วันนับแต ศาลสั่งยึด/ ผูมีอํานาจตาม
วันสั่งรับอายัด อายัดที่ดิน กฎหมายอื่นสั่งยึด/
ตองเปนผูมีสวนไดเสียใน 2. พนักงานเจาหนาที่สั่ง อายัดทรัพยสินไว
ที่ดินที่ถูกอายัด ยกเลิกอายัดกรณีสงั่ รับอายัด
ไวไมชอบดวยกฎหมาย เปนเวลานานเกิน 10 ป
EX 3. ผูขออายัดขอถอนการ
- เจาของที่ดิน อายัดนั้น ใหพนักงานเจาหนาที่

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


116

ประเด็นที่จะคัดคาน เมื่ออายัดสิ้นสุดลง มีหนังสือถามไปยังศาล


- อายัดไมชอบดวยกฎหมาย (ขอ 26) หรือผูมีอํานาจนั้น

EX
หามมิใหรับอายัดของผู วาการอายัดดังกลาว
- ผูขออายัดไมใชผูมสี วนไดเสียใน
ที่ดินที่อายัดโดยตรง ขออายัดคนเดียวกันใน สิ้นสุดแลวหรือไม
- เจาหนาที่พจิ ารณาอายัดขัดตอ กรณีเดียวกันนั้นซ้าํ อีก
หลักเกณฑของกฎหมายโดยรับฟง
พยานบุคคล กรณีไดรับแจงกลับ กรณีไดรับแจงกลับ
แตถาเปนคนเดิมแตเปนกรณีใหม
หรือ วาสิ้นสุดแลว วายังไมสิ้นสุด
พนักงานเจาหนาที่ เปนคนอายัดคนใหมแตเปน
กรณีเดิม จําหนายบัญชี คงบัญชีอายัดตอไป
สอบสวนพยานหลักฐานเทาที่จาํ เปน อายัดทั้ง 2 บัญชี จนกวาจะสิ้นสุด
ไมถือเปนการอายัดซ้ํา
ชั้นนั้น ฟงพยานบุคคลได ไมจําเปน
ตองฟงแตพยานเอกสารอยางเดียว
การดําเนินการกรณีอายัดสิ้นสุด
หากเปนที่เชื่อวาไดรับอายัด (ขอ 28)
ไวโดยไมชอบดวยกฎหมาย

กรณีที่การอายัดสิ้นสุดตามขอ 25 กรณีศาลหรือผูมีอํานาจตาม
เจาพนักงานที่ดินสัง่ ยกเลิกการอายัด
กฎหมายอื่นแจงอายัดไวตามขอ 19

แจงใหผูขออายัดทราบดวย
- มีหนังสือแจงยกเลิกยึด/อายัด
หรือ
เปนคําสั่งทางปกครอง - ครบกําหนดยึด/อายัดที่กําหนด
ระยะเวลาไว
การทําคําสั่งและแจงคําสั่ง

ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยวิธี พนักงานเจาหนาทีด่ ําเนินการ


ปฏิบัติราชการทางปกครอง

1. บันทึกกรณีอายัดสิ้นสุดไว 2. ขีดฆารายการในบัญชี 3. บันทึกการอายัดสิ้นสุด 4. ปลดคําสัง่ หามโอน


ในคําขออายัด อายัดดวยหมึกสีแดง ไวในชอง 6 (จัดการเสร็จ) (ท.ด.37) ที่ปดปะไว
ออก

ลงลายมือชื่อกํากับไว พรอมดวย (1) ที่ปดปะไวหนาหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน


วัน เดือน ป ฉบับสํานักงานหรือในทะเบียนการครอบครองที่
ปดไว
(2) สารบบที่ดินแปลงที่ถกู อายัด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


117

หมวด 6
การบันทึกการอายัดสําหรับสํานักงานที่ดินที่ใชระบบ
คอมพิวเตอรเพือ่ การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม

เฉพาะสํานักงานทีด่ ินที่ใชระบบคอมพิวเตอร
เพื่อการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
(ขอ 29)

ใหบันทึกขอมูลการอายัดลงในระบบคอมพิวเตอร การจัดทําบัญชีอายัด (บ.ท.ด.27)

ตองพิมพรายการอายัด
บัญชีอายัดตัวอักษร บัญชีอายัดตัวเลข
- มีรายละเอียดตามบัญชีอายัด
ทั้ง 2 บัญชี (ตามขอ 2)
จัดทําเพียงบัญชีเดียว ไมตองจัดทํา

อยางนอยเดือนละครั้งเพื่อจัดเก็บไวเปนขอมูล
ดําเนินการเหมือนกรณีปกติทั่วไป

การบันทึกขอมูลอายัด กรณีอายัดตาม ม.83 ป.ที่ดิน

ตอนรับคําขออายัดไว ตอนมีคําสั่งรับหรือไมรับอายัด ตอนอายัดสิ้นสุดลงทุกกรณี


พิจารณาตามขอ 5
(ขอ 30) 1. ดําเนินการตามขอ 28
กรณีมีคําสัง่ ไมรับ กรณีมีคําสัง่ รับ
- บันทึกอายัดสิน้ สุดในคําขอ
บันทึกขอมูลการขอ อายัด (ขอ 31) อายัด (ขอ 31)
- ขีดฆารายการอายัดในบัญชี
อายัดลงในระบบ อายัดดวยหมึกสีแดง
คอมพิวเตอรทันที 1. ดําเนินการตามขอ 16 1. ดําเนินการตามขอ 17
- บันทึกอายัดสิน้ สุดในชอง 6
โดยขีดฆารายการอายัด โดยลงบัญชีอายัดตัวอักษร
ของบัญชีอายัด
ในบัญชีอายัดพรอม และปดปะคําสัง่ หามโอน
- ปลดคําสั่งหามโอน (ท.ด.37) ออก
บันทึกการไมรับอายัด
2. บันทึกขอมูลสั่งรับอายัด
2. ยกเลิกขอมูลที่บันทึกการ
2. ยกเลิกขอมูลที่บันทึก ในระบบคอมพิวเตอร
อายัดไวในระบบคอมฯ
อายัดไวในขอ 30
3. พิมพรายงานเสนอ
3. พิมพรายงานเสนอ หน.ฝาย
ดําเนินการแจงผูขอ หน.ฝายทะเบียน
ทะเบียน
ตามวิธีการขางตน - ตรวจสอบ และ
- ตรวจสอบ และ
- ลงนามกํากับไวพรอม
- ลงนามกํากับไวพรอมวันเดือนป
วันเดือนป

ดําเนินการแจงผูขอ นําไปรวมเก็บไวกับขอมูล นําไปรวมเก็บไวกับขอมูล


และเจาของที่ดิน ตามขอ 29 ตามขอ 29

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


118

การบันทึกขอมูลอายัดกรณีอายัดตามกฎหมายอื่นหรืออื่น ๆ

กรณีศาลหรือผูมีอํานาจตาม กรณีมีการเปลี่ยนชือ่ เจาของที่ดินหรือ


กฎหมายสั่งยึด หรืออายัดมา หมายเลขของหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
(ขอ 32) (ขอ 34)

พนักงานเจาหนาทีด่ ําเนินการ พนักงานเจาหนาทีด่ ําเนินการ

1. ดําเนินการตามขอ 19 1. ดําเนินการตามขอ 23(1)


- ลงบัญชีอายัดตัวอักษร - แกไขบัญชีอายัดตัวอักษร
- ปดปะคําสั่งหามโอน (ท.ด.37)
2. บันทึกขอมูลเปลีย่ นแปลงลงระบบคอมฯ
2. บันทึกขอมูลยึด/อายัดที่แจงมาลงในระบบคอมฯ

3. พิมพรายงานเสนอ หน.ฝายทะเบียน
3. พิมพรายงานเสนอ หน.ฝายทะเบียน ตรวจสอบและลงนามกํากับไวพรอมวันเดือนป
ตรวจสอบและลงนามกํากับไวพรอมวันเดือนป และนําไปรวมไวกบั ขอมูลตามขอ 29
และนําไปรวมไวกบั ขอมูลตามขอ 29

หมวด 7
การเรียกเก็บคาธรรมเนียม

การเรียกเก็บคาธรรมเนียม

การเรียกเก็บคาธรรมเนียม กรณีไมตอ งเรียกเก็บคาธรรมเนียม


(ขอ 36) (ขอ 37)

กรณีผูขอทั่วไปขออายัดตามมาตรา 83 ป.ที่ดิน - กรณีศาลมีคาํ สั่งยึดหรืออายัด


- กรณีผูมอี ํานาจตามกฎหมายอื่น
สั่งยึดหรืออายัดตามกฎหมาย
คาคําขอ คารับอายัดที่ดิน

ไมตองเรียกเก็บเพราะเปนการ
แปลงละ 5 บาท แปลงละ 10 บาท ดําเนินการตามกฎหมายที่มีอํานาจสั่ง

เก็บตามกฎกระทรวง ซึ่งออกตามความใน พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2541) ซึ่งแกไขเพิ่มเติม


โดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 53 (พ.ศ. 2549)ฯลฯ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


119
บทเฉพาะกาล

กรณีทองที่ที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยยัง
ไมไดยกเลิกอํานาจหนาที่ของนายอําเภอหรือ
ปลัดอําเภอผูเปนหัวหนาประจํากิ่งอําเภอตาม ป.ที่ดิน

อํานาจหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ตามคําสั่งนี้
(ขอ 38)
เฉพาะอายัดหนังสือ
รับรองการทําประโยชนที่
หมายถึง นายอําเภอ หรือปลัดอําเภอ ตั้งอยูในทองที่อําเภอที่ยัง
ผูเปนหัวหนาประจํากิ่งอําเภอดวย ไมยกเลิกอํานาจ
นายอําเภอฯ ตาม ป.ที่ดิน
จนกวารัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยจะยกเลิก
อํานาจหนาที่ตาม ป.ที่ดิน ของนายอําเภอหรือ
ปลัดอําเภอหัวหนากิ่งอําเภอตามมาตรา 19 แหง
พ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติม ป.ที่ดิน ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2528

อายัดทีอ่ ายัดไวกอ น
กรณีคําขออายัดตามกฎหมายอายัด (ม. 83 เดิม) พ.ร.บ.แกไข (ฉบับที่ 9)
พ.ศ. 2543 จะใชบังคับ

หากคําสั่งอายัดที่สงั่ ไวตามกฎหมายเดิมยัง
อยูโดยผูขอไดปฏิบัติตามกฎหมายเดิม
ครบถวนกอนที่กฎหมายใหมจะใชบังคับ

อายัดนัน้ ยังมีผลตามกฎหมายเกาทุกประการ

อายัดอยูจนกวาศาลจะมีคํา
พิพากษาหรือคําสั่งถึงที่สุด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


120 (ช.60)
หมวด 7
การกําหนดสิทธิในที่ดินเพือ่ การศาสนา
มาตรา 84 , มาตรา 85 การไดมาซึ่งที่ดินเพือ่ การศาสนา
ม.84 ไมกระทบกระเทือน
ทางปฏิบัติกรณีวัด ดําเนินการตาม การไดมาซึ่งที่ดิน
- การไดมาซึ่งที่ดินที่มีอยูแลวกอน ป.ที่ดินใชบงคับ
ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการไดมา ของ
- การไดมาซึ่งที่ดินของมัสยิดอิสลามโดยทางบัญญัติ
ซึ่งที่ดินของวัดวาอารามตามมาตรา (ม.84)
แหงศาสนาอิสลามในจังหวัดที่มีตําแหนงดะโตะยุติธรรม
84 แหง .ที่ดิน พ.ศ. 2552
(จังหวัดปตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล)

1. วัดวาอาราม 2. วัดบาดหลวงโรมันคาธอลิค 3. มูลนิธิเกี่ยวกับคริสตจักร 4. มัสยิดอิสลาม

เฉพาะศาสนาคริสตนิกาย มูลนิธิที่ดําเนินการหรือมี สถานที่ซึ่งอิสลามิกชนใชประกอบ


คือวัดในศาสนาพุทธ โรมันคาธอลิค วัตถุประสงคเกี่ยวกับศาสนา พิธีกรรมตามศาสนาอิสลาม
คริสตโดยเฉพาะ

ตองเปนนิติบุคคลดวย ไมเปนนิติบุคคล ถือ


ครอบคลุม มูลนิธิเกี่ยวกับ
ที่ดินในนาม “มิซซัง” มีสภาพเปนนิติบุคคล
ศาสนาคริสตทุกนิกาย
ปจจุบันถือครอง
ที่ดินเพิ่มไมได มีสภาพเปนนิติบุคคล

พนักงานเจาหนาที่รบั คํา เปนการไดมาซึ่งทีด่ ินหลัง


กอนไดมาซึ่งที่ดิน
ขอสอบสวนดําเนินการ ป.ที่ดิน ใชบังคับแลว
ตามขั้นตอนตางๆ แลว รัฐมนตรีมอบอํานาจใหอธิบดีกรมที่ดิน
ตองไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรี
และผูวาราชการจังหวัดปฏิบัติราชการ
กอนจดทะเบียนฯ หรือ แทนในการอนุญาตตาม ม. 84 ป.ที่ดิน
ก อนแจกหนั งสื อแสดง และใหไดมาซึ่งที่ดินไมเกิน 50 ไร
สิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น (กรณี นํ า
คําสั่งกระทรวงมหาดไทย
รังวัดออกเอกสารสิทธิใน
กรณีไมเกิน 50 ไร กรณีเกิน 50 ไร ที่ 95/2546 ลว. 20 มี.ค.2546
ที่ดินใหม) แลวแตกรณี

รัฐมนตรีอนุญาตแลว
1. กรณีเขต กทม. กรณีขอไดมาเกิน 50 ไร กรณีไดมาเกิน 50 ไร
โดยอธิบดีกรมที่ดินหรือ
ใหสงเรื่องพรอม ผูวาราชการจังหวัด โดยไมขออนุญาตกอน
ความเห็นไปกรมที่ดิน ปฏิบัติราชการแทน) ตองเปนกรณีที่เปนการสมควร (ม.85)

เพื่อขออนุญาต
กรณีออกเอกสารสิทธิในที่ดิน รัฐมนตรีมีอํานาจอนุญาต เปนกรณีไดมาหลังจาก
รัฐมนตรีกอน (โดย ลงนามแจกโฉนด ฯลฯ ได
อธิบดีกรมที่ดิน ใหไดมาเกิน 50 ไร ได ป.ที่ดินใชบังคับแลว
ปฏิบัติราชการแทน) จดทะเบียนไดมาตาม
อนุญาตแลว จดทะเบียนหรือ
ประเภทการไดมา
ออกเอกสารสิทธิในที่ดินได
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
121

2. กรณีจังหวัดอื่น ผูวา กรณียกที่ดินให นิติบุคคล (เกี่ยวกับศาสนา


ราชการจังหวัดปฏิบัติ วัดวาอารามวัด ทั้ง 4 ประเภท) ที่ไดมา
ราชการแทน รัฐมนตรี บาดหลวงโรมัน ไมรวมถึงกรณีใหมูลนิธิ ที่ดินเกิน 50 ไร
คาธอลิค หรือมัสยิด เกี่ยวกับคริสตจกั ร
อิสลาม (โดยไมมี ตองจัดการจําหนาย
ขออนุมัติเสนอแคจงั หวัด
คาตอบแทน) (สวนที่เกินภายใน 5 ป)
แลวจึงรายงานมากรมที่ดิน
คาธรรมเนียม ไมจําหนายภายใน 5 ป

ใหเพื่อใชเปนที่ตั้งศาสนสถานและเปนสวน ไมใชเปนที่ตั้งศาสนสถาน อธิบดีกรมที่ดิน


ที่รวมกับที่ดินที่มีอยูแลว ไมเกิน 50 ไร หรือรวมแลวเกิน 50 ไร
มีอํานาจจําหนายทีด่ ินนั้น
รอยละ 0.01 จากราคาประเมินฯ
(กฏฉบับ 47 ขอ 2(7)(จ) รอยละ 2 (ปกติ)
(กฏฉบับ 47 ขอ 2(7)(ก) นําบทบัญญัติเรื่องการบังคับ
และไดรับการยกเวนภาษีเงินไดและภาษีธุรกิจ จําหนายที่ดินในหมวด 3
เฉพาะ (เฉพาะที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งศาสนสถาน มาใชบังคับโดยอนุโลม
รวมกับที่ดินที่มีอยูกอนแลวไมเกิน 50 ไร) เสียภาษีปกติ
ดู ช. 33
1. พระราชกฤษฎีกา ออกตามความใน
ประมวลรัษฏากร วาดวยการยกเวน
รัษฏากร (ฉบับที่ 326) พ.ศ. 2541
2. กฎกระทรวง ฉบับที่ 214 (พ.ศ.2541) ซึ่งสามารถถือสิทธิในที่ดินได
ออกตามประมวลรัษฎากร วาดวยการ การพิจารณา วัดใดเปนนิติบุคคล
ยกเวนรัษฎากร ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการไดมาซึ่ง
3. สวนที่ไมเขาหลักเกณฑ หรือเกิน ที่ดินของวัดวาอารามตาม ม.84 แหง
พิจารณาจากหลักฐาน
จํานวน เสียปกติ ป.ที่ดิน พ.ศ. 2552 ขอ 8

วัดที่ตั้งขึ้นตาม พ.ร.บ. วัดที่ตั้งตาม พ.ร.บ. วัดที่ตั้งตาม พ.ร.บ. วัดที่ตั้งขึ้นกอน พ.ร.บ.


ลักษณะปกครองคณะสงฆ คณะสงฆ พ.ศ.2484 คณะสงฆ พ.ศ.2505 ลักษณะปกครองคณะสงฆ
ร.ศ. 121 ร.ศ. 121 ใชบังคับ

หลักฐานการไดรับ หลักฐานการประกาศ หลักฐานการประกาศ - หนังสือรับรองสภาพวัดของ


พระราชทานพระบรม ตั้งวัดของกระทรวง ตั้งวัดของกระทรวง กรมการศาสนา
ราชานุญาตใหสรางวัด ศึกษาธิการ ศึกษาธิการ ซึ่งประกาศ - หนังสือรับรองสภาพวัดของ
ในราชกิจจานุเบกษา ศึกษาธิการจังหวัด หรือ
ศึกษาธิการอําเภอ หรือ
กรณีไมมีหลักฐานดังกลาว - สําเนาทะเบียนวัด หรือ
- ประวัติวดั ที่รับรองโดยทาง
อนุโลมใหใช ราชการอยางหนึ่งอยางใด
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
122 (ช.61)

อํานาจการอนุญาตใหไดมาซึ่งที่ดินตามมาตรา 84 แหงประมวลกฎหมายที่ดิน

อํานาจการอนุญาตใหไดมาซึ่งที่ดิน
ตามมาตรา 84 แหงประมวลกฎหมาย

เปนอํานาจของ
- รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

มอบอํานาจสั่งอนุญาตใหไดมาซึ่ง
ที่ดินใหแกหัวหนาสวนราชการ

คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 95/2546 ลงวันที่ 20


มีนาคม 2546 เรื่อง การมอบอํานาจของรัฐมนตรี
วาการกระทรวงมหาดไทย ใหแกอธิบดีกรมที่ดิน
และผูวาราชการจังหวัดปฏิบัติราชการแทน

กรณีอนุญาตใหไดมาฯ กรณีไมอนุญาตใหไดมาฯ

กรณีที่ดินอยูในเขตกรุงเทพฯ กรณีที่ดินอยูในเขตจังหวัดอื่น ไมมอบอํานาจใหปฏิบัติราชการแทน

อธิบดีกรมที่ดิน ผูวาราชการจังหวัดนั้น รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย


พิจารณาสั่งการเอง

เปนผูปฏิบัติราชการแทน เปนผูปฏิบัติราชการแทน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


123
(ช.62)
หมวด 8
การกําหนดสิทธิในที่ดินของคนตางดาว
มาตรา 86 สิทธิการไดมาซึ่งที่ดินของคนตางดาว
กฎกระทรวง ฉบับที่ 8 การขออนุญาตไดมา

รวมทั้งนิติบุคคลตางดาวดวย คนตางดาว (ม.86) ผูซึ่งมิไดมีสัญชาติไทย

ปจจุบัน ม. 86 จะไดมาซึ่งที่ดิน ตองไดรับอนุญาต


ไมมีสภาพใชบังคับในทางปฏิบัติเพราะ โดย จากรัฐมนตรีกอน
ไทยไมมีสนธิสัญญาฯกับประเทศอื่น

อาศัยบทสนธิสัญญาซึ่งบัญญัติให อยูในบังคับบทบัญญัติแหง ฝาฝน ผิดตาม ม.111


มีกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพยได และ ประมวลกฎหมายที่ดิน
(รวมถึงสิทธิครอบครองดวย)
มีความผิดระวางโทษ
เชน เรื่องจํานวนเนือ้ ที่ การ ปรับไมเกิน 20,000
เดิม ปจจุบัน ใชประโยชนการปฏิบัติตาม บาท หรือจําคุกไมเกิน
เงื่อนไขตางๆ 2 ป หรือทั้งจําทั้งปรับ
ประเทศไทยไดทํา ตั้งแตวันที่ 27
สนธิสัญญาเกี่ยวกับ กุมภาพันธ 2514 ภายใตบังคับมาตรา 84 ถาเปนการไดซึ่งที่ดิน
การถือกรรมสิทธิ์ใน เพื่อการศาสนาตาม ม.84
ที่ดินกับบางประเทศ
ประเทศไทยไดบอกเลิก คนตางดาวจะไดมาซึ่งที่ดิน การถือที่ดินก็ตองเปนไป
จํานวน 16 ประเทศ
สนธิสัญญาเกี่ยวกับการ ตามนั้น (ตามหมวด 7)
1. อังกฤษ ถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินกับ
เพื่อใชเปนที่อยูอ าศัย
2. ฝรั่งเศส นานาประเทศหมดแลว
ประกอบกิจการ ในทาง จํานวนเนื้อที่ไดมา
3. สหรัฐอเมริกา
4. สวิตเซอรแลนด พาณิชกรรม อุตสาหกรรม ดู ช. 63
5. เยอรมันนี คนตางดาวจึงไมสามารถ เกษตรกรรม การสุสาน
6. เดนมารก ที่จะขอไดมาซึ่งที่ดินตาม การกุศล สาธารณะ หรือ
7. นอรเวย บทบัญญัติมาตรานี้อีก การศาสนา
8. เนเธอรแลนด ตอไป (เฉพาะมาตรา 86)
9. อินเดีย
10. เบลเยี่ยม
11. สวีเดน ตองไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีกอน
12. อิตาลี เวนแตเปนการขอไดมา ไดมาตามบทบัญญัติ
13. ญี่ปุน ซึ่งที่ดินตามกฎหมายอื่น มาตราอื่นตาม ป.ทีด่ ิน
14. พมา
และตองเปนไปตามเงื่อนไขและ
15. โปรตุเกส และ
16. ปากีสถาน วิธีการซึ่งกําหนดโดยกฎกระทรวง
เชน ตาม พ.ร.บ.สงเสริม
ม. 93 ฐานะทายาท
การลงทุน พ.ศ. 2520
โดยธรรม
(B.O.I.) พ.ร.บ. การ กฎกระทรวงฉบับที่ 8 ใชกับมาตรา
ตอมาไทยไดบอกเลิก ปโตรเลียม พ.ศ. 2514, 86 และ 89
สนธิสัญญาดังกลาว พ.ร.บ.การนิคม
ม. 96 ทวิ กรณี
ทั้งหมดสิ้นสุดตั้งแต อุตสาหกรรมแหง
นําเงินมาลงทุน
27 ก.พ.2514 ประเทศไทย
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
124
คาธรรมเนียม
- การขอใหไดมาซึ่งที่ดินของคนตางดาว
รายละ 500 บาท
คนตางดาวไดมาซึง่ - คาอนุญาต ไรละ 100 บาท
ที่ดินตาม ป.ที่ดิน เศษของไรใหคิดเปนหนึ่งไร

การปฏิบัติของคนตางดาว หลักเกณฑและวิธีการขออนุญาต ขออนุญาตรัฐมนตรี (มท)


เมื่อไดรับอนุญาตไดมา

ยื่นคําขออนุญาตให
การใช เวลาเริ่มใช จําหนายที่ดิน ไดมาซึ่งที่ดินตอ
(จายโอน)

เจาพนักงานที่ดิน ดู ช. 53
ตองใชที่ดิน ตองเริ่มใชเพื่อ ตองไดรับ ตาม ม.71
ดวยตนเอง กิจการที่ขอ อนุญาตจาก

แบบคําขอ รับคําขอ
ตามที่ไดรับ ภายใน 1 ป รัฐมนตรี (มท)
อนุญาต (กิจการ) นับแตวันที่ กอน เสนอรัฐมนตรี
ไดรับโอนสิทธิ สอบสวน
พิจารณา
ในที่ดินมา
คนตางดาว นิติบุคคล ตาม
(บุคคลธรรมดา) ม.97 (ตางดาว)

ขออนุญาตให ขออนุญาตใชท่ดี ิน การแจงไมใช ขออนุญาตใชที่ดิน ขออนุญาตให


ไดมาซึ่งที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ไดมาซึ่งที่ดิน

แบบ ต.1 แบบ ต.2 แบบ ต.3


ทายกฎกระทรวง แบบเดียวกับบุคคลธรรมดา (ตางดาว)
ทายกฎกระทรวง ทายกฎกระทรวง
ฉบับที่ 8 นี้ ฉบับที่ 8 นี้ ฉบับที่ 8 นี้
พรอมทั้งแสดงรายการ
หรือ แบบ 1 หรือ แบบ 2

1) ถาเปนบริษัทจํากัด หางหุนสวนจํากัด หรือหางหุนสวนสามัญที่จดทะเบียน


แลว ใหแสดงวามีทุนเทาใด แบงเปนกี่หุน มีผูถือหุนหรือผูเปนหุนสวนเปนคน
ออกตามความใน พ.ร.บ. สัญชาติใด เทาใด ถือหุนคนละเทาใด ผูจัดการหรือกรรมการเปนคนสัญชาติใด
ที่ดินในสวนที่เกี่ยวของ เฉพาะบริษัทจํากัดใหแสดงดวยวา ไดออกใบหุนชนิดออกใหแกผูถือบางหรือไม ถา
กับคนตางดาว พ.ศ. 2486 ออกไดออกไปเปนจํานวนเทาใด ถามีนิติบุคคล เปนผูถือหุนหรือเปนหุนสวน ใหแสดง
รายการอยางเดียวกับที่กลาวมาขางตนสําหรับนิติบุคคลนั้นดวย และใหแสดงใบสําคัญ
กรณีเปนหองชุด ตาม พ.ร.บ.อาคารชุด การจดทะเบียนกอตัง้ นิติบุคคลกับหนังสือบริคณหสนธิ และขอบังคับ (ถามี) ดวย
พ.ศ. 2522 2) ถาเปนสมาคมหรือสหกรณ ใหแสดงวามีสมาชิกเปนคนสัญชาติใด เทาใด
ระเบียบปฏิบัติ ดูระเบียบกรมที่ดิน มีวัตถุประสงคอยางไร มีผูจัดการหรือกรรมการเปนคนสัญชาติใด และใหแสดง
วาดวยการถือกรรมสิทธิ์ในหองชุดของ ใบสําคัญการจดทะเบียนหรือตราสารกอตั้งนิติบุคคลและขอบังคับดวย
คนตางดาวและนิตบิ ุคคลซึ่งกฎหมาย 3) ถาเปนมูลนิธิ ใหแสดงวามีวัตถุประสงคอยางไร มีผูจัดการหรือกรรมการเปนคน
ถือเปนคนตางดาว พ.ศ. 2547 สัญชาติใด และใหแสดงใบสําคัญการจดทะเบียนหรือตราสารกอตัง้ มูลนิธิและขอบังคับดวย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


125 (ช.63)
มาตรา 87, 88 จํานวนที่ดนิ ที่คนตางดาวมีสิทธิไดมาซึ่งที่ดิน
มาตรา 89 การใชที่ดิน
คนตางดาวจะไดมา ตาม ม. 86 กรณีมีสนธิสัญญา
ซึ่งที่ดิน (ม.87) กับประเทศอื่น
ใชบังคับเฉพาะกรณีการ
ไดมาซึ่งที่ดินหลังจาก ป.ที่ดิน รัฐมนตรีมีอํานาจอนุญาต
ในจํานวนที่ดินที่จะพึ่งอนุญาตใหได
ใชบังคับแลวเทานั้น ไดไมเกินจํานวน ม.87

(1) ที่อยูอาศัย (2) ที่ใชเพื่อ (3) ที่ใชเพื่อ (4) ที่ใชเพื่อ (5) ที่ใชเพื่อ (6) ที่ใชเพื่อ (7) ที่ใชเพื่อ
พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การศาสนา การกุศลสาธารณะ การสุสาน

ครอบครัวละ ครอบครัวละ ตระกูลละ

ไมเกิน 1 ไร ไมเกิน 1 ไร ไมเกิน 10 ไมเกิน 10 ไมเกิน 1 ไร ไมเกิน 5 ไร ไมเกินครึ่งไร
(ไมเกิน 2 งาน
หรือ 200 ตร.วา)
กรณีคนตางดาว
ตองการเกิน 10 ไร

ถาเห็นเปนการสมควร

คณะรัฐมนตรีจะ ถาไมปฏิบัติตามเงือ่ นไข ตองจําหนายที่ดิน


ดู ม. 92 (ช. 64)
อนุญาตเกิน 10 ไรก็ได ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ในสวนที่เกินกําหนด

นํา ม.48 มาใชบังคับ


โดยอนุโลม (ปจจุบัน
ม.48 ยกเลิกแลว)

กําหนดจํานวนที่ดินตาม การใชที่ดิน
ม.87 (ขางตน) (ม.88) (ม.89)

ผูที่มีที่ดินอยูแลวกอน ป.ที่ดินใชบังคับ คนตางดาวไดรับอนุญาต


(กอน 1 ธ.ค.2497) ใหไดมาซึ่งที่ดิน

มีอยูแลวเกินจํานวน มีอยูแลวนอย ผูที่จําหนาย


หรือ เพื่อกิจการใด
ตามที่ ม.87 กําหนด กวากําหนด ที่ดินเดิมไปแลว

ไมกระทบกระเทือน มี ป.ที่ดินใชบังคับแลว กรณีไมใชที่ดิน ตองใชเพือ่ หามใชเพื่อ


ตามที่ไดรับอนุญาต กิจการนั้น กิจการอื่น

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


126

มีอยูเกินกําหนด จะไดมาซึ่งที่ดินไดอีก ตองแจงใหทราบ เวนแตไดรับอนุญาต ตามจํานวนไมเกินที่ กม.


ก็ถือครองตอไป ใหใชเพื่อกิจการใหม กําหนดเพื่อกิจการใหมนั้น

เนื่องจาก ม.87 แตรวมแลวตองไม ตามแบบและวิธีการที่ การขออนุญาตใช ถามีท่ดี ินเหลือ (เกิน


ไมมีผลยอนหลัง เกินกําหนดตาม ม.87 กําหนดในกฎกระทรวง ที่ดินเพื่อกิจการอืน่ ใหม จากประเภทที่ขอใช)
ตองจําหนาย (ม.91)

ขอตอรัฐมนตรี
ทั้งกรณีเปนบุคคลตางดาวและ
กรณีนิติบุคคล ที่มีสิทธิไดมา
ซึ่งที่ดินเสมือนคนตางดาว ตามแบบและวิธีการที่
กําหนดในกฎกระทรวง ใช ทั้ ง กรณี บุ ค คลต า ง
ด า วและนิ ติ บุค คลที่ มี
สิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น เสมื อ น
กฎกระทรวงฉบับที่ 8 กฎกระทรวงฉบับที่ 8 คนตางดาว

ยื่นตอพนักงานเจาหนาที่ ยื่นตามแบบ ต.3 ยื่นตามแบบ ต.2


ตาม ม.71 หรือแบบ 2 หรือแบบ 2

ภายในกําหนด 30 วัน รัฐมนตรีวาการ


นับแตวันไมใชที่ดินนั้น กระทรวงมหาดไทย
เห็นสมควร

มีอํานาจอนุญาต
ใหใชที่ดินเพื่อ
กิจการใหมได

การฝาฝนหรือ ม.89 มีความผิด ระวางโทษปรับไมเกิน 3,000 บาท หรือ


ไมปฏิบัติตาม (การใชที่ดิน) ตาม ม. 110 จําคุกไมเกิน 6 เดือน หรือทั้งจําทั้งปรับ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


127 (ช.64)
มาตรา 90, 91, 92 การจําหนายที่ดินที่คนตางดาวไมมีสิทธิถือครอง (1)
(กรณีเลิกใช, ใชผดิ วัตถุประสงค, สวนเกินของกิจการใหม และไมปฏิบตั ิตามเงื่อนไข)

คนตางดาวที่ไดรับอนุญาต รับอนุญาตจาก
ใหไดมาซึ่งที่ดิน รัฐมนตรี (มท)

ตองใชเพือ่ กิจการนัน้ เทานั้น เมื่อใชที่ดินเพื่อกิจการใด เปลี่ยนแปลงตองขออนุญาต

กรณีเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนในที่ดิน กรณีไดมาตาม ม.87 ว.2 ไดมาเพื่อการอุตสาหกรรม


(ม.90) (ม.92) เกินกวา 10 ไร

เลิกใช ใชผิดวัตถุประสงคเดิม ใชที่ดินกิจการใหม ถาไมปฏิบัติตามเงือ่ นไข ไดรับอนุญาตจาก


(ม. 91) ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด คณะรัฐมนตรี
ไมใชที่ดินนั้น ไดใชที่ดินเพื่อกิจการอัน
ตอไป (เลิกใช) โดยไมไดรับอนุญาตใหม ไดมารับอนุญาตใหม ใหจําหนายที่ดินสวนที่ได
ใหใชเพื่อกิจการอืน่ รับอนุญาตใหไดมาเกินกวา
จํานวนที่กําหนดนั้น
ใหจําหนายที่ดินนั้น ซึ่งจํานวนที่ดินที่
ไดรับอนุญาตใหม
มีจํานวนลดลง

ใหจําหนายที่ดินสวนที่เกินนั้น (เกินจาก ม.87)

ภายในเวลาที่อธิบดีกรมที่ดินกําหนด
ใหเจาของจําหนายที่ดินเอง

(ตองกําหนด) ไมนอยกวา 180 วัน


แตไมเกิน 1 ป

ถาเจาของไมจําหนายภายในกําหนด

ใหอธิบดีกรมที่ดินมีอํานาจ เปนกรณีท่ี ป.ที่ดิน บัญญัติใหอธิบดี


จําหนายที่ดินนั้น กรมที่ดินมีอํานาจจําหนายที่ดินตาม
ป.ที่ดิน (ทุกกรณี) ไวในหมวด 3 ป.ที่ดิน
การจําหนายและวิธกี ารจําหนาย
เปนไปตาม หมวด 3 ป.ที่ดิน

ดู ช. 33 มาตรา 50 - 55

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


128 (ช.65)
ม.93 การไดมาซึ่งที่ดินของคนตางดาวในฐานะทายาท
ม.96 ทวิ มาตรา 96 ตรี การไดมาซึ่งทีด่ ินโดยการนําเงินมาลงทุน
คนตางดาวจะไดมาซึ่งที่ดิน
ตาม ป.ที่ดิน
บัญญัติเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.แกไข
เพิ่มเติม ป.ที่ดิน (ฉบับที่ 8)
3 กรณี พ.ศ. 2542

กรณี มาตรา 86 กรณี มาตรา 93 กรณี มาตรา 96 ทวิ


เฉพาะบุคคลธรรมดาเทานั้น
โดยอาศัยบทสนธิสัญญา โดยรับมรดกใน โดยนําเงินมาลงทุน
ซึ่งบัญญัติใหมีกรรมสิทธิ์ ฐานะที่เปนทายาท ไมใหนํา ม.86 ว.1 การ
ไดมาโดยอาศัยบท
ในอสังหาริมทรัพยได คนตางดาว ซึ่งไดนาํ เงิน
ตองขออนุญาตรัฐมนตรี สนธิสัญญา มาใชบังคับ
มาลงทุน (ในประเทศไทย) กรณีนี้
ปจจุบัน ไทยยกเลิก (มท) กอน
สนธิสัญญาฯ หมดแลว กฎกระทรวงกําหนด
จึงจะจดทะเบียนรับ ตามจํานวนที่กําหนด
หลักเกณฑ วิธีการและ
มรดกที่ดินได ในกฎกระทรวง ซึ่งตอง
คนตางดาวไมอาจไดมาซึ่ง เงื่อนไขการไดมาซึง่ ที่ดิน
ไมต่ํากวา 40 ลานบาท
ที่ดินตาม ม.86 อีกตอไป เพื่อเปนที่อยูอ าศัยของ
แตจํานวนที่ดินเมื่อ
(จนกวาจะมีสนธิสญ ั ญาฯ) คนตางดาว พ.ศ. 2545
รวมกับที่มีอยูแลว
หลักเกณฑการไดมา ดู ช. 66
ดู ช. 62 ตองไมเกินจํานวน
ที่พึงมีไดตาม ม.87
1. ใหไดมาซึ่งที่ดิน 2. ไดรับอนุญาต
กรณีเจามรดกตาย รัฐมนตรีจะอนุญาตหรือไม ก็ได เพื่อใชเปนที่อยูอ าศัย และ จากรัฐมนตรี
กอน ป.ที่ดินใชบังคับ
รัฐมนตรีฯ มอบอํานาจใหอธิบดี
และผูวาราชการจังหวัดปฏิบัติ จํานวนไมเกิน 1 ไร
ถือวาทายาทมีสิทธิ ราชการแทน
ในมรดกกอน ป.ทีด่ ิน
ใชบังคับ
ตามคําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่
การไดมากรณีนี้ ใหเปนไปตาม
152/2546 ลว. 21 เมษายน 2546
หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไข
ไมตองขออนุญาต
ตาม ม.93 เมื่อไดรับอนุญาตใหไดมา
ซึ่งที่ดินแลว (ตาม ม.96 ทวิ)
กําหนดไวในกฎกระทรวง
(ม. 96 ตรี)
เพราะยกเวน
ตาม ม.98
อยางนอยตองเมีสาระสําคัญ
ถาไมไดใชที่ดินนั้น ถากระทําผิดหลักเกณฑ ดังตอไปนี้
เพื่อเปนที่อยูอ าศัย หรือเงื่อนไขที่กําหนดใน
กฎกระทรวง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


129

ภายใน 2 ป นับแตวันจด ให (คนตางดาว) จําหนาย (1) ประเภทของธุรกิจที่คนตางดาวลงทุน


ทะเบียนไดมา ที่ดินในสวนที่ตนมีสิทธิ - ตองเปนประโยชนตอเศรษฐกิจและสังคมของประเทศหรือ
- เปนกิจการที่คณะกรรมการสงเสริมการลงทุนไดประกาศ
ใหเปนกิจการที่สามารถขอรับการสงเสริมการลงทุนตาม
ใหอธิบดีกรมที่ดินมี ภายในเวลาที่อธิบดีกรมที่ดิน กฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุนได (BOI)
อํานาจจําหนายที่ดินนั้น กําหนด

(2) ระยะเวลาการลงทุน
(ตองกําหนด) ไมนอยกวา
- ตองไมนอยกวา 3 ป
180 วัน แตไมเกิน 1 ป

ถาไมจําหนายภายในกําหนด
(3) บริเวณที่ดินที่อนุญาตใหคนตางดาวไดมา
- ตองอยูภ ายในเขตกรุงเทพมหานคร
ใหอธิบดีกรมที่ดินมีอํานาจ เขตเมืองพัทยา เขตเทศบาล หรือ
จําหนายที่ดินนั้น - อยูภายในบริเวณที่กําหนดเปนเขตที่อยู
อาศัยตามกฎหมายวาดวยการผังเมือง

การจําหนายและวิธกี ารจําหนาย
ทางปฏิบัติ ดู
เปนไปตามหมวด 3 ป. ที่ดิน
1. กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธกี าร และ
เงื่อนไขการไดมาซึง่ ที่ดินเพื่อใชเปนที่อยูอาศัย
มาตรา 50-55 ของคนตางดาว พ.ศ. 2545
2. ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการไดมาซึ่งที่ดิน
ดู ช. 33 เพื่อใชเปนที่อยูอ าศัยของคนตางดาว พ.ศ.
2545
3. คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 153/2546 ลว.
21 เมษายน 2546 เรื่อง การมอบอํานาจของ
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยใหอธิบดี
กรมที่ดินและผูวาราชการจังหวัดปฏิบัติ
ราชการแทน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


130 (ช. 66)
กฎกระทรวง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข
การไดมาซึ่งทีด่ ินเพื่อใชเปนที่อยูอาศัยของคนตางดาว พ.ศ. 2545

มาตรา 96 ทวิ ทางปฏิบัติ ดู


ประมวลกฎหมายที่ดิน ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการไดมาซึ่งที่ดิน
เพื่อใชเปนที่อยูอ าศัยของคนตางดาว พ.ศ. 2545

การไดมาซึ่งที่ดินของ กรณีนี้ขอไดมาเฉพาะ
คนตางดาว บุคคลธรรมดาเทานั้น

โดยอาศัยอํานาจตาม ม. 15 แหง กรณีคนตางดาวนําเงิน 1. เพื่อเปนที่อยูอ าศัยไมเกิน 1 ไร และ


พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน พ.ศ. 2497 มาลงทุนไมต่ํากวา 40 2. ตองไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการ
และ ม. 96 ทวิ แหง ป.ที่ดิน ลานบาท กระทรวงมหาดไทย

ออกโดยรัฐมนตรีวา การ หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข


กระทรวงมหาดไทย การไดมาซึ่งที่ดินกรณีนี้

กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธกี าร และเงื่อนไขการไดมา


ซึ่งที่ดินเพื่อใชเปนที่อยูอาศัยของคนตางดาว พ.ศ. 2545

การไดมาซึ่งที่ดินของคนตางดาว กรณี
หลักเกณฑการลงทุน
นี้ไมจําเปนตองอาศัยบทสนธิสัญญา
เพื่อใหไดมาซึ่งที่ดิน
ตาม ม. 86 ป.ที่ดิน

ประเภทการลงทุน จํานวนเงินลงทุน ระยะเวลาดํารงทุน


(ประเภทใดประเภทหนึ่ง)
จํานวนไมต่ํากวา ไมนอยกวา 5 ป
40 ลานบาท

เงื่อนไขหลัก
ที่ตั้งที่ดินที่จะซื้อได 1. เปนที่อยูอาศัย
และ
2. เนื้อที่ไมเกิน 1 ไร
เทานั้น

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


131

1. การซื้อพันธบัตรรัฐบาลไทย พันธบัตรธนาคารแหง ตองอยูภ ายในพื้นที่ ดังนี้


ประเทศไทย พันธบัตรรัฐวิสาหกิจหรือพันธบัตรที่ - เขตกรุงเทพมหานคร
กระทรวงการคลังค้าํ ประกันตนเงินหรือดอกเบี้ย - เขตเมืองพัทยา หรือล
2. การลงทุนในกองทุนรวมอสังหาริมทรัพยกองทุนรวม - เขตเทศบาล หรือ
อสังหาริมทรัพยเพื่อแกไขปญหาในระบบสถาบันการเงิน - อยูภายในบริเวณที่กําหนดใหเปน
หรือกองทุนรวมเพือ่ แกไขปญหาในระบบสถาบันการเงินที่ เขตที่อยูอาศัยตามกฎหมายวาดวย
จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย การผังเมือง
3. การลงทุนในทุนเรือนหุนของนิติบุคคลที่ไดรับการสงเสริม
การลงทุนตามกฎหมายวาด วยการสงเสริมการลงทุน
และ
4. การลงทุนในกิจการที่คณะกรรมการสงเสริมการลงทุนได
- ตองอยูนอกเขตปลอดภัยในราชการ
ประกาศใหเปนกิจการที่สามารถขอรับการสงเสริมการลงทุน
ทหาร
ได ตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน

2. วิธีการขออนุญาตไดมาซึ่งที่ดิน
ของคนตางดาวกรณีนําเงินมาลงทุน

การยื่นคําขอ - การรับคําขอ และ การพิจารณามีคําสัง่ การแจงผลการพิจารณา


- การตรวจสอบ
คนตางดาวที่ขอ เปนอํานาจของรัฐมนตรี พนักงานเจาหนาที่
อนุญาตไดมาซึ่งทีด่ ิน พนักงานเจาหนาที่ วาการกระทรวงมหาดไทย ตาม ม. 71
ม.71 รับคําขอและ ในการอนุญาต
ตรวจสอบเอกสาร
ยื่นคําขอตามแบบ แจงผลเปนหนังสือให
ต. 4 ทายกฎกระทรวง มอบอํานาจใหอธิบดีกรม ผูขออนุญาตทราบ
กรณีอยูในหลักเกณฑ
ที่ดินและผูวาราชการ
ที่จะไดมาซึ่งที่ดิน
ตอ จังหวัดปฏิบัติราชการแทน สงไปยังที่อยูใน
พนักงานเจาหนาที่ ประเทศไทยที่ผูขอ
ตาม ม. 71 ป.ที่ดิน - มีความเห็นพรอม แจงไวในแบบ ต. 4
คําสั่งกระทรวงมหาดไทย
สงเรื่องใหกรมที่ดิน
ที่ 153/2546 ลว. 21 เมษายน
ณ สํานักงานที่ดิน 2546 เรื่อง การมอบอํานาจ
ที่ที่ดินนั้นตั้งอยู เพื่อเสนอรัฐมนตรี ของรัฐมนตรีวาการ
วาการกระทรวง กระทรวงมหาดไทยให
พรอมเอกสารหลักฐาน มหาดไทยพิจารณา อธิบดีกรมที่ดินและผูวา
ตามที่กําหนดในแบบ และมีคําสั่ง ราชการจังหวัดปฏิบัติ
ต. 4 ราชการแทน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


132

แบบ ต. 4 ประกอบดวยรายละเอียด กรณีอนุญาตใหไดมาซึ่งที่ดิน


1. เกี่ยวกับตัวคนตางดาวที่ขอไดมาซึ่งที่ดิน - กรณีที่ดินในเขตกรุงเทพฯ
2. เกี่ยวกับบุคคลในครอบครัวของผูขอไดมาซึ่ง มอบใหอธิบดีกรมที่ดินเปนผูปฏิบัติ
ที่ดิน ราชการแทน
3. ที่ดินที่ขอไดมาซึ่งที่ดินที่จะขออนุญาต - กรณีที่ดินอยูในเขตจังหวัดอื่น
(พรอมสิ่งปลูกสราง (ถามี)) มอบใหผูวาราชการจังหวัดนั้นเปนผู
4. จํานวนที่ดินหรือสิ่งปลูกสรางที่มีอยูแ ลว ปฏิบัติราชการแทน
5. รายละเอียดเกี่ยวกับการลงทุน ประเภทของ กรณีที่เห็นวาไมควรอนุญาต
ธุรกิจ จํานวนเงินที่ลงทุน และระยะเวลาดํารง - ไมไดมอบอํานาจไว
ทุน - ใหเสนอรัฐมนตรีฯ เพื่อพิจารณาสั่งการ
6. หลักฐานที่ผูขอตองนํามาแสดง

3. เงื่อนไขการไดมาซึ่งที่ดิน
หลักฐานที่ตองนํามาแสดงประกอบการยื่นคําขอ
1. หลักฐานเกี่ยวกับคนตางดาว
2. หลักฐานการนําเงินตราตางประเทศเขามาใน การใชที่ดินที่ไดรับอนุญาต การถอนการลงทุนกอน
ราชอาณาจักรหรือหลักฐานการถอนเงินจาก ครบกําหนดเวลาดํารงทุน
บัญชีเงินบาทของบุคคลที่มีถิ่นที่อยูนอกประเท 1. ตองใชเพือ่ เปนทีอ่ ยูอาศัยสําหรับ
ทศเพื่อการลงทุน (รวมกันแลวตองไมต่ํากวา 40 ตนเองและครอบครัวโดยไมขัดตอ ตองแจงเปนหนังสือให
ลานบาท) ศีลธรรม จารีตประเพณี หรือวิถี พนักงานเจาหนาทีต่ าม
4. หนังสือรับรองจากผังเมืองจังหวัด (กรณีที่ดิน ชีวิตอันดีของชุมชนในทองถิ่นนั้น ม. 71 ทราบ
อยูนอกเขต กทม. เขตเมืองพัทยา หรือเขต 2. ตองแจงการใชที่ดินเพื่อเปนที่อยู
เทศบาล) อาศัยใหพนักงานเจาหนาที่ตาม ม. ภายใน 60 วันนับแต
5. หนังสือรับรองจากกระทรวงกลาโหมหรือ 71 ทราบภายใน 60 วัน นับแตวันที่ วันถอนการลงทุน
หนวยงานที่เกี่ยวของวาที่ดินอยูนอกเขต เริ่มใชที่ดินนั้น (ตองใชที่ดินเปนที่
ปลอดภัยในราชการทหาร อยูอาศัยภายใน 2 ป นับแตวันจด
6. แผนที่สงั เขปแสดงที่ตั้งของที่ดินที่ขออนุญาต ไมปฏิบัติตามเงือ่ นไข
ทะเบียนไดมา)
7. กรณีมีที่ดินอยูแลว ตองแสดงหนังสือแสดง หรือถอนการลงทุนกอน
3. ตองอํานวยความสะดวกแก
สิทธิในที่ดินของที่ดินแปลงเดิมนั้นดวย กําหนด
พนักงานเจาหนาทีต่ ามสมควร เมือ่
ไดรับแจงเปนหนังสือจากพนักงาน
เจาหนาที่ตาม ม. 71 ในการกํากับ อธิบดีกรมที่ดินมีอาํ นาจ
ดูแลการใชที่ดินนั้นตามหลักเกณฑ สั่งใหคนตางดาวนัน้
และเงื่อนไขที่กฎหมายกําหนด จําหนายที่ดินตาม ม. 96
ตรี แหง ป.ที่ดิน

ดู ช. 65 ตอนทาย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


133 (ช.67)
มาตรา 94, 95, 96 กรณีการจําหนายที่ดนิ ที่คนตางดาวไมมีสิทธิถือครอง (2)
(กรณีไดมาโดยไมชอบ, ไมไดรับอนุญาต, คนไทยเปลี่ยนสัญชาติ และถือแทนคนตางดาว)

คนตางดาวไดมาซึง่ ที่ดิน
ผูใดไดมาซึ่งที่ดิน
(ม. 94)

โดยไมชอบดวยกฎหมาย โดยไมไดรับอนุญาต ในขณะที่มีสัญชาติไทย ในฐานะเปนเจาของแทน


(ม. 95) (ม. 96)

อธิบดีกรม ภายหลังผูนั้นเปลี่ยน แทนคนตางดาว หรือนิติ


ที่ดินมีอํานาจ สัญชาติเปนคนตางดาว บุคคลตาม ม.97 หรือ 98
(นิติบุคคลตางดาว)
ใหคนตางดาวนั้น
จําหนายที่ดิน ใหคงมีสิทธิถือที่ดินได
เทาที่คนตางดาวจะ ใหอธิบดีมีอํานาจทําการ
พึงมีสิทธิ (ตาม ม.87) จําหนายที่ดินนั้น
ภายในเวลาที่อธิบดีกําหนดให

สวนที่เกินสิทธิ
(ตองกําหนด) ไมนอยกวา ใหทําการจําหนาย
180 วัน แตไมเกิน 1 ป

ไมจําหนายภายในกําหนด ใหนํา ม.94 มาใช


บังคับโดยอนุโลม

ใหอธิบดีกรมที่ดินมีอํานาจ ผูที่ใสช่อื ถือที่ดิน


จําหนายที่ดินนั้น ฐานะเปนตัวแทน
ของคนตางดาวและ
นิติบุคคลตางดาว
ใหนําบทบัญญัติเรื่องการ
บังคับจําหนายที่ดินตาม มาใชบังคับโดยอนุโลม
ความในหมวด 3
มีความผิด
ตาม ม. 113
มาตรา 50 - 55
ระวางโทษปรับ
ไมเกิน 20,000 บาท
ดู ช. 33
หรือจําคุกไมเกิน 2 ป
หรือทั้งปรับทั้งจํา

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


134 (ช. 68)
การไดมาซึ่งทีด่ ินของบุคคลสัญชาติไทยที่มีคูสมรสเปนคนตางดาว
ทั้งที่ชอบและมิชอบดวยกฎหมาย และบุตรผูเยาวของคนตางดาวที่มีสัญชาติไทย

1. กรณีมีคูสมรสเปนคนตางดาว
บุคคลสัญชาติไทย มีคูสมรสเปนคนตางดาว

กรณีขอซือ้ ที่ดิน หรือขอรับโอน ขอรับใหที่ดิน


ที่ดินในกรณีอื่นที่คลายคลึงกัน

ในระหวางสมรส หรือ
ในระหวางสมรสหรือระหวาง
ระหวางอยูกินฉันสามี
อยูกินฉันสามีภรรยากับคนตางดาว
ภรรยากับคนตางดาว

กรณีมีคูสมรสเปนคนตางดาว กรณีมีคูสมรสเปนคนตางดาว ทั้งกรณีสมรสโดยชอบ


โดยชอบดวยกฎหมาย โดยไมชอบดวยกฎหมาย และไมชอบดวยกฎหมาย

หากพนักงานเจาหนาที่สอบสวนแลว หากพนักงานเจาหนาที่สอบสวนแลว หากสอบสวนแลว

ผูขอและคูสมรส (คนตาง มีฟอรม


หากเปนการรับใหใน หากเปนการรับในฐานะ
ดาว) ยืนยันเปนลายลักษณ หนังสือรับรอง
ฐานะที่เปนสินสวนตัว ที่เปนสินสมรส
อักษรรวมกันวา ของกรมที่ดิน
หรือทรัพยสินสวนตัว
ของคนไทยแตฝายเดียว
หรือมีผลทําใหคนตาง
“เงินที่บุคคลสัญชาติไทย “เงินที่บุคคลสัญชาติไทยนํามา
ดาวมีสวนเปนเจาของ
นํามาซื้อที่ดินทั้งหมด ซื้ อ ที่ ดิ น ทั้ ง หมด เป น ทรั พ ย มิไดทําใหคนตางดาว
เปนสินสวนตัวของบุคคล สวนตัวของบุคคลสัญชาติไทย มีสวนเปนเจาของ ที่ดินรวมดวย
สัญชาติไทยแตเพียงฝาย แตเพียงฝายเดียว มิใช ทรัพย ที่ ที่ดินดวย
เดียวมิใชสินสมรส” นํามาหาไดรวมกัน”
เมื่อพนักงานเจาหนาที่
ใหจดทะเบียนใหกับ สอบสวนเสร็จแลว
เมื่อยืนยันแลว ที่ดินดังกลาวยอม ผูขอตอไปได
ใหพนักงานเจาหนาที่ ตกเปนสินสวนตัวหรือทรัพย
ดําเนินการจดทะเบียนฯ สวนตัวของคนไทย เมื่อจะทํานิติ
ใหกับผูขอได สงเรื่องใหกรมที่ดิน
กรรมอื่นๆ ตอไป จึงไมตองใหคู
สมรสตางดาวใหความยินยอมอีก
เพื่อเสนอขอคําสั่ง
รัฐมนตรี (มท.)
ถาหากคนตางดาว (คูสมรส) ถาหากคนตางดาว ถาหากคนตางดาว (คูสมรส) ไมยืนยัน
อยูตางประเทศ (คูสมรส) อยูในไทย ตามนัยดังกลาวหรือไมยืนยันเปน
แตมายืนยันเองไมได ลายลักษณอักษรดังกลาว
ตาม ม.74 ว.2
ป.ที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


135

และไมสามารถไปยืนยัน สามารถยื่นคําขอเพื่อขอ เมื่อพนักงานเจาหนาที่


เปนลายลักษณอกั ษรรวมกับ หนังสือรับรองไวลว งหนาได สอบสวนเสร็จแลว
คูสมรสตอเจาหนาที่ได
โดยยื่นคําขอ ณ สํานักงานที่ดิน สงเรื่องใหกรมที่ดิน
ใหสถานเอกอัครราชฑูต สถาน จังหวัด/สาขา แหงใดแหงหนึ่ง
กงสุล หรือโนตารี ปปลิค (ใน
ประเทศที่คนตางดาวนั้นอยู) เพื่อขอคําสั่งรัฐมนตรี (มท)
เพื่อใหพนักงานเจาหนาที่สอบสวนทั้งคู
และออกหนังสือรับรองเพือ่ ยืนยันวา
บันทึกถอยคําคูสมรส “เงินทั้งหมดที่คนไทยนํามาซื้อที่ดิน
ตามนัยมาตรา
ที่เปนคนตางดาวไว เปนสินสวนตัวหรือทรัพยสวนตัวของ
74 ว.2 ป. ที่ดิน
เปนลายลักษณอกั ษร คนไทยแตฝายเดียวมิใชสินสมรสหรือ
ทรัพยที่ทํามาหาไดรวมกัน”
ใหไดใจความเหมือนกับ
ที่บันทึกตอหนาพนักงาน
แลวคนไทยนําหนังสือรับรอง
เจาหนาที่ขางบน
มอบใหพนักงานเจาหนาที่ซึ่ง
ทําการจดทะเบียนโอนตอไป
แลวรับรองวา บุคคลที่ทําหนังสือ
นั้นเปนคูสมรสหรืออยูกินฉันสามี
คําขอรับรอง
ภริยากับบุคคลสัญชาติไทยจริง

ใหคนไทยผูจะซื้อทําตนฉบับ - คาคําขอ แปลงละ 5 บาท เอกสารคําขอ และ


หนังสือรับรองมามอบให ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 47 หลักฐานตาง ๆ
พนักงานเจาหนาทีซ่ ึ่งจด ที่เกี่ยวกับการสอบสวน
ทะเบียนโอน

สํานักงานที่รับคําขอ
ตั้งแฟมเฉพาะเพือ่ แยกเก็บ
การบันทึกถอยคําในหนังสือรับรอง
- ไมตองสอบสวนอาชีพ รายไดของ
ผูขอ หรือที่มาของเงินแตอยางใด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


136

2. กรณีเคยมีคูสมรสเปนคนตางดาว

บุคคลสัญชาติไทย

ที่เคยมีคูสมรสเปนคนตางดาว

แตไดหยาขาดจากกันหรือ
เลิกรางกันแลว

ขอทํานิติกรรมไดมาที่ดิน

หากสอบสวนแลว

ไมปรากฏพฤติการณ ปรากฏวามีพฤติการณ
หลีกเลี่ยงกฎหมาย หลีกเลี่ยงกฎหมาย

จดทะเบียนใหกับ สงเรื่องใหกรมที่ดิน
ผูขอได
เพื่อขอคําสั่งรัฐมนตรี
(มท)

ตาม ม.74 ว.2


ป.ที่ดิน

3. กรณีไดเคยแจงหรือยื่นเอกสารเท็จใหจดทะเบียน
ไวกอน 23 มีนาคม 2542 (กอนกําหนดแนวทางตาม 1)

บุคคลสัญชาติไทย

มีคูสมรสเปนคนตางดาว ทั้งกรณีชอบและไมชอบดวยกฎหมาย

ไดซื้อหรือถือครองที่ดิน
หลังสมรส

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


137

โดยแจงหรือยื่นเอกสารเท็จตอเจาหนาที่
วาเปนโสด ไมมีคูสมรสเปนคนตางดาว

เจาหนาที่จดทะเบียนใหไปแลว กอนที่กระทรวงมหาดไทยจะมี
กอนมีระเบียบตาม 1. หนังสือ ดวนที่สุด ที่ มท 0710/ว 792
(กอนวันที่ 23 มีนาคม 2542) ลว. 23 มี.ค.2542

ใหดําเนินการเพิ่มเติม

กรณีคูสมรส (คนตางดาว) กรณีคูสมรส (คนตางดาว)


อยูในประเทศไทย อยูตางประเทศ

ใหคูสมรส (คนตางดาว) และ และไมสามารถไปยืนยันเปน


คูสมรส (คนไทย) ลายลักษณอักษรรวมกันตอ
พนักงานเจาหนาทีไ่ ด

มายืนยันเปนลายลักษณอักษร
รวมกันตอพนักงานเจาหนาที่วา ใหสถานเอกอัครราชฑูต
สถานกงสุล หรือโนตารีปปลิค
“เงินที่บุคคลสัญชาติไทยนํามาซื้อที่ดิน
(หรือหองชุด) ทั้งหมดเปนสินสวนตัว บันทึกถอยคําคูสมรสที่เปน
หรือทรัพยสวนตัวของบุคคลสัญชาติ คนตางดาวไวเปนลายลักษณอกั ษร
ไทย แตเพียงฝายเดียว มิใชสินสมรส
หรือทรัพยที่ทํามาหาไดรวมกัน
ใหไดใจความเหมือนกับกรณีมา
บันทึกตอหนาเจาหนาที่ที่ดิน
เสร็จแลวใหเจาพนักงานที่ดินเก็บ
เขาสารบบไว เสร็จแลวนํามามอบ
แลวรับรองวาบุคคลที่ทําหนังสือนั้น ใหเจาพนักงานที่ดิน
4. กรณีบุตรผูเยาวของคนตางดาวที่มีสัญชาติไทย เปนคูสมรสของบุคคลสัญชาติไทยจริง เก็บเขาสารบบ

กรณีบุตรผูเ ยาว
ขอทํานิติกรรม ไมปรากฏพฤติการณ ใหดําเนินการจดทะเบียนฯ
ของคนตางดาว หากสอบสวนแลว
ไดมาซึ่งที่ดิน หลีกเลี่ยงกฎหมาย ใหผูขอได
ที่มีสัญชาติไทย
ที่มา 1. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท 0710/ว 792 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2542
2. หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0710/ว 00795 ลงวันที่ 11 มกราคม 2543
3. หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0710/ว 03543 ลงวันที่ 31 มกราคม 2543
4. หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0710/ว 13158 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2543
5. หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0710/ว 16051 ลงวันที่ 25 พฤษภาคม 2543
6. หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0710/ว 18073 ลงวันที่ 15 มิถุนายน 2543
7. หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0515/ว 23245 ลงวันที่ 22 สิงหาคม 2546
8. หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0515/ว 33259 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2547
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
138 (ช. 69)
หมวด 9
การกําหนดสิทธิในที่ดินของนิติบุคคลบางประเภท
มาตรา 97, 98, 99 และ 100 นิติบุคคลเสมือนคนตางดาว
นิติบุคคลที่มีสิทธิในที่ดิน
ไดเสมือนกับคนตางดาว
(ม.97)

(1) บริษัทจํากัดหรือ (2) หางหุนสวนจํากัดหรือหาง (3) สมาคมสหกรณ (4) มูลนิธิ


บริษัทมหาชนจํากัด หุนสวนสามัญที่จดทะเบียนแลว

ที่มี ที่มี ที่มี ที่มี


- หุนอันเปนทุนจดทะเบียนถือ - คนตางดาวลงหุนมีมูลคาเกิน - สมาชิกเปนคนตางดาว - วัตถุประสงค เพื่อ
โดยคนตางดาวเกินกวา 49% กวา 49% ของทุนทั้งหมด หรือ เกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหรือ ประโยชนคนตางดาว
ของทุนจดทะเบียน หรือ - ดําเนินกิจการเพื่อประโยชน โดยเฉพาะหรือเปน
- ผูเปนหุนสวนเปนคนตางดาว
- ผูถือหุนเปนคนตางดาวเกิน คนตางดาวโดยเฉพาะหรือ สวนใหญ
เกินกวากึ่งหนึ่งของจํานวน
กวากึ่งหนึ่งของจํานวนผูถือหุน เปนสวนใหญ
แลวแตกรณี ผูเปนหุนสวนแลวแตกรณี

แม จ ะเป น กรณี ที่ ค นไทย แตถามีวัตถุประสงคเพื่อ


ใบหุนชนิดออกใหผูถือ กรณีนิติบุคคล 2 ประเภทนี้ ไดประโยชนดวย แตสวน ประโยชนแกบุคคล
เขาถือหุนหรือลงหุนในนิติ ใหญตกแกคนตางดาว ทั่วไปแมชื่อจะเปน
บุคคลอื่นตามนัย มาตรา 97 ก็ถือวาเขามาตรานี้ ตางประเทศก็ไมเขา
ใหถือเปนใบหุนของ ใหถือวานิติบุคคลอืน่ นั้น มาตรานี้ เชน มูลนิธิปอ
คนตางดาวเปนผูถอื เปนคนตางดาว (ม.98) ดูคําอธิบาย
เต็กตึง้
ทายแผนภูมิ

การไดมา หรือตองจําหนาย ผลการเปลี่ยนสภาพเปน


ไปซึ่งสิทธิในที่ดิน (ม.99) นิติบุคคลตางดาว (ม.100)

ใหนําบทบัญญัติตามความใน นิติบุคคลใดไดมาซึ่งที่ดินใน
หมวด 8 มาใชบังคับโดย ตอนได ที่ ดิ น มาเป น
ขณะที่ไมตองดวย ม.97 และ 98
อนุโลม นิติบุคคล (ไทย)
(ไมใชนิติบุคคลตางดาว)

หมวด 8 ตอมาภายหลังมีสภาพ (เปนนิติบุคคล


การกําหนดสิทธิในที่ดิน ที่มีสิทธิในที่ดินเหมือนคนตางดาว)
ของคนตางดาว ตองดวย ม.97 หรือ 98

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


139

ดู ช. 62 – 67 ใหนํามาตรา 95
มาใชบังคับโดยอนุโลม

นิติบุคคลดังกลาวมี
มาตรา 95 กรณีคนไทย
หนาที่และความรับผิด
เปลี่ยนสัญชาติ

เชนเดียวกับที่กําหนดไว
เมื่อกลายเปนคนตางดาวแลว
สําหรับคนตางดาวและ
บุคคลทั่วไป
มีสิทธิถือที่ดินไดเทาที่
คนตางดาวจะพึงมีสิทธิ
กรณีความผิดเฉพาะของ
ถือที่ดิน
นิติบุคคล

สวนที่เกินสิทธิ
มาตรา 112 นิติบุคคลใด
ตองจําหนาย
1) ไดมาซึ่งที่ดินเปนการฝาฝนบทแหงประมวลกฎหมายที่ดิน
2) ใชที่ดินนั้นเพื่อกิจการอื่นนอกจากที่ไดรับอนุญาต
3) ใชที่ดินผิดเงื่อนไขที่คณะรัฐมนตรีกําหนดตามความในมาตรา 99 หากไมจําหนายตาม กําหนดเวลาไม
ประกอบดวยมาตรา 87 วรรคสอง เวลาที่อธิบดีกรมทีด่ ิน นอยกวา 180 วัน
4) ไมแจงการไมใชที่ดินตามความในมาตรา 99 ประกอบดวยมาตรา 89 กําหนดเวลาให แตไมเกิน 1 ป
หรือ
5) ยกเลิก
อธิบดีมีอํานาจจําหนาย
ที่ดินนั้น
มีความผิดระวางโทษปรับไมเกิน
50,000 บาท
ดู ช. 33

มาตรา 98 ในกรณีที่นิติบุคคลที่ระบุไวใน
มาตรา 97 เขาถือหุน หรือลงทุน แลวแตกรณี
ความหมาย
ในนิติบุคคลอื่นตามนัยที่กลาวในมาตรา 97
ใหถือวานิติบุคคลอืน่ นั้นเปนคนตางดาว

คือ บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดที่ปรากฏวาหุนอันเปนทุนจดทะเบียนถือ
โดยคนตางดาวไมเกินกวารอยละสี่สิบเกา และมีผถู ือหุนเปนคนตางดาวไมเกินกวา
กึ่งจํานวนผูถอื หุน แตบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดนั้นมีนิติบุคคล (ไทย)
เปนผูถือหุนอยูดวย เมื่อพิจารณานิติบคุ คล (ไทย) ดังกลาวแลวเปนนิติบุคคล (ไทย)
ที่ตองตามมาตรา 97 ก็ใหถือวาหุนที่ถือโดยนิติบุคคล (ไทย) นั้นเปนหุนของ
คนตางดาวทั้งหมด และเมื่อรวมกับหุน ที่ถือโดยคนตางดาวอื่นๆ ของบริษัทจํากัด
หรือบริษัทมหาชนจํากัดที่มีอยูแลว ทําใหมีจํานวนหุนเกินกวารอยละสี่สิบเกา หรือ
นิติบุคคล (ไทย) นั้นเมื่อรวมกับผูถอื หุนที่เปนคนตางดาวอื่นๆ ของบริษัทจํากัดหรือ
บริษัทมหาชนจํากัดที่มีอยูแลว ทําใหมีผูถือหุนเกินกวากึง่ จํานวนของผูถ ือหุน
แลวแตกรณีก็ใหถือวาบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดนั้นเปนคนตางดาว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


140 (ช. 70)
หมวด 10 ยกเลิกแลว
การคาที่ดิน (โดย พ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติม
มาตรา 101, 102 การคาที่ดนิ ป.ที่ดิน (ฉบับที่12) พ.ศ. 2551)
“การคาที่ดิน” หมายถึง การไดมาและ ฝาฝนหรือไม ตัวบุคคลธรรมดา ผิด ม.111
จําหนายไปซึ่งที่ดินเพื่อประโยชนใน การคาที่ดิน
(ม. 101) ปฏิบัติตาม
กิจการคาหากําไร โดยวิธีขาย ม.101 – 102 ตัวนิติบุคคล ผิด 112 (5)
แลกเปลี่ยน หรือใหเชาที่ดิน (ม.1)

การขออนุญาต การดําเนินการเมื่อไดรับ
คําสั่งกระทรวงมหาดไทย อนุญาตแลว (102)
ที่ 169/2535
ตองไดรับอนุญาต ลว. 5 มี.ค.2535
ผูทําการคาที่ดิน
เปนการเฉพาะ

รัฐมนตรีมอบอํานาจให
จากรัฐมนตรี (มท) ปฏิบัติราชการแทน
1. ตองปฏิบัตติ ามเงื่อนไข 2. ตองขาย แลกเปลี่ยน
หรือใหเชาซื้อที่ดินที่ขอคา
ตามหลักเกณฑและวิธีการ กรุงเทพฯ จังหวัดอื่นๆ
ที่กําหนดในกฎกระทรวง
หากไมปฏิบัติ ใหหมดภายในเวลา 3 ป
ตามเงื่อนไข นับแตวันที่ไดรับอนุญาต
อธิบดีกรมที่ดิน ผูวาราชการจังหวัด
กฎกระทรวงฉบับที่ 9

ไมสามารถดําเนินการ
ผูตองยื่นคําขอตอ การอนุญาต ไดหมดภายในกําหนด

รัฐมนตรีจะกําหนด
พนักงานเจาหนาที่ เงื่อนไขอยางใดก็ได
ตาม ม.71 ป.ที่ดิน ใหอธิบดีกรมที่ดินมี เมื่อครบกําหนด 3 ป แลว อธิบดี
คําขอหนึ่งจะเปนแปลงเดียว อํานาจจําหนายที่ดินนั้น สามารถใชอาํ นาจจําหนายไดเลย
หรือหลายแปลงก็ได
ยื่นคําขอพรอม
แสดงหลักฐาน นําเรื่องบังคับจําหนาย ไมตองมีการแจงให
- คาธรรมเนียมการไดมาเพื่อ ที่ดินตามหมวด 3 ป.ที่ดิน ผูคาจําหนายตามที่
การคาที่ดิน รายละ 500 บาท มาใชบังคับโดยอนุโลม อธิบดีกําหนด เหมือน
1. แผนผังที่ดินที่จะขาย - คาอนุญาตไรละ 20 บาท กับเรื่องคนตางดาวอีก
หรือที่จะแบงขาย หรือ เศษของไรใหคิดเปนหนึ่งไร
ม. 50 – ม. 55
จะใหเชาซื้อ
2. โครงการ และ
3. ราคาที่จะขายหรือราคาที่
จะใหเชาซื้อ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


141

เมื่อรับคําขอแลว เพราะระยะเวลาจําหนายที่ดินที่
ขอคานั้น กฎหมายกําหนด
ระยะเวลาแนนอนไวแลว หาก
พนักงานเจาหนาที่ ไปดําเนินการเพิ่มเหมือนกับกรณี
สอบสวน คนตางดาว (ซึ่ง กม. บัญญัติวิธีไว)
อีก ยอมเทากับขยายระยะเวลา
ตาม กม. ออกไปและไมมี กม.
ตามระเบียบ คําสั่งกระทรวงมหาดไทย
กระทรวงมหาดไทย ที่ 1390/2497
ลว. 13 ธ.ค. 2497

เสร็จแลวใหรายงาน
พรอมสงเอกสาร
ปจจุบันรัฐมนตรีไดมอบอํานาจ
การสอบสวน ปฏิบัติราชการแทน
ใหอธิบดีกรมที่ดิน และ
ผูวาราชการจังหวัด แลวแตกรณี ในการอนุญาตให
วาเปนกรุงเทพหรือจังหวัดอื่น คาที่ดิน
ไปยังรัฐมนตรี

(หมวด 10 การคาที่ดิน ปจจุบันยกเลิกแลว)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


142 (ช. 71)
หมวด 11
คาธรรมเนียม
มาตรา 103, 103 ทวิ, 104 คาธรรมเนียม ป.ที่ดิน
คาธรรมเนียมการดําเนินการ
ตาม ป.ที่ดิน

การออกหนังสือ การรังวัด การทําธุระอื่นๆ เกี่ยวกับ การจดทะเบียน


แสดงสิทธิในที่ดิน อสังหาริมทรัพย สิทธิและนิติกรรม

เดินสํารวจ ออกโฉนดที่ดิน กรณีอื่นๆ กรณีอ่นื ๆ กรณีบริจาค


ม. 58 ม.58 ตรี (ยายแปลง) (ม. 103 ทวิ)

กรณีออกโฉนดที่ดินหรือ ไดรับยกเวน เรียกเก็บคาธรรมเนียม กรณีจดทะเบียนฯ โอน ใหแกทางราชการ


รับรองการทําประโยชน คาธรรมเนียม และคาใชจายตามที่ กรรมสิทธิ์ หรือสิทธิ (โดยไมเสียคาตอบแทน)
ตาม ม.58 (เดินสํารวจ) และคาใชจาย กําหนดในกฎกระทรวง ครอบครองในที่ดินหรือ
อสังหาริมทรัพย (ม.104)
ยกเวนคาธรรมเนียม
เรียกเก็บเฉพาะคาธรรมเนียมเปนคา แตตองไมเกินอัตรา
- คาออกโฉนดที่ดิน ตามบัญชีทาย ป. ที่ดิน การกําหนดจํานวนทุนทรัพย
- คาออกหนังสือรับรองการทํา ในการเรียกเก็บคาธรรมเนียม
ประโยชน
เวนแตมีกฎหมายอืน่ บัญญัติยกเวน
- คาหลักเขตที่ดิน (แปลงละ 60 บาท)
คาธรรมเนียมไวโดยเฉพาะ เชน พ.ร.บ. คํานวณตามราคา ผูขอจดทะเบียนเปน
และ
- คามอบอํานาจ (ถามี) แลวแตกรณี จัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2517, ประเมินทุนทรัพย ผูเสียคาธรรมเนียม
(ไมตองเสียคาใชจา ย) พ.ร.บ. การปฏิรปู ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
พ.ศ. 2518 พ.ร.บ. สหกรณ พ.ศ. 2511, ตาม ม. 105 เบญจ
หากยังไมมีเงินคาธรรมเนียม กลุมเกษตรตาม ปว. 141, ธนาคารเพื่อ (ตามทีค่ ณะกรรมการ
ในการขอรับโฉนดที่ดิน ฯลฯ การเกษตรและสหกรณ เปนตน กําหนดราคาประเมิน
ทุนทรัพยเห็นชอบไว)
คางชําระคา
สามารถขอรับโฉนดที่ดิน ฯลฯ ปจจุบันคาธรรมเนียม
ธรรมเนียมได
ไปกอนได และคาใชจายตาม ป. ที่ดิน
การจดทะเบียนฯ
เชน จํานอง, เชา
ในกรณีอื่น (นอกจาก
โดยพนักงานเจาหนาที่จดแจง เก็บตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ทรัพยสิน เปนตน
การโอนฯ ขางตน)
การคางชําระคาธรรมเนียม 47 และ ฉบับที่แกไขเพิ่มเติม

ในโฉนดที่ดิน ฯลฯ นั้น ผูขอจดทะเบียน


ดู ช. 79
เสียคาธรรมเนียม

เมื่อมายื่นขอจดทะเบียนฯ ครั้งแรก
โดยผูย่นื คําขอเปนผูชําระ โดยคํานวณตามจํานวนทุน
ทรัพยที่ผูขอจดทะเบียน
จึงชําระคาธรรมเนียมที่คางอยู แสดงตามความเปจจริง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


143 (ช. 72)
มาตรา 105, 105 ทวิ, 105 ตรี, 105 จัตวา, 105 เบญจ
คณะกรรมการกําหนดราคาประเมินทุนทรัพย
มาตรา 105 อัฎฐ การปรับปรุงราคาประเมินทรัพย
คณะกรรมการกําหนดราคาประเมินทุนทรัพย ตั้งขึ้นตาม ป.ที่ดิน

องคคณะ องคประชุม การวินิจฉัย อํานาจหนาที่


(ม.105) (ม. 105 จัตวา ชี้ขาด (มติ) (ม. 105 เบญจ)

มีจํานวนไมเกิน 11 คน การประชุม การวินิจฉัยชี้ขาด (1) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการ


ใหถือเสียงขางมาก ในการกําหนดราคาประเมินทุน
ทรัพยของอสังหาริมทรัพย
กรรมการ กรรมการ ตองมีกรรมการมาประชุม
โดยตําแหนง ผูทรงคุณวุฒิ ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ กรรมการมีเสียง เพื่อเรียกเก็บคาธรรมเนียมจด
จํานวนกรรมการทั้งหมด คนละ 1 เสียง ทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
จํานวน 7 คน จํานวน 4 คน ตาม ป. ที่ดิน
ประธานไมอยูในที่ประชุม คะแนนเสียง
เทากัน (2) ใหความเห็นชอบตอการกําหนด
1. ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีวาการ ราคาประเมินทุนทรัพยที่คณะ
กรรมการที่มาเลือก
มหาดไทยเปนประธาน กระทรวงมหาดไทย กรรมการคนหนึ่งเปน อนุกรรมการประจําจังหวัดเสนอ
ใหประธานที่
2. อธิบดีกรมการ ประธานที่ประชุม ประชุมออก
ปกครองหรือผูแทน เปนผูแตงตัง้ เพื่อใชเรียกเก็บคาธรรมเนียมจด
เสียงเพิ่มขึ้น
3. อธิบดีกรมสรรพากร ทะเบียนสิทธิและนิติกรรมสําหรับ
อีก 1 เสียง
หรือผูแทน การพนจากตําแหนง อสังหาริมทรัพยที่ตั้งอยูในเขต
โดยมีวาระ
4. อธิบกีกรมโยธาธิการ กรณีอื่น (นอกจาก จังหวัดนั้นหรือในทองที่หนึ่งหรือ
คราวละ 3 ป เปนเสียง
หรือผูแทน ครบวาระ) ทองที่ใดในเขตจังหวัดนั้น
(ม. 105 ทวิ) ชี้ขาด
5. อธิบดีกรมธนารักษ (ม. 105 ตรี)
หรือผูแทน (3) วินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับการ
6. ผูอํานวยการ สนง. พนจากตําแหนง เมื่อ เรียกเก็บคาธรรมเนียมจด
เศรษฐกิจการคลังหรือ แลวแตงตั้งให (1) ตาย ทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามที่
ผูแทน เปนใหมไดอีก (2) ลาออก กรมที่ดินขอความเห็น
7. ผูอํานวยการ สนง. (3) รัฐมนตรีใหออก
กลางประเมินราคา กรณีพนจาก (4) เปนคนไรความสามารถหรือ (4) แตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อ
ทรัพยสิน (สปท.) ตําแหนง คนเสมือนไรความสามารถหรือ พิจารณาหรือปฏิบัติการอยางหนึ่ง
เปนกรรมการและ กอนวาระ เปนบุคคลลมละลาย อยางใดตามที่คณะกรรมการกําหนด
เลขานุการ (5) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษา ราคาประเมินทุนทรัพยมอบหมาย
ถึงที่สุดใหจําคุกหรือคําสั่งที่ชอบ ก็ได แลวรายงานตอคณะกรรมการ
รัฐมนตรีแตงตัง้ ดวยกฎหมายใหจําคุกหรือคําสั่งที่ กําหนดราคาประเมินทุนทรัพย
ผูอื่นเปนแทน ชอบดวยกฎหมายใหจําคุก เวนแต
โทษสําหรับความผิดที่กระทําโดย (5) ปฏิบัติการอื่นตามที่บัญญัติ
ประมาทหรือความผิดลหุโทษ ไวในประมวลกฎหมายที่ดินหรือ
ผูที่ไดรับแตงตั้งแทนมีวาระดํารง
กฎหมายอื่น
ตําแหนงเทากบวาระที่เหลืออยูของ
กรรมการที่ไดแตงตั้งไวแลว
ราคาประเมินทุนทรัพยที่คณะกรรมการกําหนด
ใหปดประกาศไว ณ
ราคาประเมินทุนทรัพยใหความเห็นชอบแลว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


144

- สํานักงานที่ดินจังหวัด
- สํานักงานที่ดินสาขา และ
- สํานักงานเขตหรือที่วาการ
อําเภอหรือที่วาการกิ่งอําเภอ
ทองที่

การปรับปรุงราคาประเมินฯ
(ม. 105 อัฎฐ)

เมื่อมีการประกาศกําหนดราคาประเมิน
มีกําหนดใชคราวละไมเกิน 4 ป
ทุนทรัพยสําหรับเขตจังหวัดใดไวแลว

ตอมาปรากฏวา ราคาซื้อขายใน ในทองที่ที่หนึ่งที่ใด


ทองตลาดของอสังหาริมทรัพย ในเขตจังหวัดนั้น

แตกตางจาก

ราคาประเมินทุนทรัพยที่ได
ประกาศกําหนดไวมากพอสมควร

ใหคณะอนุกรรมการ
ประจําจังหวัดนั้น

พิจารณาปรับปรุงราคาประเมินฯ
สําหรับทองที่นั้น

แลวเสนอขอความเห็นชอบ

จากคณะกรรมการกําหนดราคา โดยเร็ว
ประเมินทุนทรัพย

เห็นชอบ ไมเห็นชอบ

ประกาศใชบังคับ ใชราคาประเมินฯ เดิม


ราคาประเมินฯ ใหม

เรียกเก็บคาธรรมเนียม เรียกเก็บคาธรรมเนียม
ตามราคาประเมินฯ ใหม ตามราคาประเมินฯ เดิม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


145 (ช. 73)
มาตรา 105 ฉ. , ม. 105 สัตต คณะอนุกรรมการประจําจังหวัด
คณะอนุกรรมการประจําจังหวัด มีทุกจังหวัด

องคคณะ องคประชุม การวินิจฉัยชี้ขาด (มติ) หนาที่


(ม. 105 สัตต)
คณะอนุกรรมการประจําจังหวัด
นํา ม.105 จัตวา มาใชบังคับโดยอนุโลม พิจารณากําหนดราคาประเมินทรัพย

แตละจังหวัด กรุงเทพมหานคร เพื่อใชในการเรียกเก็บคาธรรมเนียม


ไดแก
- เรื่ององคประชุม ไมนอย จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
ไมเกิน 8 คน กวากึ่งหนึ่งของจํานวน สําหรับอสังหาริมทรัพยที่ตั้งอยู
ไมเกิน 7 คน
กรรมการทั้งหมด ในเขตจังหวัดนั้น หรือในทองที่
- กรณีประธานไมอยูให หนึ่งที่ใดในเขตจังหวัดนั้น
โดยตําแหนง ผูทรงคุณวุฒิ ผูทรงคุณวุฒิ โดยตําแหนง เลือกกรรมการคนหนึ่ง
เปนประธานที่ประชุม เสร็จแลวเสนอความเห็นชอบ
- การวินิจฉัยชี้ขาดถือ
จํานวน 4 คน ไมเกิน 3 คน จํานวน 5 คน
เสียงขางมาก คณะกรรมการกําหนด
- การลงคะแนนเสียง คน ราคาประเมินทุนทรัพย
1. ผูวาราชการจังหวัด แตงตั้งโดยคณะ ละ 1 เสียง หากคะแนน
เปนประธาน กรรมการกําหนด 1. ปลั ด เทากันใหประธานที่ เห็นชอบ
2. ปลัดจังหวัด ราคาประเมิน กรุ ง เทพมหาน ประชุมออกเสียงเพิม่ อีก (ม.105 เบญจ ว.2)
3. สรรพากรจังหวัด ทุนทรัพย ครเปนประธาน 1 เสียง เปนเสียงชีข้ าด
4. ธนารักษจังหวัด 2. ผูแทน
ประกาศบัญชีราคา
เปนอนุกรรมการ กรมการ
นํา ม.105 ทวิ, ดู ม.105 จัตวา ประเมินทุนทรัพย
และเลขานุการ ปกครอง
ม.105 ตรี มา (ช 72)
3. ผูแทน
ใชบังคับโดย ประกาศแลวตอมา
กรมสรรพากร ปดประกาศ ณ
อนุโลม ราคาซื้อขายใน
4. เจาพนักงาน - สํานักงานที่ดิน ทองตลาดแตกตางกับ
ที่ดินกรุงเทพ จังหวัด ราคาประเมินฯ มาก
มหานคร - สํานักงานที่ดินสาขา พอสมควร
ไดแก 5. ผูอํานวยการ - สํานักงานเขต หรือ (ม 105 อัฎฐ)
ม.105 ทวิ วาระดํารงตําแหนง สนง. กลาง ที่วาการอําเภอหรือ
คราวละ 3 ป พนจากตําแหนง ประเมินราคา กิ่งอําเภอทองที่
แลวแตงตั้งเปนใหมไดอีก ทรัพยสิน คณะอนุกรรมการ
ม. 105 ตรี การพนจากตําแหนง (สปท.) เปน ประกาศและใชบังคับ ประจําจังหวัด
ในกรณีอื่นนอกจากครบวาระ อนุกรรมการและ
และการแตงตั้งกรรมการแทน เลขานุการ
เห็นชอบ ปรับปรุงราคาประเมินฯ

คณะกรรมการกําหนด
ดู ม.105 จัตวา
ราคาประเมินทุนทรัพย
(ช 72)

โดยเร็ว เสนอขอความเห็นชอบ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


146 (ช. 74)
หมวด 12
บทกําหนดโทษ
มาตรา 107, 108 ตรี – 113 บทกําหนดโทษ

ผูใดไมนําพนักงานเจาหนาที่
- ทําการสํารวจรังวัดทําแผนที่หรือ
- พิสูจนสอบสวนการทําประโยชน
ในที่ดินของตน หรือ
- ไมตั้งตัวแทนเพื่อการดังกลาวตาม
ม.58 (เดินสํารวจ)
ม. 69 (สอบเขตทั้งตําบล)
ม.107 มีความผิด
ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม
- ม. 26 (หนาที่ของผูที่อยูในเขต ตองระวางโทษปรับ
สํารวจที่ดิน) ไมเกิน 500 บาท
ม. 70 (พนักงานเจาหนาที่ใชอํานาจ
เรียกบุคคลหรือเอกสารเพื่อ
ประโยชนในการรังวัด)

ม.108
บทกําหนด
โทษตาม ผูฝาฝน ม. 9 ดู ช. 75
ป.ที่ดิน ม.108 ทวิ

ผูใดขัดขวางหรือไมใหความสะดวก มีความผิด
ตอพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งปฏิบัติ
ม.108 ตรี หนาที่ตาม ม.66 (เกี่ยวกับการเขาไป ตองระวางโทษ
รังวัดในพื้นที่รวมทั้งสรางหมุด
หลักฐานลงในดิน)
ปรับไมเกิน 1,000 บาท

ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม
- ม.38 (การกําหนดสิทธิในที่ดิน มีความผิด
ม.109 ปจจุบันมาตรานี้ถกู ยกเลิกแลว)
- ม.67 (การทําลายดัดแปลง ตองระวางโทษ
เคลื่อนยาย ถอดถอนหลักเขตที่ดิน)
- ม.74 (ไมยอมมาใหถอยคําหรือสง
ปรับไมเกิน 2,000 บาท
เอกสารมาใหเจาหนาที่ที่ใชอํานาจ
เรียก ในการจดทะเบียนฯ) หรือจําคุกไมเกิน 3 เดือน
หรือทั้งปรับทั้งจํา

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


147

ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม
- ม.89 (กรณีคนตางดาวไดรับอนุญาต
ม.110 ใหไดมาซึ่งที่ดินแลวใชประโยชนใน มีความผิด ตองระวางโทษ
กิจการอื่นนอกจากที่ไดรับอนุญาต)
ปรับไมเกิน 3,000 บาท
หรือจําคุกไมเกิน 6 เดือน
หรือทั้งปรับทั้งจํา
ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม
ม.111 - ม.86 (คนตางดาวไดมาซึ่งที่ดินโดย มีความผิด ตองระวางโทษ
ไมไดรับอนุญาต)
ปรับไมเกิน 20,000 บาท
หรือจําคุกไมเกิน 2 ป
หรือทั้งปรับทั้งจํา

ม.112 นิติบุคคลใด มาตรานี้เฉพาะกรณีนิติบุคคลเทานั้น

กรณีบุคคลธรรมดา
บทกําหนด
(1) ไดมาซึ่งที่ดินเปนการฝาฝนบทแหง (1) บุคคลธรรมดา
โทษตาม
ประมวลกฎหมายที่ดิน ผิด ม. 111 กรณีบุคคล
ป.ที่ดิน
(2) ใชที่ดินนั้นเพื่อกิจการอื่นนอกจากที่ ธรรมดามีบัญญัติ
(2) บุคคลธรรมดา
ไดรับอนุญาต การไมปฏิบัติตาม
ผิด ม. 110
(3) ใชที่ดินผิดเงื่อนไขที่คณะรัฐมนตรี เงื่อนไขของ
กําหนด ตามความใน ม. 99 ประกอบดวย (3) บุคคลธรรมดา คณะรัฐมนตรีไว
ม.87 ว.2 (กรณีคณะรัฐมนตรีอนุญาตให ใน ม.92 แตใน
ไดมาซึ่งที่ดินเพื่ออุตสาหกรรม เกิน 10 ไร) บทกําหนดโทษ
(4) ไมแจงการไมใชที่ดินตาม ม. 99 (4) บุคคลธรรมดา มิไดมีโทษฝาฝน
ประกอบ ม. 89 (กรณีนิติบุคคลที่มีสิทธิใน ผิด ม. 110 ม.92 ไว
ที่ดินไดเสมือนคนตางดาวไดรับอนุญาตให
ไดมาซึ่งที่ดินและไมใชที่ดินตามที่ไดรับ
อนุญาตแลวไมแจงการไมใชที่ดินภายใน 30
วัน นับแตวันที่ไมใชที่ดินนั้น)
(5) ยกเลิกโทษเกี่ยวกับคาที่ดิน

ปรับไมเกิน 20,000 บาท


ผูใดไดมาซึ่งที่ดินในฐานะเปนตัวแทนของ หรือจําคุกไมเกิน 2 ป
มีความผิด
คนตางดาว หรือนิติบุคคลตามความใน หรือทั้งปรับทั้งจํา
ม.113 ม. 97 หรือ ม. 98 (นิติบุคคลที่มีสิทธิใน
ที่ดินไดเสมือนกับคนตางดาว) ตองระวางโทษ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


148 (ช. 75)
มาตรา 108, 108 ทวิ บทกําหนดโทษผูฝ าฝน มาตรา 9
มาตรา 9 ภายใตบังคับกฎหมายวาดวย
บทกําหนดโทษ
การเหมืองแรและการปาไม ที่ดินของรัฐ
ตาม ป. ที่ดิน
นั้นถ ามิ ไดมีสิทธิครอบครอง หรือ มิได
ปว. ฉบับที่ 96 มีผลใชบังคับ รับอนุ ญาตจากพนัก งานเจ า หน า ที่แล ว
ผูใดฝาฝน ม.9
ตั้งแตวันที่ 4 มีนาคม 2515 หามมิใหบุคคลใด
(1) เขาไปยึดถือ ครอบครอง รวมตลอด
แบงเปน 2 กรณี
ถึงการกนสราง หรือเผาปา
(2) ทําดวยประการใด ใหเปนการทําลาย
กรณีฝาฝนอยูกอ นวันที่ประกาศ กรณีฝาฝนตั้งแตวนั ที่ประกาศของ หรือทําใหเสื่อมสภาพที่ดิน ที่หิน ที่กรวด
หรือที่ทรายในบริเวณที่รัฐมนตรีประกาศ
ของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ใชบังคับ
หวงหามในราชกิจจานุเบกษา หรือ
ใชบังคับ (ม. 108) (ม. 108 ทวิ)
(3) ทําสิ่งหนึ่งสิ่งใดอันเปนอันตรายแก
ทรัพยากรในที่ดิน
กอนวันที่ 4 มีนาคม 2515 ตั้งแตวันที่ 4 มีนาคม 2515

ดู ช. 20
พนักงานเจาหนาทีห่ รือผูซึ่งไดรับ ผูฝาฝน ม.9
มอบหมายจากพนักงานเจาหนาที่ ถือวาผูบุกรุกที่ดินของรัฐมีความผิด
มีความผิด ทันที่ที่มีการบุกรุก
มีอํานาจแจงเปนหนังสือใหผูฝาฝน
ปฏิบัตติ ามระเบียบที่คณะกรรมการ
กระทําตอที่ดินของรัฐ กระทําตอที่ดินซึ่งเปน
จัดที่ดินแหงชาติกําหนด
(ทั่วไป) สาธารณสมบัติของแผนดิน

ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดิน
เชน ม. 1304 (1) ประเภท
แหงชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515)
ป.พ.พ.
ที่ประชาชนใชรวมกัน ที่ใชเพื่อประโยชนของ
กรณีปฏิบัตติ าม กรณีฝาฝนเพิกเฉยหรือ มีความผิด แผนดินโดยเฉพาะ
ไมปฏิบัติตามใหถูกตอง
ดําเนินการตาม ตามระเบียบฯ ฉบับ 3 ตองระวางโทษ ม. 1304 (2) เชน ม. 1304 (3)
ระเบียบ ฉบับที่ 3 ป.พ.พ. ป.พ.พ.
กําหนด จําคุกไมเกิน 1 ป หรือ
พนักงานเจาหนาที่
ปรับไมเกิน 5,000 บาท มีความผิด
คณะกรรมการจัด หรือทั้งจําทั้งปรับ
ที่ดินแหงชาติ มีคําสั่งเปนหนังสือ กระทําเปนเนื้อที่ กระทําเปนเนื้อที่
ไมเกิน 50 ไร เกินกวา 50 ไร
จะกําหนดให
ใหผูฝาฝนออกจาก ม. 108 ถาไมมี
ตองระวางโทษ ตองระวางโทษ
ผูฝาฝนตองเสีย ที่ดินและหรือรื้อถอน คําสั่งใหออกกอน
คาตอบแทนใน สิ่งปลูกสรางในที่ดิน แลวยังไมอาจถือวา
จําคุกไมเกิน 3 ป หรือ จําคุกไมเกิน 5 ป หรือ
การใชที่ดินนั้น นั้น ผูบุกรุกมีความผิด
ปรับไมเกิน 10,000 บาท ปรับไมเกิน 20,000
จึงยังดําเนินคดีกับ
หรือทั้งจําทั้งปรับ บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ผูบุกรุกทันที่ไมได

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


149

ใหแก ภายในระยะเวลา การพิพากษาเกี่ยวกับคดี ม. 108 ทวิ


ที่กําหนด

รัฐหรือราชการบริหาร
ดูรายละเอียดเวลาใน สั่งใหออกจากที่ดิน สั่งริบอุปกรณ
สวนทองถิ่นดวยก็ได
หมวด 2 ระเบียบฯ
ฉบับ 3 (ช. 85)
กรณีศาลมีคาํ พิพากษา กรณีที่มีการฟองตอศาลใน
ความผิด ตาม ม. 108 ทวิ
ปฏิบัติตามคําสัง่ ของ ไมปฏิบัติตามคําสั่งของ
วาผูใดกระทําผิด
พนักงานเจาหนาที่ พนักงานเจาหนาที่
ตาม ม. 108 ทวิ ไมวาจะมีผูถูกลงโทษ
ตามคําพิพากษาหรือไม
ไมมีโทษ ถือวาผูบุกรุกมี
ความผิด (เมื่อไม ศาลมีอํานาจสั่ง
ปฏิบัติตาม) ในคําพิพากษา ใหริบอุปกรณ
ใหถือวาผูบุกรุก
มีความผิด - บรรดาเครื่องมือเครื่องใช
- สัตวพาหนะ หรือ
ตองระวางโทษ ให
- เครื่องจักรกลใดๆ ซึ่งบุคคล
- ผูกระทําความผิด
ไดใชในการกระทําความผิด
- คนงาน
หรือไดใชเปนอุปกรณใหไดรับ
จําคุกไมเกิน 1 ป หรือ - ผูรับจาง
ผลในการกระทําความผิด
ปรับไมเกิน 5,000 บาท - ผูแทน และ
ดังกลาว
หรือทั้งจําทั้งปรับ - บริวารของผูกระทํา
ความผิด
ใหริบเสียทั้งสิ้น
ออกไปจากที่ดินนั้น

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


กฎกระทรวง
ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใช
ประมวลกฎหมายที่ดนิ พ.ศ. 2497
150 (ช. 76)
กฎกระทรวง ซึ่งออกตามความใน
พ.ร.บ.ใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497
ฉบับที่ ที่มา เกี่ยวกับ/การบังคับใชในปจจุบัน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 1 อาศัยอํานาจใน ม.6 และ ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องการออก


(พ.ศ. 2497) ม.15 พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน ฉบับที่ 43 (พ.ศ. 2537) เอกสารสิทธิ

กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 อาศัยอํานาจใน ม.8 และ ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องการออก


(พ.ศ. 2497) ม.15 พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน ฉบับที่ 43 (พ.ศ. 2537) เอกสารสิทธิ

กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 อาศัยอํานาจใน ม.15 ม.38 ป.ที่ดิน ถูกยกเลิก เปนเรื่องการแจงสิทธิ


(พ.ศ. 2497) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ปว. ฉบับที่ 49 ลว.13 ม.ค.2502 ในการถือครองที่ดิน
ม. 38 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวงออกตาม กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องวิธีการจําหนายที่ดิน


ดู ช. 33
ความใน พ.ร.บ. ใหใช (พ.ศ. 2497) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ของอธิบดีกรมที่ดินตาม ป.ที่ดิน
ป. ที่ดิน ม. 50 แหง ป. ที่ดิน

รัฐมนตรีวาการ กฎกระทรวง ฉบับที่ 5 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องการ


กระทรวง มหาดไทย (พ.ศ. 2497) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 43 (พ.ศ. 2537) ออกเอกสารสิทธิ
เปนผูใชอํานาจออก ม. 56 แหง ป. ที่ดิน
กฎกระทรวงตามนัย
ม. 15 พ.ร.บ. ใหใช กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องการรังวัดทําแผนที่
ดู ช. 48
ป. ที่ดิน (พ.ศ. 2497) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ เพื่อการออกโฉนดที่ดิน
ม. 65 แหง ป. ที่ดิน

ประกอบกับมาตรา กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องหลักเกณฑและ


ที่เกี่ยวของใน ป. ดู ช. 77
(พ.ศ. 2497) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ วิธีการจดทะเบียนฯ
ที่ดิน ซึ่งบัญญัติ ม. 77 ,.78 แหง ป. ที่ดิน
ใหเรื่องนั้นเปนไป
ตามกฎกระทรวง กฎกระทรวง ฉบับที่ 8 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องการขอไดมาซึ่ง
ดู ช. 62
(พ.ศ. 2497) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ที่ดินของคนตางดาว
ม. 86 ,.87 แหง ป. ที่ดิน

ปจจุบัน ม.101
กฎกระทรวง ฉบับที่ 9 อาศัยอํานาจใน ม.15
เปนเรื่องการขอคาที่ดิน (คาที่ดิน) ถูก
(พ.ศ. 2497) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ
ยกเลิกแลว
ม. 101 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 10 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่อง


(พ.ศ. 2497) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับ ที่ 32 (พ.ศ. 2522 (ตอมา คาธรรมเนียม
ม. 103 แหง ป. ที่ดิน ฉบับ 32 ถูกยกเลิกโดย ฉบับ 47) และคาใชจาย
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
151

อาศัยอํานาจใน ม.15
กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 เปนเรื่องการวิธีการจัดหา
พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ดู ช. 22
(พ.ศ. 2500) ผลประโยชนในที่ดินของรัฐ
ม. 10 ,.11 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่
อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องการขอสัมปทาน
12, 13 (พ.ศ. 2500, ดู ช. 23
พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ตาม ป. ที่ดิน
2503)
ม. 12 แหง ป. ที่ดิน

เปนเรื่องหนาที่ของผูมีสิทธิ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 14 อาศัยอํานาจใน ม.15
ในที่ดินที่อยูในเขตสํารวจ ดู ช. 28
(พ.ศ. 2504) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ
ที่ดิน
ม. 26 (1) แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่
อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องการออก
15-18 (พ.ศ. 2510,
พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน ฉบับที่ 34 และ 43 เอกสารสิทธิ
2514, 2514, 2515)
และ ม. 56 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวงออกตาม กฎกระทรวง ฉบับที่ 19 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องการแกไข


ความใน พ.ร.บ. ใหใช (พ.ศ. 2515) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 32 (ตอมา ฉบับ 32 คาธรรมเนียมในกฎ 10
ป. ที่ดิน ม. 103 แหง ป. ที่ดิน ถูกยกเลิกโดย ฉบับที่ 47)

กฎกระทรวง ฉบับที่ 20 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องการแกไขวิธีการ ดูกฎฉบับที่ 11


(พ.ศ. 2515) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ จัดหาผลประโยชนใน ช. 22
ม. 10 ,ม. 11 แหง ป. ที่ดิน กฎฉบับ 11

กฎกระทรวง ฉบับที่ 21 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องการแกไขวิธีการ ดูกฎฉบับที่ 12


(พ.ศ. 2515) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ขอสัมปทานในกฎ ฉบับ 12 ช. 23
ม. 12 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 22 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องแกไขกฎ


(พ.ศ. 2515) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 43 ฉบับ 5 เรื่องใบแทน
ม. 56 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 23 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องแกไข


(พ.ศ. 2515) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 43 กฎกระทรวงฉบับ 18
ม. 56,77,78 แหง ป. ที่ดิน เรื่องออกเอกสารสิทธิ

กฎกระทรวง ฉบับที่ 24 อาศัยอํานาจใน ม.15


เปนเรื่องการขอรับมรดก ดู ช. 56
(พ.ศ. 2516) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ
ม. 81 แหง ป. ที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


152

กฎกระทรวง ฉบับที่ 25 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องการขึ้นทะเบียน


ดู ช. 18
(พ.ศ. 2516) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ที่ดินของรัฐ
ม. 8 ทวิ แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 26, อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องการออกหนังสือ


ดู ช. 19
(พ.ศ. 2516) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ สําคัญสําหรับที่หลวง
ม. 8 ตรี แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 27 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องการแกไขคา


(พ.ศ. 2516) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 32 (ตอมา ฉบับ 32 ธรรมเนียมในกฎ 10
ม. 103 แหง ป. ที่ดิน ถูกยกเลิกโดย ฉบับที่ 47)

กฎกระทรวง ฉบับที่ 28 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องแกไขฉบับ 18


(พ.ศ. 2516) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 43 การออกเอกสารสิทธิ
ม. 56 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวงออกตาม กฎกระทรวง ฉบับที่ 29 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องการแกไขฉบับ


ความใน พ.ร.บ. ใหใช (พ.ศ. 2517) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 43 17 การออกใบแทน
ป. ที่ดิน ม. 56 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 30 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องเพิ่มเติมกฎ


(พ.ศ. 2518) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 43 ฉบับ 5 เรื่องการออก
ม. 56 แหง ป. ที่ดิน ใบแทน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 31 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องการติดตอแจง


ดู ช. 52
(พ.ศ. 2521) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ขางเคียงกรณีสอบเขต
ม. 69 ทวิ แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 32 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องคาธรรมเนียม


(พ.ศ. 2522) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 47 และคาใชจายตาม
ม. 103 แหง ป. ที่ดิน ป.ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องการแกไขฉบับ 7


ดู ช. 77
(พ.ศ. 2526) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ เกี่ยวกับการจดทะเบียนที่
ม. 77 แหง ป. ที่ดิน ตองมีการประกาศ

กฎกระทรวง ฉบับที่ 34 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องแบบพิมพโฉนด


(พ.ศ. 2529) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 43 ที่ดินและการออกใบแทน
ม. 56 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 35 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องแกไขฉบับ 7 เกี่ยวกับ


ดู ช. 77
(พ.ศ. 2531) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ การปดประกาศ
ม. 77 แหง ป. ที่ดิน
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
153
กฎกระทรวง ฉบับที่ 36 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องแกไข
(พ.ศ. 2532) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับ 38 (ตอมาฉบับ 38 ถูก คาธรรมเนียม
ม. 103 แหง ป. ที่ดิน ยกเลิกโดย ฉบับ 41 และฉบับ ในกฎ ฉบับ 32
41 ถูกยกเลิกโดยฉบับ 47)

กฎกระทรวง ฉบับที่ 37, อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องแกไข


(พ.ศ. 2532) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับ 47 คาธรรมเนียม
ม. 103 ว.1 แหง ป. ที่ดิน ในกฎ ฉบับ 32

กฎกระทรวง ฉบับที่ 38 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องแกไขคา


(พ.ศ. 2532) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับ 41 (ตอมากฎฉบับ 41 ธรรมเนียมในกฎ 32
ม. 103 ว. 1 แหง ป. ที่ดิน ถูกยกเลิกโดย ฉบับที่ 47)

กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องแกไขกฎ


(พ.ศ. 2533) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 43 ฉบับ 5 เรื่องใบแทน
ม. 56 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวงออกตาม
กฎกระทรวง ฉบับที่ อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องแกไขคา
ความใน พ.ร.บ. ใหใช
40, 41 (พ.ศ. 2534) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 47 ธรรมเนียมในกฎ
ป. ที่ดิน
ม. 103 ว.1 แหง ป. ที่ดิน ฉบับ 32

กฎกระทรวง ฉบับที่ 42 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องการแกไข


ดู ช. 77
(พ.ศ. 2536) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ กฎกระทรวง ฉบับที่ 7
ม.77 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 43 อาศัยอํานาจใน ม.6, ม.8 เปนเรื่องการออกเอกสารสิทธิ


ดู ช. 78
(พ.ศ. 2537) และม.9 พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน ในที่ดินตาม ป. ที่ดิน
และม. 56 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 44 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องแกไขคา


(พ.ศ. 2537) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับ 46 (ตอมากฎฉบับ 46 ธรรมเนียมในกฎ
ม. 103 ว.1 แหง ป. ที่ดิน ถูกยกเลิกโดย ฉบับที่ 47) ฉบับ 32

กฎกระทรวง ฉบับที่ 45 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องการแกไขกฎกระทรวง


ดู ช. 19
(พ.ศ. 2537) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 26 การออกหนังสือสําคัญ
ม. 8 ตรี ว.2 แหง ป. ที่ดิน สําหรับที่หลวง

กฎกระทรวง ฉบับที่ 46 อาศัยอํานาจใน ม.15 ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง เปนเรื่องการแกไขคา


(พ.ศ. 2540) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ ฉบับที่ 47 ธรรมเนียมในกฎ 32
ม. 103 ว.1 แหง ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 47,48 อาศัยอํานาจใน ม.15 เปนเรื่องการกําหนดคาธรรมเนียม


ดู ช. 80
(พ.ศ. 2541, 2542) พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน และ และคาใชจายตาม ป.ที่ดิน
ม. 103 ว.1 แหง ป. ที่ดิน
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
154

กฎกระทรวง กําหนด ถูกยกเลิก โดย


อาศัยอํานาจใน ม.15 พ.ร.บ. เปนเรื่องของการดําเนินการ
หลักเกณฑและวิธีการใน กฎกระทรวงฯ
ใหใช ป.ที่ดิน และ ม. 61 ตามมาตรา 61 ป. ที่ดิน
การตั้งคณะกรรมการ ฉบับใหม พ.ศ.
ป. ที่ดิน 2553
สอบสวนฯ พ.ศ. 2544

กฎกระทรวง ฉบับที่ 49 อาศัยอํานาจใน ม.15 พ.ร.บ. เปนเรื่องการแกไขกฎกระทรวง


ดู ช. 48
(พ.ศ. 2544) ใหใช ป.ที่ดิน และ ม. 65 ฉบับที่ 6 ขอ 1 (1)
ป. ที่ดิน
กฎกระทรวงกําหนด กําหนดหลักเกณฑการ
หลักเกณฑ วิธีการ และ ไดมาซึ่งที่ดินเพือ่ เปนที่อยู
อาศัยอํานาจใน ม.15 พ.ร.บ.
เงื่อนไขการไดมาซึ่งที่ดิน ดู ช. 66
ใหใช ป.ที่ดิน และ ม. 96 ทวิ อาศัยของคนตางดาวกรณี
เพื่อใชเปนที่อยูอ าศัยของ
ป. ที่ดิน นําเงินมาลงทุน
คนตางดาว พ.ศ. 2545

กฎกระทรวง ฉบับที่ 50 อาศัยอํานาจใน ม.15 พ.ร.บ. เปนเรื่องการแกไขกฎกระทรวง


ดู ช. 80
(พ.ศ. 2548) ใหใช ป.ที่ดิน และ ม. 103 ว.1 ฉบับที่ 47 ขอ 2 (7) (ค)
ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 51 อาศัยอํานาจใน ม.15 พ.ร.บ. เปนเรื่องการเพิ่มเติม/แกไข


ดู ช. 80
(พ.ศ. 2549) ใหใช ป.ที่ดิน และ ม. 103 ว.1 กฎกระทรวง ฉบับที่ 47 ขอ 2
ป. ที่ดิน (7)(ฎ/1) และขอ 2 (7)(ฎ)

กฎกระทรวง ฉบับที่ 52 อาศัยอํานาจใน ม.15 พ.ร.บ. เปนเรื่องการแกไขกฎกระทรวง ดู ช. 77


(พ.ศ. 2549) ใหใช ป.ที่ดิน และม. 77 ว.1 ฉบับที่ 7 ขอ 1
ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 53 อาศัยอํานาจใน ม.15 พ.ร.บ. เปนเรื่องการแกไขกฎกระทรวง ดู ช. 80


(พ.ศ. 2549) ใหใช ป.ที่ดิน และ ม. 103 ว.1 ฉบับที่ 47 ขอ 2 (10)
ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 54 อาศัยอํานาจใน ม.15 พ.ร.บ. เปนเรื่องการแกไขกฎกระทรวง ดู ช. 80


(พ.ศ. 2553) ใหใช ป.ที่ดิน และ ม. 103 ว.1 ฉบับที่ 47 ขอ 2 (7) (ค)
ป. ที่ดิน

กฎกระทรวง กําหนด
เปนเรื่องการยกเลิกกฎกระทรวง
หลักเกณฑและวิธีการ อาศัยอํานาจใน ม.15 พ.ร.บ. กําหนดหลักเกณฑและวิธีการ ดู ช. 45
ในการสอบสวนฯ ใหใช ป.ที่ดิน และ ม. 61 ว.9 ตั้งคณะกรรมการฯ พ.ศ. 2544
พ.ศ. 2553 ป. ที่ดิน แลวบัญญัติใหม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


155
กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2497)
(แกไขโดยฉบับที่ 33, 35, 42 และ 52)
เรื่องการจดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรม

อาศัยอํานาจตามความใน

มาตรา 15 แหง พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดิน พ.ศ. 2497 และ มาตรา 77 มาตรา 78 แหง ป.ที่ดิน

ภายในบังคับขอ 8 และขอ 9
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

1. เกี่ยวกับการจดทะเบียนสิทธิและ ขอ 8 ขอจดทะเบียนไดมาโดยการครอบครอง


ออกกฎกระทรวง ดังนี้ ปรปกษ (ม.1382 ป.พ.พ.พ.)
นิติกรรมทั่วไป (ขอ 1 – ขอ 7)
ขอ 9 ขอจดทะเบียนไดมาโดยประกาศอื่น
ผูขอจดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรม (ขอ 1) นอกจากนิตกิ รรม

ทด. 1
ยื่นคําขอพรอมหนังสือแสดงสิทธิ สําหรับที่ดิน
ในที่ดินหรือหลักฐานอยางอื่น แบบคําขอ มีโฉนดที่ดิน
(กรณีที่ดิน)
ทด. 1 ก.
ดู ม.71, 72 สําหรับที่ดินที่ยัง
ตอพนักงานเจาหนาที่
ช. 53 ไมมี โฉนดที่ดิน
และอสังหาริมทรัพย
กอนจดทะเบียนตามคําขอ (ขอ 2)
อยางอืน่

แบบ ท.ด.1, ท.ด.1 ก.


พนักงานเจาหนาทีส่ อบสวน การตรวจสภาพที่ดิน เปนไปตามที่อธิบดี
กรมที่ดินกําหนด

(1) สิทธิและความสามารถ ความสมบูรณ (2) ขอกําหนดสิทธิในที่ดิน (3) กําหนดทุนทรัพย ระเบียบกรมที่ดิน


ของบุคคล ของนิตกิ รรม และการคาที่ดินหรือ วาดวยแบบคําขอ
การหลีกเลี่ยงกฎหมาย จดทะเบียนสิทธิและ
สําหรับเสียคาธรรมเนียม
นิติกรรมสําหรับ
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ที่ดินและอสังหา
เชน การไดมาซึง่ ที่ดินเพือ่ กรณีท่พี นักงานเจาหนาที่ ริมทรัพยอยางอืน่
ประโยชนแกคนตางดาว เห็นเปนการสมควร พ.ศ. 2549
(ขอ 3)

พนักงานเจาหนาทีห่ รือเจาหนาที่อนื่ จะใหคูกรณีนาํ

ไปตรวจสภาพที่ดินหรือ
คูกรณีเปนผูอ อกคาใชจาย
อสังหาริมทรัพย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


156

การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม

ประเภทนิตกิ รรมทีด่ ินขอทะเบียน ประเภทที่ดินที่ขอจดขอทะเบียน


(ขอ 4) (ขอ 5)

รูปแบบ
เกี่ยวกับที่ดินที่มีโฉนด เกี่ยวกับที่ดินที่ยังไมมีโฉนด
ที่ดิน ใบไตสวน หรือ ที่ดิน ใบไตสวน หรือ น.ส.3 ก.
กรณีทําเปนหนังสือสัญญา กรณีทําเปนบันทึกขอตกลง น.ส.3 ก. หรือเกี่ยวกับ หรือเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย
อสังหาริมทรัพยอยาง อยางอืน่ ในที่ดินดังกลาว หรือ
อื่นในที่ดินขอทําพรอม เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยอยาง
จัดทําเปนคูฉบับ จัดทํา 1 ฉบับ
กับที่ดินขางตน อื่นนที่ดิน ที่มีโฉนดที่ดิน ใบไต
สวน หรือ น.ส.3 ก. แตไมขอจด
เพือ่ เก็บไว ณ เพื่อเก็บไว ณ
ทะเบียนพรอมกับทีด่ ินดังกลาว
1. สํานักงานที่ดิน 1 ฉบับ สํานักงานที่ดิน

เชน ที่ดินที่มี น.ส.3, น.ส.3 ข.


2. มอบใหผูขอ 1 ฉบับ หรือ หมายถึง ไมตอ งประกาศตามกฎ ไมตองประกาศ
บาน หรือสิ่งปลูกสรางอยาง
2 ฉบับ แลวแตกรณี ฉบับ 7 นี้ แตถา เปนการประกาศ
เดียว (ไมวาจะอยูบนที่ดินที่มี
ในเรือ่ งอื่น เชน ม.81 ขอรับมรดก
ดําเนินการจดทะเบียน เอกสารสิทธิประเภทใด)
ตองประกาศเรือ่ งมรดกมีกําหนด
เชน - ขาย มอบใหฝายซือ้ ไปตามระเบียบ
30 วัน ตามกฎหมายซึ่งเปนคนละ
1 ฉบับ
กรณีกับการประกาศตามกฎ 7 นี้
- จํานองมอบใหทั้ง
ประกาศการขอจดทะเบียน ขอยกเวน
ฝายผูจาํ นองและ
สิทธิและนิตกิ รรม
ผูรับจํานองฝายละ
1 ฉบับ ประกาศเพือ่ หาผูคัดคาน
เกี่ยวกับสิทธิครอบครองใน มีกําหนด 30 วัน
ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย
ดังกลาวที่ขอจดทะเบียน การปดประกาศ

ในทองที่ซึ่งรัฐมนตรียังมิไดยกเลิกอํานาจ ในทองที่ซึ่งรัฐมนตรียกเลิกอํานาจหนาที่
หนาที่ของหัวหนาเขต นายอําเภอ ฯลฯ ของหัวหนาเขต นายอําเภอ ฯลฯ แลว
(กฎกระทรวงฉบับ 35 ขอ 3) (ขอ 5 ว. 2)

ปดประกาศในที่เปดเผย ณ ปดประกาศในที่เปดเผย ณ

1. สํานักงานเขต หรือที่วาการอําเภอ หรือที่วาการกิง่ อําเภอทองที่ 1. สํานักงานที่ดินทองที่ซึ่งที่ดินหรืออสังหาริมทรัพยตงั้ อยู


2. ที่ทําการแขวงหรือที่ทําการกํานันทองที่ และ (สํานักงานที่ดินจังหวัดหรือสาขา)
3. บริเวณที่ดินหรืออสังหาริมทรัพยนนั้ และ 2. สํานักงานเขต หรือที่วาการอําเภอ หรือที่วาการกิง่ อําเภอทองที่
(1-3 แหงละ 1 ฉบับ) 3. ที่ทําการแขวงหรือที่ทําการกํานันทองที่ และ
4. ในเขตเทศบาล ใหปด ณ สํานักงานเทศบาลอีก 1 ฉบับ 4. บริเวณที่ดินหรืออสังหาริมทรัพยนนั้
(1-4 แหงละ 1 ฉบับ)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


157

ประกาศครบ 30 วันแลว ขอยกเวน


(ขอ 7)

ประเภทการจดทะเบียนฯ ที่ไมประกาศ 30 วัน


ไมมีผูคัดคานภายในกําหนด มีผูคัดคาน (ขอ 6)

จดทะเบียนตอไป พนักงานเจาหนาที่
1) การจดทะเบียนเลิกสิทธิหรือนิตกิ รรม เชน เลิกเชา
เลิกภาระจํายอม เปนตน
กฎกระทรวงใชคาํ วา
สอบสวนพยานหลักฐานและทํา 2) การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับ
“เปรียบเทียบ” แตแทจริง
การเปรียบเทียบ ทั้ง 2 ฝาย การจํานอง เชน การไถถอน การขึ้นเงิน การผอนตน การ
เปนเพียง “ไกลเกลีย่ ”
โอนสิทธิ การโอนหลุดเปนสิทธิ การโอนชําระหนี้จํานอง
การแกไขเปลี่ยนแปลงจํานองหรือหนี้อนั จํานองเปน
ตกลงกันได ตกลงกันไมได ประกัน เปนตน
3) การไถถอนจากการขายฝากการปลดเงื่อนไขการไถ
หรือการโอนสิทธิการไถจากการขายฝาก
ทําหนังสือสัญญาประนี งดดําเนินการ
4) การจดทะเบียนการไดมาจากการขายทอดตลาด
ประนอมยอมความ
โดยมีการบังคับคดีทางศาล
แจงใหทั้ง 2 ฝาย ไปจัดการ 5) การจดทะเบียนตาม 2) 3) หรือ 4) แลวจดทะเบียน
แลวดําเนินการตาม ฟองรองวากลาวกัน สิทธิและนิติกรรมประเภทอื่นตอไปในวันเดียวกัน
สัญญานั้น 6) เมื่อมีการประกาศการขอจดทะเบียนสิทธิและนิติ
กรรมประเภทหนึ่งประเภทใดไวครบกําหนดแลว ตอมา
เมื่อมีคําพิพากษาถึงที่สุด
ตองไมขัดกับกฎหมาย มีการตกลงเปลี่ยนประเภทการจดทะเบียนหรือเปลี่ยน
โดยเฉพาะตามประมวล คูกรณีฝา ยผูรับสัญญา
กฎหมายแพงและพาณิชย ดําเนินการจดทะเบียน 7) การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมประเภทหนึ่ง
ตามผลแหงคําพิพากษา ประเภทใดซึ่งไดกระทําติดตอในวันเดียวกัน เมื่อการจด
ทะเบียนลําดับแรกนั้นมีการประกาศตามขอ 5 แลว
ทางปฏิบัติ ควรตอง 8) การจดทะเบียนการโอนตามคําสั่งศาล
บันทึกแจงระยะเวลาที่ 9) การจดทะเบียนการโอนตามคําสั่งพนักงาน
จะฟองรองกันไวดว ย เจาหนาที่ผูมีอํานาจตามกฎหมายอื่น
เพื่อที่จะไดยกเลิกเรื่อง
หากไมไปฟองศาล
การจดทะเบียนประเภทเหลานี้
ภายในกําหนดที่ตกลง
สามารถดําเนินการจดทะเบียนไดเลย
กันไว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


158

2. การจดทะเบียนประเภทไดมา 3. การจดทะเบียนไดมาประเภท
โดยการครอบครอง (ขอ 8) การขอจดทะเบียน อื่นนอกจากนิตกิ รรม (ขอ 9)

การจดทะเบียนกรรมสิทธิ์ การจดทะเบียนสิทธิใน
ตาม ม.1382 ป.พ.พ. เฉพาะโฉนดที่ดิน ที่ดินโดยประการอืน่
(ครอบครองปรปกษ) เทานั้น นอกจากนิติกรรม (ขอ 9)
(ขอ 8)
พรอมดวยคํา
โฉนดที่ดินยื่นคําขอ พรอมดวย
พิพากษาหรือ
ผูไดมาซึ่งที่ดิน แบบคําขอ แบบ ท.ด.1 ผูไดมาซึ่งที่ดิน เอกสารแสดง
คําสั่งศาลถึงที่สุด
ยื่นคําขอ ท.ด.1 ยื่นคําขอ สิทธิการไดมา
แสดงวาผูขอมี
และโฉนดที่ดิน
กรรมสิทธิ์ในที่ดิน ที่ดินไมมีโฉนดที่ดินยื่น
ตอพนักงาน คําขอแบบ ท.ด.1 ก.
เจาหนาที่

ไดกรรมสิทธิ์ ไดกรรมสิทธิ์ ไดกรรมสิทธิ์มา กรณีไดมา กรณีไดมาโดย กรณีโฉนดที่ดินชื่อไม


เต็มโฉนด เฉพาะสวน ไมตรงตามโฉนด โดยศาลสั่ง ประการอื่น ตรงกับกรณีศาลสั่งมา

พนักงาน ทั้งกรณีโฉนดมีชื่อ เจาพนักงานที่ดิน ใหจดทะเบียน ใหปฏิบัติตาม กรณีมีการจด


เจาหนาที่ บุคคลคนเดียวหรือ ประเภท “โอน วิธีการไดมาโดย ทะเบียนผูกพันอยู
หลายคน ออกโฉนดใหใหม ตามคําสั่งศาล” ศาลสั่งโดยอนุโลม
เชน จํานอง เชา
จดทะเบียน ภารจํายอม
ประเภท พนักงาน ไดโฉนด ไมไดโฉนด โดยระบุคําสั่ง
“ไดมาโดยการ เจาหนาที่ เดิมมา เดิมมา ศาลไวดว ย
ครอบครอง” ใหพนักงานเจาหนาที่
ใหหมายเหตุ ใหระบุไวใน
ดวยหมึกสี ประกาศแจก
แจงใหศาลทราบ
สอบสวนวาตางฝายตาง แดงหนา โฉนดที่ดิน
ยอมใหผูไดมามีชื่อรวม โฉนดเดิม
ในโฉนดหรือไม เมื่อศาลแจงมาอยางไรให
แสดงวาได แสดงวา ปฏิบัติตามควรแกกรณี
ออกโฉนด ไมได
ตกลงกันได ตกลงกันไมได ใหมแลว โฉนดมา

ไดมาเฉพาะ ไดมาเฉพาะสวน ใหแบงแยกสวน


สวนหนึ่ง ของคนใดคนหนึ่ง ของผูไ ดมาออก
สวนใด หรือหลายคน แต
ไมเต็มตามโฉนด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


159

จดทะเบียนประเภท จดทะเบียนประเภท โดยใหผูไดมาและผูมีชื่อใน ถาโฉนดที่ดินมีการ


“ไดมาโดยการครอบครอง” “ไดมาโดยการ โฉนดที่ยังมีกรรมสิทธิ์อยูไป จดทะเบียน ผูกพัน เชน
ครอบครองเฉพาะสวน” ดูแลระวังเขตที่ดินของตน จํานอง เชา ภารจํายอม

โดยเติมชื่อผูไดมาลงใน
โฉนด จดทะเบียนประเภท ใหพนักงานเจาหนาที่
“แบงไดมาโดยการครอบครอง”

แจงศาลทราบ

วิธีการออก ถาไมไดโฉนดที่ดินมาใหถือวาโฉนด เมื่อศาลแจงมาอยางไร


ใบแทนเปน สูญหายใหเจาพนักงานที่ดินออกใบแทน ใหปฏิบัติตามควรแกกรณี
ไปตาม โฉนด แลวจดทะเบียนตามกรณี โดย
กฎกระทรวง โฉนดที่ดินเดิมเปนอันใชไมไดตอไป
ฉบับที่ 43

ทางปฏิบัติ ดู
ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการจด
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดิน
ซึ่งไดมาโดยการครอบครอง พ.ศ. 2551
ลว. 1 สิงหาคม 2551

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


160 (ช.78)
กฎกระทรวง ฉบับที่ 43 (พ.ศ. 2537)
การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน

อาศัยอํานาจตาม ม.6 ม.8 และ ม.15


รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
พ.ร.บ.ใหใช ป.ที่ดินฯ และม.56 ป.ที่ดิน

ประกาศราชกิจจานุเบกษา เลม 111 ออกตามความใน พ.ร.บ.


ออกกฎกระทรวง ฉบับที่ 43
ตอนที่ 12 ก. ลงวันที่ 1 เมษายน 2537 ใหใช ป.ที่ดิน พ.ศ. 2497

มีผลใชบังคับ 1 เม.ย.2537 ใหยกเลิก เหตุผลในการออกกฎฉบับ 43

(1) กฎกระทรวง (พ.ศ. 2497) (1) เนื่องจากไดมีประกาศกระทรวง


(2) กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2497) มหาดไทยตามมาตรา 19 พ.ร.บ.แกไข
(3) กฎกระทรวง ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2497) เพิ่มเติม ป.ที่ดิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2528
(4) กฎกระทรวง ฉบับที่ 16 (พ.ศ. 2514) ยกเลิกอํานาจหนาที่นายอําเภอเกี่ยวกับการ
(5) กฎกระทรวง ฉบับที่ 18 (พ.ศ. 2515) ปฏิบัติการตาม ป.ที่ดินในบางทองที่แลว
(6) กฎกระทรวง ฉบับที่ 22 (พ.ศ. 2515) - สมควรปรับปรุงแบบหลักเกณฑ และ
(7) กฎกระทรวง ฉบับที่ 23 (พ.ศ. 2515) วิธีการ ออกหนังสือรับรองการทําประโยชน
(8) กฎกระทรวง ฉบับที่ 28 (พ.ศ. 2516) รวมทั้งใบแทนของหนังสือแสดงสิทธิใน
(9) กฎกระทรวง ฉบับที่ 30 (พ.ศ. 2518) ที่ดินดังกลาว
(10) กฎกระทรวง ฉบับที่ 34 (พ.ศ. 2529) เพื่อใหเจาพนักงานที่ดินสามารถ
(11) กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2533) ปฏิบัติการตาม ป.ที่ดินได

(2) เนื่องจากหลักเกณฑการออกหนังสือรับรองการทํา
ประโยชนและโฉนดที่ดินไดใชบังคับมาเปนเวลานานแลว
- สมควรปรับปรุงใหเหมาะสมกับสภาวการณใน
ปจจุบัน
โดยเฉพาะการขอออกหนังสือรับรองการทําประโยชน
ในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ อุทยานแหงชาติ เขตรักษา
พันธุสัตวปา เขตหามลาสัตวปา และเขตที่ไดจําแนกให
เปนเขตปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ยังไมมีมาตรการ
ที่รัดกุมเหมาะสม จึงสมควรกําหนดใหมีการตรวจสอบ
รับรองจากกรมปาไม และกรมพัฒนาทีด่ ินกอนออก
หนังสือรับรองการทําประโยชนดวย
- สมควรกําหนดหลักเกณฑการออกโฉนดสําหรับ
ที่เกาะ เพื่อปองกันการบุกรุกของราษฎรกับเพื่ออนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


161

หมวดที่ 1
ดู ช. 32 ใบจอง
(ขอ 2,3)

ใบจองเปนเอกสารที่พนักงาน
แบบใบจอง
เจาหนาที่ออกใหเนื่องจากการ
(ขอ 2)
จัดที่ดินตาม ป.ที่ดิน ม.30, 33

มี 2 แบบ

แบบ น.ส. 2 แบบ น.ส. 2 ก.

ใชสําหรับทองที่ที่ซึ่งรัฐมนตรียังไมไดยกเลิก ใชสําหรับทองที่อื่น (ทองที่ที่ยกเลิก


อํานาจหนาที่ในการปฏิบัติตาม ป.ที่ดนิ ของ อํานาจหนาที่ ตาม ป.ที่ดิน ของ
หัวหนาเขต นายอําเภอ หรือปลัดอําเภอ ผูเปน นายอําเภอ ฯลฯ แลว)
หัวหนาประจํากิ่งอําเภอ ตาม ม.19 พ.ร.บ.
แกไขเพิ่มเติม ป.ทีด่ ิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2528
พนักงานเจาหนาทีต่ าม ป.ที่ดิน
(เจาพนักงานที่ดินจังหวัดหรือสาขา
นายอําเภอหรือปลัดหัวหนากิ่งอําเภอ เปนผูออกใบจอง (ลงนามใบจอง)
เปนผูออกใบจอง (ลงนามใบจอง)

ใบแทน ใบจอง
(ขอ 3)

ใชแบบ น.ส.2 หรือ น.ส. 2 ก.


แลวแตกรณี

วิธีการออกใบแทนใบจอง

พนักงานเจาหนาที่

ดําเนินการตามวิธีการออกใบแทน
ดูหมวด 3 ขอ 17
โฉนดที่ดิน โดยอนุโลม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


162

หมวด 2 ใบแทนหนังสือรับรองการทําประโยชน
หนังสือรับรองการทําประโยชน (ขอ 12)

(ขอ 4 - ขอ 12)


ใชแบบ น.ส.3, น.ส.3 ก. , น.ส. 3 ข.
แลวแตกรณี
แบบหนังสือรับรองการทําประโยชน
(ขอ 4)
การออกใบแทนดําเนินการ
ของหมวด 3
ตามวิธีการออกใบแทน
มีแบบ 3 แบบ ขอ 17
โฉนดที่ดินโดยอนุโลม

น.ส.3 น.ส.3 ข. น.ส.3 ก.

ใชออกในทองที่ที่ไมมีระวางรูปถายทางอากาศ ใชออกในทองที่ที่มีระวางรูปถายทางอากาศ

และเปนทองที่ซึ่งรัฐมนตรียัง และเปนทองที่ซึ่งรัฐมนตรีได ไดทั้งกรณีเปนทองที่ที่รัฐมนตรีไดประกาศ


มิไดประกาศยกเลิกอํานาจ ประกาศยกเลิกอํานาจหนาที่ ยกเลิกอํานาจหนาที่ตาม ป.ที่ดิน ของ
หนาที่ในการปฏิบัติการตาม ในการปฏิบัติการตาม ป.ที่ดิน นายอําเภอหรือปลัดกิ่ง อ. แลว หรือไมก็ได
ป.ที่ดิน ของนายอําเภอหรือ ของนายอําเภอหรือปลัด
ปลัดหัวหนากิ่งอําเภอ หัวหนากิ่งอําเภอแลว
ผูออกคือนายอําเภอหรือ
เจาพนักงานที่ดิน
ผูออกคือ ผูออกคือ
จังหวัด/สาขา แลวแตกรณี
นายอําเภอ การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม เจาพนักงานที่ดิน
จังหวัด/สาขา
ยกเวนเปนนิตกิ รรม การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
ตองมีการประกาศ ประกาศหาผูคัดคานสิทธิ
ประเภทที่ไมตอง 30 วันกอน ในที่ดินที่ขอทํานิติกรรม
ประกาศ ไมตองประกาศเหมือน
น.ส. 3 และ น.ส. 3 ข.
ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ 7
ช. 77

ลักษณะที่ดินที่จะออกหนังสือรับรองการทําประโยชน
(ขอ 5)

1. ตองเปนที่ดินที่ผมู ีสิทธิในที่ดินได และ 2. ตองเปนที่ดินที่สามารถออกโฉนด


ครอบครองและทําประโยชนืแลว ที่ดินไดตามที่กําหนดไวในขอ 14

หลักเกณฑของที่ดิน ของหมวด 3
ตามขอ 14 โฉนดที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


163

ที่ดินที่ออกโฉนดที่ดินหรือ ที่ดินที่ออกโฉนดที่ดินไมได
หนังสือรับรองการทําประโยชนได (รวมทั้งหนังสือรับรองการทําประโยชนดวย)

1. ตองเปนที่ดินที่ผมู ีสิทธิในที่ดินไดครอบครองและ
ทําประโยชนแลว และ
2. เปนที่ดินที่สามารถออกโฉนดที่ดินไดตามกฎหมาย

ไมใชที่ดินที่หามออกโฉนดที่ดิน

1. ที่ดินที่ราษฎรใช 2. ที่เขา ที่ภูเขาและพื้นที่ 3. ที่เกาะ 4. ที่สงวนหวงหาม 5. ที่ดิน ค.ร.ม.สงวนไวเพือ่


ประโยชนรวมกัน ที่รัฐมนตรีหวงหามตาม รักษาทรัพยากร ธรรมชาติ
มาตรา 9(2) ป.ที่ดนิ หรือเพื่อประโยชนสาธารณ
ไมรวมถึงที่ดินที่ อยางอืน่ (เชน ปาไมถาวร)
เชน ทางน้ํา ทาง
หลวง ทะเลสาบ แตไมรวมถึงที่ดินซึง่
ที่ชายตลิ่ง ผูครอบครองมีสิทธิ
1. มี ส.ค. 1 1. ม.10 พระราชบัญญัติใหใชฯ
ครอบครองโดยชอบดวย
2. ใบจอง (ที่ซึ่งหวงหามไวแลวตาม
กฎหมายตาม ป.ที่ดนิ
3. ใบเหยียบย่ํา (หลัง ป.ที่ดิน) พระราชบัญญัติวาดวยการหวงหาม
4. หนังสือรับรองการทําประโยชน ที่ดินรกรางวางเปลาไวเปน
มาตรา 9(2) ที่ดินของรัฐ 5. โฉนดตราจอง สาธารณประโยชนและกฎหมายอื่น
ที่หามทําลายหรือทําให 6. ตรงจองที่ตราวา กอน ป.ที่ดิน)
เสื่อมสภาพที่ดิน ที่หิน “ไดทําประโยชนแลว” 2. ม.20(3) ป.ที่ดิน (สงวนและ
ที่กรวด หรือที่ทราย 7. มีสิทธิตามการจัดที่ดินเพื่อการ พัฒนาที่ดินเพื่อจัดใหแกประชาชน)
ครองชีพ 3. ม.20 (4) ป.ที่ดิน (ที่ดินของรัฐ
ยกเวน ที่ดินที่ผูครอบครอง 8. ที่ดินที่คณะกรรมการจัดที่ดิน สงวนไวเพื่อประชาชนใชประโยชน
มีสิทธิโดยชอบดวย แหงชาติอนุมัติจัดใหแกประชาชน รวมกัน)
กฎหมายตาม ป.ทีด่ ิน 9. ที่ดินที่รัฐจัดหาผลประโยชน 4. กฎหมายอื่น
ม.10 และ 11 โดยคณะกรรมการ
ประกาศ มท. ลว.21 พ.ค. 2523 จัดที่ดินแหงชาติอนุมัติ

(1) บริเวณที่เขาหรือภูเขา และปริมณฑล


รอบ ที่เขาหรือภูเขา 40 เมตร
(2) บริเวณแมน้ํา และลําคลอง
(3) ที่ดินของรัฐ นอกจาก (1) และ (2) ซึ่ง
มิได มีบุคคลใดมีสิทธิครอบครอง เฉพาะ
บริเวณที่เปนที่หิน ที่กรวด หรือที่ทราย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


164
ตองเปนไปตามระเบียบของ
การออกหนังสือรับรองการทําประโยชน คณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ
(ขอ 6 – ขอ 11) ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2532) วาดวย
ไมเดินในเขต เงื่อนไขการออกโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรับรองการทํา
ปาไมถาวร ประเภทเดินสํารวจ ประเภทออกเฉพาะราย ประโยชนดวย (ช. 89.)
(ม.58)
มาตรา 58 ป.ที่ดิน มาตรา 59 ป.ที่ดิน มาตรา 59 ทวิ ป.ที่ดิน
(เดินสํารวจ) (ขอ 6) (เฉพาะรายมีหลักฐาน) ขอ 7) (เฉพาะรายไมมีหลักฐาน) (ขอ 7)

ดู ช. 37 ดู ช. 39 ดู ช. 40
ประกอบความเขาใจ ประกอบความเขาใจ
ในการนําพนักงานเจาหนาที่ทําการสํารวจพิสูจน
สอบสวนการทําประโยชน (นําเดินสํารวจ)
ผูขอยื่นคําขอ (ขอ 7 (2))
(ขอ 7 (1)) พรอมหลักฐานที่มอี ยู (ถามี)
ใหผูมีสิทธิในที่ดินหรือตัวแทน
1. ใบจอง 2. ใบเหยี่ยบย่ํา
ตามแบบ น.ส.1 ข. ตอ 3. ตราจอง 4. ส.ค.1
ปกหลักตามมุม และ ใหถอยคําตอ 5. หลักฐานวาเปนผูมีสิทธิ
เขตที่ดินของตน พนักงานเจาหนาที่ พนักงานเจาหนาที่ ตามกฎหมายวาดวยการจัด
หรือผูที่พนักงาน (ขอ 8) ที่ดินเพื่อการครองชีพ หรือ
เจาหนาที่มอบหมาย 6. หลักฐานอื่นที่แสดงวาได
ไปพิสูจนสอบสวนการ มีสิทธิในที่ดินโดยชอบดวย
ตามแบบ น.ส.1 ก. ทําประโยชนยังที่ดิน กฎหมาย
(กรณี ม. 59)
ตามแบบ น.ส.1 ค.
นําเดินสํารวจ จะมอบใหเจาหนาที่
ในการนําพนักงานเจาหนาที่พิสูจน ไปทําการแทนก็ได
ลักษณะที่ดินที่จะออกหนังสือ สอบสวนการทําประโยชน
รับรองการทําประโยชนได
ใหผูมีสิทธิในที่ดินหรือตัวแทน
1. เปนที่ดินที่ผูมีสิทธิในที่ดิน
ไดครอบครองและทําประโยชน
ปกหลักตามมุม และ ใหถอยคําตอพนักงานเจาหนาที่
2. เปนที่ดิน ที่สามารถออก
เขตที่ดินของตน หรือผูทพี่ นักงานเจาหนาที่มอบหมาย
โฉนดที่ดินตามขอ 14 ได
ตามแบบ น.ส.1 ค.
หากที่ดินและการครอบครองการ
ทําประโยชนอยูในหลักเกณฑ
การคํานวนจํานวนเนื้อที่ การพิสูจนสอบสวนการทําประโยชน
กอนออกหนังสือรับรอง ตามแบบ น.ส. 3 ก.
การทําประโยชนให ลักษณะการทําประโยชน
ใหคํานวนโดยวิธีคณิตศาสตร (ขอ 10)
พนักงานเจาหนาที่ หรือโดยมาตราสวน
หากปรากฏวา
ประกาศออกหนังสือรับรองการทําประโยชน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


165

มีกําหนด 30 วัน ใหถือวาจํานวนเนื้อที่ ไดมีการครอบครองและทําประโยชน


ที่คํานวณได ตามควรแก
ปดประกาศไว 1. สภาพที่ดินในทองถิ่น และ
ในที่เปดเผย ณ เปนจํานวนเนื้อที่ 2. สภาพของกิจการที่ไดทําประโยชน
โดยประมาณ
1. สํานักงานที่ดินทองที่ (หมายถึง พนักงานเจาหนาที่
สํานักงานที่ดินตจังหวัดหรือสาขา ขอสังเกต เหตุที่ไมไดระบุถึงแบบ น.ส. 3 และ
เทานั้นไมรวมถึงสํานักงานที่ดิน น.ส. 3 ข. ดวย อาจเนื่องจาก น.ส. 3 และ น.ส.3 ข. (1) ประกาศการออกหนังสือรับรอง
อําเภอเพราะไมใชสํานักงานที่ดิน ในแบบพิมพ (ดานหนา) ระบุจํานวนเนื้อที่เปน การทําประโยชนใหทราบ
ตาม ม.13 ป.ที่ดิน) ประมาณอยูแลว สวน น.ส. 3 ก. ระบุจํานวน
2. สํานักงานเขตหรือที่วาการอําเภอ เนื้อที่ (โดยไมมีคําวาประมาณ)
มีกําหนด 30 วัน
หรือกิ่งอําเภอทองที่
3. ที่ทําการแขวงหรือที่ทําการกํานัน ปดประกาศในที่เปดเผย ณ
ที่ตั้งของที่ดิน
ทองที่ และ 1. สํานักงานที่ดินทองที่
4. ในบริเวณที่ดินนั้นแหงละ 1 ฉบับ 2. สํานักงานเขตหรือที่วาการอําเภอ
หรือที่วาการกิ่งอําเภอ 1. เขตปาสงวนแหงชาติ
5. ในเขตเทศบาลใหปด ณ
3. ที่ทําการแขวงหรือที่ทําการกํานัน และ 2. เขตอุทยานแหงชาติ
สํานักงานเทศบาลอีก 1 ฉบับ
4. ในบริเวณที่ดินนั้น แหงละ 1 ฉบับ 3. เขตรักษาพันธุสตั วปา
5. ในเขตเทศบาลใหปด ณ สํานักงาน 4. เขตหามลาสัตวปา
ครบกําหนด
เทศบาล อีก 1 ฉบับ 5. เขตปาไมถาวรตามมติ ค.ร.ม.

ไมมีผูคัดคาน มีผูคัดคาน
(2) ที่ดินไมอยูในเขตดังกลาว (3) ที่ดินตั้งอยูในเขตดังกลาว
ออกหนังสือรับรอง ดําเนินการสอบสวน
การทําประโยชนให เปรียบเทียบ ตาม
ม.60 และเปนที่ดินที่สามารถ และกรมปาไมหรือกรม ขีดแลวแตที่ดินที่ขอ
ออกหนังสือรับรองการ พัฒนาที่ดินยังไมไดขีด หรือ ออกมีอาณาเขตติดตอ
จํานวนเนื้อที่และ
ดู ช. 91 ทําประโยชนไดตาม ขอ 5 เขตดังกลาวลงในระวาง คาบเกี่ยวหรืออยูในเขต
การหามโอน
รูปถายทางอากาศ ดังกลาว
ดู ม.58 + 58 ทวิ ภายในกําหนดประกาศ
ช. 37 30 วัน (ตาม (1))
ใหผูวาราชการจังหวัด ถาขีดแลวที่ดินไม
อยูติดตอคาบเกี่ยว
ไมมีผูคัดคานโตแยง มีผูคัดคานโตแยง แตงตั้งคณะกรรมการ หรือไมอยูในเขต

พนักงานเจาหนาที่ รวมกันออกไปตรวจ ไมตองตั้ง


พนักงานเจาหนาที่
หรือเจาพนักงานที่ดิน พิสูจนที่ดิน คณะกรรมการ

ออกหนังสือรับรอง สอบสวนเปรียบเทียบ ประกอบดวย


การทําประโยชนให ตาม ม. 60

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


166

จํานวนเนื้อที่และ 1. ปาไมอําเภอ หรือผูที่ปาไมจังหวัด


การหามโอน (ถามี) ตกลงกันได ตกลงกันไมได แตงตั้งสําหรับทองที่ที่ไมมีปาไมอําเภอ
2. เจาหนาที่บริหารงานที่ดินอําเภอ
ดําเนินการตามที่ตกลง เจาพนักงานที่ดินจังหวัด 3. ปลัดอําเภอ (เจาพนักงานปกครอง)
ดู ม.59 และ 59 ทวิ
หรือสาขา 4. กรรมการอื่นตามที่เห็นสมควร
ช. 39 ช. 40
5. ผูแทนกรมพัฒนาที่ดิน (กรณีอยูใน
เขตปาไมถาวร)
สั่งการตามที่เห็นสมควร

แจงเปนหนังสือให ทําการตรวจพิสูจนเสร็จแลว
คูกรณีเพื่อทราบ

เสนอความเห็นตอ
ผูวาราชการจังหวัด
พอใจทั้ง 2 ฝาย ฝายที่ไมพอใจ 60 วันนับแต
วันทราบคําสั่ง
วาสมควรออกหนังสือ
ไมฟอง ไมฟองภายใน 60 วัน ฟองภายใน 60 วัน รับรองการทําประโยชน
ใหไดหรือไม เพียงใด

ใหรอเรื่องไว
ดําเนินการตามที่ ผูวาฯ พิจารณา
เจาพนักงานที่ดิน (ขอ 11)
เมื่อศาลไดพิพากษาหรือมี
จังหวัดหรือสาขาสั่ง
คําสั่งถึงที่สุดเปนประการใด
ผลการตรวจพิสูจนที่ดิน
ใหดําเนินการไป ของคณะกรรมการ
ตามกรณี

ไมอยูในเขตปาดังกลาว อยูในเขตปาดังกลาว

และผูขอไดครอบครองหลัง แตผูขอไดครอบครองและ
จากที่ทางราชการกําหนดให ทําประโยชนในที่ดิน
ที่ดินเปนเขตดังกลาวแลว
โดยชอบดวยกฎหมายมา
ไมอยูในหลักเกณฑที่ กอนวันที่ทางราชการกําหนด
จะออกเอกสารสิทธิให ใหที่ดินเปนเขตดังกลาว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


167

ภายในกําหนดประกาศ 30 วัน ขางตน

ไมมีผูคัดคาน มีผูคัดคานโตแยง

ผูวาราชการจังหวัด เจาพนักงานที่ดิน

สั่งการใหพนักงานเจาหนาที่ ดําเนินการสอบสวน
เปรียบเทียบตาม ม.60

ดําเนินการออกหนังสือ
เหมือนกรณีอยู ไมอยูในเขต
รับรองการทําประโยชนให เหมือนกับกรณีอยู ไมอยูในเขต

แบบ น.ส.3 แลวแตกรณีขอออกใบแทนมีการ


ยกเลิกอํานาจนายอําเภอในทองที่นั้น
แบบ
แบบ น.ส.3 ข. แลวหรือไม

แลวแตกรณีออกใบแทนหนังสือ
ใบแทนหนังสือรับรองการ แบบ น.ส.3 ก.
รับรองการทําประโยชนประเภทใด
ทําประโยชน

วิธีการออกใบแทนหนังสือ ดําเนินการตามวิธีการออก ดู ขอ 17


รับรองการทําประโยชน โฉนดที่ดินโดยอนุโลม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


168

หมวด 2
โฉนดที่ดิน กรณีโฉนดที่ดินที่ออกเปนโฉนด
(ขอ 13 – 19) ตราจองหรือตราจองที่ตราวา
“ไดทําประโยชนแลว”
แบบโฉนดที่ดิน
(ขอ 13) ใชแบบ น.ส.4 จ. และใหมีคําวา
“โฉนดตราจอง” หรือ “ตราจอง
ใชแบบ น.ส. 4 จ. ที่ตราวา “ไดทําประโยชนแลว”
ไวใตตราครุฑ
ลักษณะที่ดินที่จะออกโฉนดที่ดิน
(ขอ 14)

1. ตองเปนที่ดินที่ผมู ีสิทธิในที่ดินได 2. เปนที่ดินที่สามารถออกโฉนด


และ
ครอบครองและทําประโยชนแลว ที่ดินไดตามกฎหมาย

คือไมใชที่ดินที่หามมิใหออกโฉนดที่ดิน รวมทั้งหามออกหนังสือรับรอง
ไดแก การทําประโยชนดว ย

1. ที่ดินที่ราษฎรใช 2. ที่เขา ที่ภูเขาและพื้นที่ 3. ที่เกาะ 4. ที่สงวนหวงหาม 5. ที่ดิน ค.ร.ม.สงวนไวเพื่อ


ประโยชนรวมกัน ที่รัฐมนตรีหวงหามตาม รักษาทรัพยากร ธรรมชาติ
มาตรา 9(2) ป.ที่ดนิ หรือเพื่อประโยชนสาธารณ
ไมรวมถึงที่ดินที่ อยางอื่น (เชน ปาไมถาวร)
เชน ทางน้ํา ทางหลวง
ทะเลสาบ ที่ชายตลิง่ แตไมรวมถึงที่ดินซึ่ง
ผูครอบครองมีสิทธิ
1. มี ส.ค. 1 1. ม.10 พระราชบัญญัติใหใชฯ (ที่ซึ่ง
ประกาศ มท. ครอบครองโดยชอบ
2. ใบจอง หวงหามไวแลวตามพระราชบัญญัติ
ลว.21 พ.ค. 2523 ดวยกฎหมายตาม ป.ที่ดิน
3. ใบเหยียบย่ํา (หลัง ป.ที่ดิน) วาดวยการหวงหามที่ดินรกราง
4. หนังสือรับรองการทําประโยชน วางเปลาไวเปนสาธารณประโยชน
(1) บริเวณที่เขาหรือภูเขา มาตรา 9(2) ที ด
่ น
ิ ของรั ฐ 5. โฉนดตราจอง และกฎหมายอื่นกอน ป.ที่ดิน)
และปริมณฑลรอบ ที่เขา ที ห
่ า
 มทํ า ลายหรื อ ทํ าให 6. ตรงจองที่ตราวา 2. ม.20(3) ป.ที่ดิน (สงวนและพัฒนา
หรือภูเขา 40 เมตร เสื่อมสภาพที่ดิน ที่หิน “ไดทําประโยชนแลว” ที่ดินเพื่อจัดใหแกประชาชน)
(2) บริเวณแมน้ํา และลําคลอง ที่กรวด หรือที่ทราย 7. มีสิทธิตามการจัดที่ดินเพื่อการ 3. ม.20 (4) ป.ที่ดิน (ที่ดินของรัฐ
(3) ที่ดินของรัฐ นอกจาก (1) ครองชีพ สงวนไวเพื่อประชาชนใชประโยชน
และ (2) ซึ่งมิได มีบุคคลใด ยกเวน ที่ดินที่ผูครอบครอง 8. ที่ดินที่คณะกรรมการจัดที่ดิน รวมกัน)
มีสิทธิครอบครอง เฉพาะ มีสิทธิโดยชอบดวย แหงชาติอนุมัติจัดใหแกประชาชน 4. กฎหมายอื่น
บริเวณที่เปนที่หิน ที่กรวด กฎหมายตาม ป.ทีด่ ิน 9. ที่ดินที่รัฐจัดหาผลประโยชน
หรือที่ทราย ม.10 และ 11 โดยคณะกรรมการ
จัดที่ดินแหงชาติอนุมัติ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


169

การขอออกโฉนดที่ดิน ตองเปนไปตามระเบียบ
ของคณะกรรมการจัด
(ขอ 15 – 16) ที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2532) วาดวย
เงื่อนไขการอออกโฉนด
ประเภทเดินสํารวจ ประเภทออกเฉพาะราย
ที่ดินหรือหนังสือรับรอง
(ขอ 16) การทําประโยชนดว ย
มาตรา 58 ป. ที่ดิน
(ขอ 15) มาตรา 59 ป.ที่ดิน มาตรา 59 ทวิ ป.ที่ดิน
(เฉพาะรายมีหลักฐาน) (เฉพาะรายไมมีหลักฐาน)
การดําเนินการ

ผูมีสิทธิครอบครองยื่นคําขอ
(1) ใหมีการรังวัดทําแผนที่ (2) ใหเจาของที่ดินหรือ
ตามวิธีการรังวัดเพือ่ ออก ผูแทนใหถอยคํา ตามแบบ น.ส. 1 ข.
โฉนดที่ดิน
ตามแบบ น.ส.5
และใหนํา ขอ 7 (2) ขอ 10 (2)
โดยใหเจาของที่ดิน (ใบไตสวน)
และ (3) ขอ 11 และ ขอ 15
ปกหลักหมายเขตทีด่ ิน มาใชบังคับโดยอนุโลม
“ใบไตสวน” หมายถึง
ไวทุกมุมที่ดินของตน
หนังสือแสดงการสอบสวน
เพื่อออกโฉนดที่ดินและให ขอ 7 (2) ขอ 15
หมายรวมถึงใบนําดวย (ใชโดยอนุโลม) (ใชโดยอนุโลม)

การดําเนินการ
(3) กอนแจกโฉนดที่ดิน
ยื่นคําขอพรอมหลักฐาน
(ถามี) (1) ใหมีการรังวัดทําแผนที่ (2) ใหเจาของที่ดินหรือ
เจาพนักงานที่ดิน
1. ใบจอง 2. ใบเหยี่ยบย่ํา ตามวิธีการรังวัดเพือ่ ออก ผูแทนใหถอยคํา
3. ตราจอง 4. ส.ค.1 โฉนดที่ดิน
ประกาศการแจก
5. หลักฐานวาเปนผูมีสิทธิ
โฉนดที่ดินใหทราบ ตามแบบ น.ส.5
ตามกฎหมายวาดวยการจัด
(ใบไตสวน)
ที่ดินเพื่อการครองชีพ หรือ โดยใหเจาของที่ดินปกหลัก
มีกําหนด 30 วัน
6. หลักฐานอื่นที่แสดงวาไดมี หมายเขตที่ดินไวทุกมุม
“ใบไตสวน” หมายถึง
สิทธิในที่ดินโดยชอบดวย ที่ดินของตน
การปดประกาศ กฎหมาย หนังสือแสดงการสอบสวน
เพื่อออกโฉนดที่ดินและให
ปดประกาศในที่เปดเผย ณ หมายรวมถึงใบนําดวย
1. สํานักงานที่ดินทองที่ (คือ สํานักงาน
ที่ดินจังหวัดหรือสาขา) (3) กอนแจกโฉนดที่ดิน
2. สํานักงานเขตหรือที่วาการอําเภอหรือ
ที่วาการกิ่งอําเภอทองที่ เจาพนักงานที่ดิน
3. ที่ทําการแขวงหรือที่ทําการกํานันทองที่
4. ในบริเวณที่ดินนั้น แหงละ 1 ฉบับ เพื่อหาผูคัดคาน ประกาศการแจก
5. ในเขตเทศบาลใหปด ณ สํานักงาน สิทธิในที่ดิน โฉนดที่ดินใหทราบ
เทศบาล อีก 1 ฉบับ
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
170

ครบประกาศ 30 วัน มีกําหนด 30 วัน

การปดประกาศ
ไมมีผูคัดคาน มีผูคัดคาน

ปดประกาศในที่เปดเผย ณ
ที่ดินเปนที่ดินที่ผูขอ ดําเนินการสอบสวน 1. สํานักงานที่ดินทองที่ (คือ สํานักงาน
ไดครอบครองและ เปรียบเทียบ ตาม ม.60 ที่ดินจังหวัดหรือสาขา)
ทําประโยชน 2. สํานักงานเขตหรือที่วาการอําเภอหรือ
ดู ช. 43, 91 ที่วาการกิ่งอําเภอทองที่
และเปนที่ดินที่สามารถ 3. ที่ทําการแขวงหรือที่ทําการกํานันทองที่
ออกโฉนดที่ดินได 4. ในบริเวณที่ดินนั้น แหงละ 1 ฉบับ
5. ในเขตเทศบาลใหปด ณ สํานักงาน
พนักงานเจาหนาที่ เทศบาล อีก 1 ฉบับ

ออกโฉนดที่ดินให ขอ 10 (2) และ (3)


(ใชโดยอนุโลม)
จํานวนเนื้อที่และ
การหามโอน ที่ตั้งของที่ดิน

ดู ม.58 + 58 ทวิ 1. เขตปาสงวนแหงชาติ


ช. 37 2. เขตอุทยานแหงชาติ
3. เขตรักษาพันธุสตั วปา
4. เขตหามลาสัตวปา
5. เขตปาไมถาวรตามมติ ค.ร.ม.

10 (2) ที่ดินไมอยูในเขตดังกลาว 10 (2) ที่ดินตั้งอยูใ นเขตดังกลาว

เปนที่ดินที่สามารถออก
โฉนดที่ดินได ตามขอ 5 และกรมปาไมหรือกรมพัฒนา ขีดแลวแตที่ดินที่ขอออกมี
ที่ดินยังไมไดขีดเขตดังกลาว หรือ อาณาเขตติดตอคาบเกี่ยว
ลงในระวางรูปถายทางอากาศ หรืออยูในเขตดังกลาว
ภายในกําหนดประกาศ
30 วัน (ตาม (1))

ใหผูวาราชการจังหวัด
มีผูคัดคานโตแยง ไมมีผูคัดคานโตแยง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


171

พนักงานเจาหนาทีห่ รือ พนักงานเจาหนาที่ แตงตั้งคณะกรรมการ


เจาพนักงานที่ดิน
ออกโฉนดที่ดินให
รวมกันออกไปตรวจ
สอบสวนเปรียบเทียบ พิสูจนที่ดิน
จํานวนเนื้อที่และ ดู ม.59 และ 59 ทวิ
ตาม ม. 60
การหามโอน (ถามี) ช. 39 ช. 40
ประกอบดวย

ตกลงกันได ตกลงกันไมได

1. ปาไมอําเภอ หรือผูที่ปาไมจังหวัด
เจาพนักงานที่ดิน แตงตั้งสําหรับทองที่ที่ไมมีปาไมอําเภอ
ดําเนินการตามที่ตกลง
จังหวัดหรือสาขา 2. เจาหนางานบริหารงานที่ดินอําเภอ
3. ปลัดอําเภอ (เจาพนักงานปกครอง)
4. กรรมการอื่นตามที่เห็นสมควร
สั่งการตามที่เห็นสมควร 5. ผูแทนกรมพัฒนาที่ดิน (กรณีอยูใน
เขตปาไมถาวร)

แจงเปนหนังสือให
คูกรณีเพื่อทราบ
ทําการตรวจพิสูจนเสร็จแลว

พอใจทั้ง 2 ฝาย ฝายที่ไมพอใจ 60 วัน นับแต เสนอความเห็นตอ


วันทราบคําสั่ง ผูวาราชการจังหวัด

ไมฟอง ไมฟองภายใน 60 วัน ฟองภายใน 60 วัน


วาสมควรออกหนังสือ
รับรองการทําประโยชน
ใหรอเรื่องไว ใหไดหรือไม เพียงใด
ดําเนินการตามที่
เจาพนักงานที่ดิน
จังหวัดหรือสาขาสั่ง เมื่อศาลไดพิพากษาหรือมี ผูวาฯ พิจารณา
คําสั่งถึงที่สุดเปนประการใด (ขอ 11)

ใหดําเนินการไป ผลการตรวจพิสูจนที่ดิน
ตามกรณี ของคณะกรรมการ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


172

ไมอยูในเขตปาดังกลาว อยูในเขตปาดังกลาว

และผูขอไดครอบครองและ หากผูขอไดครอบครอง
ทําประโยชนในที่ดินและ หลังจากวันที่ทางราชการ
ชอบดวยกฎหมาย กําหนดในที่ดินเปนเขต
ดังกลาวแลว

มากอนวันที่ทางราชการ
กําหนดใหที่ดินเปนเขตขางตน ไมอยูในหลักเกณฑที่จะออก
โฉนดที่ดินให

ภายในกําหนดประกาศ
30 วัน ขางตน

ไมมีผูคัดคาน มีผูคัดคานโตแยง

ผูวาราชการจังหวัด เจาพนักงานที่ดิน

สั่งการใหพนักงานเจาหนาที่ ดําเนินการสอบสวน ดู ช. 91
เปรียบเทียบ ตาม ม.60 (แนวทางปฏิบัติ)

ดําเนินการออกโฉนดที่ดินให
เหมือนกับกรณีอยู ไมอยูเขต

เหมือนกรณีอยู ไมอยูเขต

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


173
1. นําไปใชกับการออกใบแทนใบจอง กรณีไมได
การออกใบแทนโฉนดที่ดิน โดยอนุโลม ตามขอ 3 ว.2+ม.63 ป.ที่ดิน โฉนดมาตาม
(ขอ 17) 2. นําไปใชกับการออกใบแทนหนังสือ (3)(4)(5)(6)
นําไปใชกับใบไตสวน
รับรองการทําประโยชนโดยอนุโลม ใหถือวาโฉนด
ตาม ม.63 ป.ที่ดิน
ตามขอ 12 ว.2+ม.63 ป.ที่ดิน ที่ดนิ สูญหาย

(1) กรณีเปน (2) กรณีชาํ รุด (3) กรณีศาลมีคาํ สัง่ (4) ขาย (5) กรณีอธิบดี (6) กรณีเพิกถอน,
อันตรายหรือ หรือคําพิพากษา ทอดตลาด กรมที่ดินใช แกไข ตาม ม. 61
สูญหาย ลักษณะชํารุด ถึงที่สุด เกี่ยวกับภาษี อํานาจ ป.ที่ดิน
จําหนายที่ดิน
เกี่ยวกับโฉนด ตาม ป.ที่ดิน
เจาของที่ดิน พรอม ยังมี ขาด กรณีเจาพนักงาน
ที่ดินหรือผูใด
ยื่นคําขอและ พยาน 1. ตําแหนงที่ดิน ขอความ ผูมีอํานาจยึดและ
มีสิทธิจด ไมไดโฉนดมาหรือ
ปฏิณาณตน หลักฐาน 2. เลขที่โฉนดที่ดิน ขางหนา ขายทอดตลาด
ทะเบียนตาม โฉนดเดิมเปนอันตราย
3. ชื่อและตรา ประจํา ที่ดินของผูคาง
คําพิพากษา ชํารุด หรือสูญหาย
ตําแหนงของผูวาฯ ชําระภาษีอากร
ถือวาเปน
เจาพนักงาน และหรือ ชื่อและ หรือเงินคางจาย
ประเภทเปน แตไมไดโฉนด
ที่ดินสอบสวน ตราประจําตําแหนง ใด ๆ เจาพนักงานที่ดิน
อันตราย หรือ มาหรือโฉนด
ของเจาพนักงาน ดําเนินการตาม (4)
สูญหาย เดิมเปน
ไมเชื่อถือ เชื่อถือ
ที่ดิน ตามแบบ อันตราย ชํารุด ซึ่งเจาพนักงาน
โฉนดซึ่งสามารถ หรือสูญหาย ไดยึดมาขาย
ไมตองสอบสวน
ทอดตลาดแลว
สั่งไมรับ รับคําขอ ตรวจสอบได ดําเนินการ (กรณีขาย
คําขอ ประกาศ ตาม (1) ทอดตลาดของ 1. อธิบดี
30 วัน ให เ จ า ของที ด
่ น
ิ ศาล ใช (3)) แตไมไดโฉนดมา 2. ผูวาราชการจังหวัด
เปนคําสั่ง ยื่นคําขอพรอม หรือโฉนดเดิม
ทาง สอบสวน + (ปจจุบันยกเลิกอํานาจ
โฉนดที่ดิน
ปกครอง ใหผูมีสิทธิจด เปนอันตราย แลว)
ที่ชํารุดนั้น ประกาศ
ปดไวในที่ ทะเบียน ชํารุดหรือสูญหาย ใชอํานาจเพิกถอน
แจงสิทธิ เปดเผย ณ หรือแกไขโฉนดหรือ
อุทธรณ เจาพนักงาน ยื่นคําขอออก ใหถือหนังสือ รายการจดทะเบียน
ที่ดินออก ใบแทน ของเจาพนักงาน ตามมาตรา 61
1. สํานักงานที่ดินทองที่ ใบแทนให เปนคําขอ
2. สํานักงานเขตหรือ
ที่วาการอําเภอหรือที่วาการ เจาพนักงาน
ไมตอง ไมไดโฉนดมาหรือ
กิ่งอําเภอ ทองที่ ที่ดินดําเนินการ เจาพนักงานที่ดิน
ประกาศ โฉนดเดิมเปนอันตราย
3. ที่ทําการแขวงหรือ ดําเนินการตาม (3)
ชํารุดหรือสูญหาย
ที่ทําการกํานันทองที่ และ
ไมไดมา เปนอันตราย, ไดมาแตชํารุด
4. ในบริเวณที่ดินนั้น ไมตอง
(ถือวาสูญหาย) สูญหาย เจาพนักงานที่ดิน
แหงละ 1 ฉบับ สอบสวน
5. ในเขตเทศบาลใหปด ดําเนินการตาม (4)
ดําเนินการ (2)
ณ สํานักงานเทศบาล ดําเนินการ (1)
อีก 1 ฉบับ
ไมตองสอบสวน
สอบสวน + ประกาศ
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
174

ครบกําหนด

มีผูคัดคาน ไมมีผูคัดคาน

ภายในกําหนด เจาพนักงานที่ดิน
ออกใบแทนใหตาม
คําขอ
นําพยานหลักฐานมาแสดง

เจาพนักงานที่ดิน

สั่งการไปตามกรณี

เชน ผูคัดคานนําโฉนดที่ดินที่ผูขอ
นําไปวางค้ําประกันเงินกูมาแสดง
ซึ่งเทากับผูขอแจงขอใบแทนเปน
เท็จ ตองสั่งยกเลิกคําขอ พรอม
แจงความดํานินคดีกับผูขอฐาน
แจงความเท็จตอพนักงาน
เจาหนาที่

ออกใบแทนโฉนดที่ดินแลว โฉนดที่ดินฉบับเดิมเปนอันยกเลิก เวนแตศาลสั่งเปนอยางอื่น

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


175

การจัดทําใบแทนโฉนดที่ดิน
(ขอ 18)

แบบพิมพ เจาพนักงานที่ดิน รายการในสารบัญ สารบัญจดทะเบียนโฉนด


ผูลงนามในใบแทน จดทะเบียนในใบแทน ที่ดินฉบับสํานักงานที่ดิน

แบบ น.ส. 4 จ.
หมายถึง เขียนดวยหมึกสีแดง เขียนวา “ไดออกใบ
1. เจาพนักงานที่ดนิ จังหวัด แทนโฉนดที่ดินแลว”
มีคําวา “ใบแทน” คนปจจุบัน หรือ และวัน เดือน ป ที่ออก
ดวยหมึกสีแดง 2. เจาพนักงานที่ดนิ จังหวัด/ ระบุวัน เดือน ป ที่ออก ถามีรายการจดทะเบียน ดวยหมึกสีแดง
ดานหนาโฉนด สาขาคนปจจุบัน หรือ โฉนดทีด่ ินฉบับเดิม ใหคัดลอกทุกรายการ
3. เจาพนักงานที่ดินซึ่งอธิบดี
มอบหมาย (คนปจจุบัน) เจาพนักงานที่ดิน
มีรายการจดทะเบียน ไมมีรายการจดทะเบียน ลงลายมือชื่อกํากับ

ลายมือชือ่
เจาพนักงานที่ดินลง
ลายมือชือ่ และประทับตรา
ใบแทนโฉนดที่ดิน โฉนดที่ดินฉบับ
สํานักงาน ใตวัน เดือน ป ที่ออก
ใตรายการสุดทาย
1. ดานหนาใบแทนตรง โฉนดที่ดินเดิม
เจาพนักงานที่ดินพรอม 3. กํากับการหมายเหตุฯ
ประทับตราประจํา ออกใบแทนในโฉนด
ตําแหนง ที่ดินฉบับสํานักงาน

2. ใตรายการคัดทะเบียน
รายการสุดทายหรือใต
วัน เดือน ป ที่ออกโฉนด
ฉบับเดิมพรอม
ประทับตราประจํา
ตําแหนง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


176

การออกโฉนดที่ดินใหกับบุคคล
ดู ม. 6 พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน
ตามมาตรา 6 แหง พ.ร.บ. ใหใช ช. 3
ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497
(ขอ 19)

บุคคลตามมาตรา 6 พ.ร.บ.
ใหใช ป.ที่ดิน

(1) บุคคลผูครอบครองและทําประโยชน (2) บุคคลที่รับโอนจาก (1) (3) บุคคลที่ไดครอบครองตั้งแต พ.ร.บ.


โดยชอบดวยกฎหมายกอนวันที่ พ.ร.บ. ออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) ใชบังคับ
ออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 ใช และ กอน ป.ที่ดิน
บังคับ (แตไมมีหนังสือสําคัญแสดงสิทธิ)

ซึ่งไดแจง ส.ค.1 ไว

พนักงานเจาหนาที่

ดําเนินการออกโฉนดที่ดินให

ตามหลักเกณฑและวิธีการ
ที่กฎกระทรวงฉบับนี้กําหนด
โดยอนุโลม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


177
(ช. 79)
กฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2541)
ออกตามความใน พ.ร.บ. ใหใช ป. ที่ดนิ พ.ศ. 2497
ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดบกฎกระทรวง ฉบับที่ 48 (พ.ศ. 2542), ฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2548),
ฉบับที่ 51 (พ.ศ. 2549), ฉบับที่ 53 (พ.ศ. 2549) และฉบับที่ 54 (พ.ศ. 2553)

กฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2541)

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

ออกโดยอาศัยอํานาจ ใหยกเลิก
(ขอ 1)
ม. 15 พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน
และ ม. 103 ว.1 ป.ที่ดิน
(1) กฎกระทรวง ฉบับที่ 32 (พ.ศ. 2522)
(2) กฎกระทรวง ฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2532)
ม. 103 ว.1 การเรียกเก็บคาธรรมเนียม (3) กฎกระทรวง ฉบับที่ 41 (พ.ศ. 2534)
และคาใชจายใหเรียกเก็บตามที่กําหนด (4) กฎกระทรวง ฉบับที่ 46 (พ.ศ. 2540)
ในกฎกระทรวง แตตองไมเกินอัตรา
ตามบัญชีทาย ป.ที่ดิน

กฎกระทรวงจึงออกอัตราเกินกวา
อัตราบัญชีทาย ป.ที่ดิน ไมได

การเรียกเก็บคาธรรมเนียม การเรียกคาใชจาย
(ขอ 2) (ขอ 4)

แกไขโดยกฏกระทรวง ฉบับที่ 48 (พ.ศ.2542) ,


ประเภท อัตรา
50 (พ.ศ. 2548) , 57 (พ.ศ. 2549) 51 (พ.ศ. 2549) ,
(1) คาธรรมเนียมในการขอสัมปทาน รายละ 500 บาท 53 (พ.ศ. 2549) , 54 (พ.ศ. 2553),
(2) คาสัมปทานตอป ไรละ 20 บาท
เศษของไรใหคิดเปนหนึ่งไร
ประเภท อัตรา
(3) คาธรรมเนียมออกหนังสือรับรองการทํา
ประโยชน (1) คาพาหนะเดินทางใหแกเจา ใหจายในลักษณะ
(ก) ที่ดินเนื้อที่ไมเกิน 20 ไร แปลงละ 30 บาท พนักงาน พนักงานเจาหนาที่ และ เหมาจายตาม
(ข) ที่ดินเนื้อที่เกิน 20 ไร แปลงละ 2 บาท คนงานที่จางไปทําการรังวัดเกี่ยวกับ ระเบียบกระทรวง
เศษของไรใหคิดเปนหนึ่งไร โฉนดที่ดิน หรือพิสูจนสอบสวน มหาดไทย ดวย
หรือตรวจสอบเนื้อที่เกี่ยวกับ ความเห็นชอบของ
หนังสือรับรองการทําประโยชน กระทรวงการคลัง
ตามคําขอ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


178

ประเภท อัตรา ประเภท อัตรา


(4) คาธรรมเนียมการพิสูจนสอบสวนหรือตรวจสอบ (2) คาเบี้ยเลี้ยงใหแกเจาพนักงาน ใหจายในลักษณะ
เนื้อที่เกี่ยวกับหนังสือรับรองการทําประโยชน พนักงานเจาหนาที่ และคาจาง เหมาจายตามระเบียบ
(ก) ถาเรียกเปนรายแปลง แปลงละ 30 บาท คนงานที่จางไปทําการรังวัดเกี่ยวกับกระทรวงมหาดไทย
(ข) ถาเรียกเปนรายวัน วันละ 30 บาท โฉนดที่ดินหรือพิสูจนสอบสวน ดวยความเห็นชอบของ
(ค) คาคัดหรือจําลองแผนที่ แปลงละ 30 บาท หรือตรวจสอบเนือ้ ที่เกี่ยวกับหนังสือ กระทรวงการคลัง
(ง) คาคํานวณเนื้อที่หรือสอบแส แปลงละ 30 บาท รับรองการทําประโยชนตามคําขอ
(จ) คาจับระยะ แปลงละ 10 บาท (3) คาปวยการใหแกเพนักงาน
(5) คาธรรมเนียมออกโฉนดที่ดิน ผูปกครองทองที่หรือผูแทนที่ไปใน
(ก) ที่ดินเนื้อที่ไมเกิน 20 ไร แปลงละ 50 บาท การรังวัดเกี่ยวกับโฉนดที่ดินหรือ
(ข) ที่ดนิ เนื้อที่เกิน 20 ไร สวนที่เกิน ไรละ 2 บาท พิสูจนสอบสวน หรือตรวจสอบ
เศษของไรใหคิดเปนหนึ่งไร เนื้อที่เกี่ยวกับหนังสือรับรองการทํา
(6) คาธรรมเนียมรังวัดเกี่ยวกับโฉนดที่ดิน ประโยชน คนหนึ่ง วันละ 50 บาท
(ก) ถาเรียกเปนรายแปลง แปลงละ 40 บาท (4) คาใชจายอื่นๆ ในการรังวัด ใหจายในลักษณะ
(ข) ถาเรียกเปนรายวัน วันละ 40 บาท เกี่ยวกับโฉนดที่ดิน หรือพิสูจน เหมาจายตามระเบียบ
(ค) คาคัดหรือจําลองแผนที่ แปลงละ 30 บาท สอบสวน หรือตรวจสอบเนื้อที่ กระทรวงมหาดไทย
(ง) คาคํานวณเนื้อที่หรือสอบแส แปลงละ 30 บาท เกี่ยวกับหนังสือรับรองการทํา ดวยความเห็นชอบของ
(จ) คาจับระยะ แปลงละ 10 บาท ประโยชน กระทรวงการคลัง
(7) คาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (5) คาปดประกาศใหแกผูปดประกาศ 10 บาท
(ก) คาจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมมีทุนทรัพย แปลงละ
เรียกเก็บตามราคาประเมินทุนทรัพยตามที่ (6) คาพยานใหแกพยาน คนละ 10 บาท”
คณะกรรมการกําหนดราคาประเมินทุนทรัพย
กําหนด รอยละ 2
(ข) คาจดทะเบียนโอนอสังหาริมทรัพย เฉพาะใน ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ที่ไดรับ
กรณีที่องคการบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย หรือ ความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
บริษัทจํากัดที่สถาบันการเงินตามพระราชกฤษฎีกา
จัดตั้งองคการบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย พ.ศ. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยคาใชจายใน
2540 จัดตั้งขึ้นเพื่อดําเนินการบริหารสินเชื่อ การรังวัดเกี่ยวกับโฉนดที่ดิน หรือพิสูจนสอบสวน
อสังหาริมทรัพยโดยความเห็นชอบของธนาคาร หรือตรวจสอบเนื้อที่เกี่ยวกับหนังสือรับรองการ
แหงประเทศไทยเปนผูรับโอนหรือโอนคืน หรือ ทําประโยชน พ.ศ. 2542 หรือฉบับที่มีการแกไข
กรณีที่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยที่ไดรับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. เปนผูรับโอนให
เรียกตามราคาประเมินทุนทรัพยกําหนด ใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2542 เปนตนไป
รอยละ 0.01
แตอยางสูงไมเกิน 100,000 บาท
(ค) คาจดทะเบียนโอนอสังหาริมทรัพย เฉพาะใน บรรดาระเบียบขอบังคับและคําสั่งอื่นใดในสวน
กรณีที่มูลนิธชิ ัยพัฒนา มูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพใน ที่กําหนดไวแลว ในระเบียบนี้หรือซึ่งขัดหรือ
สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ มูลนิธิ แยงกับระเบียบนี้ ใหใชระเบียบนี้แทน
สายใจไทยในพระบรมราชูปถัมภ สภากาชาดไทย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


179

ประเภท อัตรา อธิบดีกรมที่ดินเปน


หรือมูลนิธิสงเคราะหเด็กของสภากาชาดไทย ผูรักษาการตามระเบียบนี้
เปนผูรับโอนหรือผูโ อน เรียกตามราคาประเมิน
ทุนทรัพยตามที่คณะกรรมการกําหนดราคา คํานิยาม
ประเมินทุนทรัพยกําหนด รอยละ 0.001
(ง) คาจดทะเบียนโอนมรดกหรือให ทั้งนี้ เฉพาะใน
ระหวางผูบุพการีกบั ผูสืบสันดาน หรือระหวางคู
หมายความวา คาพาหนะ
สมรส เรียกตามราคาประเมินทุนทรัพยตามที่
“คาใชจาย” เดินทาง คาเบี้ยเลี้ยง คาจาง
คณะกรรมการกําหนดราคาประเมินทุนทรัพย
คนงาน คาปวยการ เจาพนักงาน
กําหนด รอยละ 0.5
ผูปกครองทองที่ หรือตัวแทน
(จ) คาจดทะเบียนเฉพาะในกรณีที่วดั วาอาราม วัด
และคาใชจายอื่นๆ เกี่ยวกับการ
บาดหลวงโรมันคาธอลิค หรือมัสยิดอิสลาม เปน
รังวัด เชน คาลงทะเบียน
ผูรับให เพื่อใชเปนที่ตั้งศาสนสถาน ทั้งนี้ ในสวนที่
ไปรษณียตอบรับ เปนตน
ไดมารวมกับที่ดินที่มีอยูกอนแลวไมเกิน 50 ไร
เรียกตามราคาประเมินทุนทรัพยตามที่
คณะกรรมการกําหนดราคาประเมินทุนทรัพย หมายความวา เงินที่จางเปน
กําหนด รอยละ 0.01 คาตอบแทนใหแกเจาหนาที่ใน
“คาเบี้ยเลี้ยง”
(ฉ) คาจดทะเบียนการจํานองหรือบุริมสิทธิ รอยละ 1 การรังวัดเกี่ยวกับโฉนดที่ดิน
แตอยางสูงไมเกิน 200,000 บาท หรือพิสูจนสอบสวนหรือ
(ช) คาจดทะเบียนการจํานองหรือบุริมสิทธิสําหรับ ตรวจสอบเนื้อที่ที่เกี่ยวกับ
การใหสินเชื่อเพือ่ การเกษตรของสถาบันการเงินที่ หนังสือรับรองการทําประโยชน
รัฐมนตรีกําหนด รอยละ 0.5 ตามคําขอ
แตอยางสูงไมเกิน 100,000 บาท
(ซ) คาจดทะเบียนการจํานอง หรือบุริมสิทธิ เฉพาะ หมายความวา เงินที่จายเปน
ในกรณีที่องคการบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย คาตอบแทนใหแกคนงานที่
หรือบริษัทจํากัดที่สถาบันการเงินตามพระราช “คาจางคนงาน”
เจาหนาที่จางไปทําการรังวัด
กฤษฎีกาจัดตั้งองคการบริหารสินเชือ่ เกี่ยวกับโฉนดที่ดิน หรือพิสูจน
อสังหาริมทรัพย พ.ศ. 2540 จัดตั้งขึ้นเพื่อ สอบสวนหรือตรวจสอบเนื้อที่
ดําเนินการบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพยโดยความ เกี่ยวกับหนังสือรับรองการทํา
เห็นชอบของธนาคารแหงประเทศไทยเปนผูขอจด ประโยชนตามคําขอ
ทะเบียน รอยละ 0.01
แตอยางสูงไมเกิน 100,000 บาท
(ฌ) คาจดทะเบียนโอนสิทธิการรับจํานอง เฉพาะใน ใหหมายรวมถึง
“จังหวัด”
กรณีที่สถาบันการเงินรับโอนสิทธิเรียกรองจากการ กรุงเทพมหานครดวย
ขายทรัพยสินเชื่อเพื่อชําระบัญชีของบริษัทที่ถูก
ระงับการดําเนินกิจการตามมาตรา ๓๐ แหง
พระราชบัญญัตกิ ําหนดการปฏิรูประบบสถาบัน
การเงิน พ.ศ. 2540 เปนผูขอจดทะเบียน รอยละ 0.01
แตอยางสูงไมเกิน 100,000 บาท

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


180

ประเภท อัตรา การกําหนดคาใชจา ยในการรังวัด


(ญ) คาจดทะเบียนการจํานอง สําหรับการใหสินเชื่อ
เพื่อฟนฟูความเสียหายจากอุทกภัย อัคคีภัย วาตภัย
ใหเจาพนักงานที่ดินจังหวด
หรือมหันตภัยอื่น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑที่รัฐมนตรี
กําหนด รอยละ 0.01
(ฎ) คาจดทะเบียนโอนอสังหาริมทรัพยและคาจด
พิจารณากําหนดคาใชจายในการรังวด
ทะเบียนการจํานอง เฉพาะในกรณีที่คณะรัฐมนตรี
มีมติใหลดหยอนคาธรรมเนียมเปนพิเศษเพื่อ
ประโยชนสาธารณะ หรือความมั่นคงในทาง ตามความเหมาะสมแหงสภาพทองถิน่
เศรษฐกิจของประเทศ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑที่
คณะรัฐมนตรีกําหนด รอยละ 0.01
(ฎ/1) คาจดทะเบียนโอนอสังหาริมทรัพย เฉพาะ เมื่อพิจารณากําหนดคาใชจายเสร็จแลว
ในกรณีที่ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทยโอน
อสังหาริมทรัพยใหแกผูรับโอน เนื่องจากการใหเชา
นําเสนอ
ซื้ออสังหาริมทรัพยของธนาคารอิสลามแหง
ประเทศไทย ใหเรียกตามราคาประเมินทุนทรัพย
ตามที่คณะกรรมการกําหนดราคาประเมินทุน ผูวาราชการจังหวัด
ทรัพยกําหนด รอยละ 1
(ฏ) คาจดทะเบียนทรัพยสิทธิที่มีคาตอบแทนยกเวน
การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมที่มีทุนทรัพยตาม พิจารณาให ลงนามในประกาศ
(ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฎ) และ (ฎ/1) รอยละ 1 ความเห็นชอบ จังหวัด
(ฐ) คาจดทะเบียนการเชา รอยละ 1
(ฑ) คาจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมไมมีทุนทรัพย
แปลงละ 50 บาท จัดทําเปนประกาศจังหวัด
(8) คาธรรมเนียมการขอใหไดมาซึ่งที่ดินของ
คนตางดาว รายละ 500 บาท
ให – สํานักงานที่ดนิ จังหวัด
คาอนุญาต ไรละ 100 บาท
- สํานักงานที่ดนิ จังหวัดสาขา
เศษของไรใหคิดเปนหนึ่งไร
(9) คาธรรมเนียมการขอใหไดมาซึ่งที่ดินเพื่อการคา - สํานักงานที่ดินอําเภอ
ที่ดิน รายละ 500 บาท
คาอนุญาต ไรละ 20 บาท
เศษของไรใหคิดเปนหนึ่งไร ปดประกาศไวในที่เปดเผย เพื่อประชาชนที่มาติดตอ
(10) คาธรรมเนียมเบ็ดเตล็ด ณ สํานักงานที่ดินนัน้ ๆ ทราบโดยทั่วกัน
(ก) คาคําขอ แปลงละ 5 บาท
(ข) คาคัดสําเนาเอกสารตางๆ รวมทั้งคาคัดสําเนา
เอกสารเปนพยานในคดีแพง โดยเจาหนาที่เปนผูคัด หากปรากฏวา คาใชจาย
รอยคําแรกหรือไมถึงรอยคํา 10 บาท ที่ไดประกาศใชบังคับแลว
รอยคําตอไป รอยละ 5 บาท ไมเหมาะสม
เศษของรอยใหคิดเปนหนึ่งรอย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


181

ประเภท อัตรา ใหเจาพนักงาน


(ค) คารับรองเอกสารที่คัด ฉบับละ 10 บาท ที่ดินจังหวัด
(ง) คาตรวจหลักฐานทะเบียนที่ดิน แปลงละ 10 บาท
(จ) คารับอายัดที่ดิน แปลงละ 10 บาท
(ฉ) คามอบอํานาจ เรื่องละ 20 บาท กําหนดคาใชจาย
(ช) คาออกใบแทนโฉนดที่ดินหรือหนังสือแสดง ขึ้นใหม
สิทธิในที่ดินอยางอื่น ฉบับละ 50 บาท
(ซ) คาประกาศ แปลงละ 10 บาท
โดยดําเนินการตาม
(ฌ) คาหลักเขตที่ดิน หลักละ 15 บาท
กระบวนการเหมือน
ถาเปนการเดินสํารวจหรือสอบเขตทั้งตําบล
ขางตน
สําหรับกรณีออกโฉนดคิดเปนรายแปลง แปลงละ 60 บาท
(ญ) คาตรวจสอบขอมูลดานงานรังวัด ดาน
ทะเบียนที่ดิน ดานประเมินราคา หรือขอมูลอื่น
ครั้งละ 100 บาท
(ฎ) คาสําเนาจากสื่อบันทึกขอมูลทางคอมพิวเตอร
หรือสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นหรือสําเนาขอมูลอื่น
แผนละ 50 บาท

การเรียกเก็บคาธรรมเนียม
(ขอ 3 ว. 2)

เศษของ 1 บาท ใหคิดเปน 1 บาท

การประเมินทุนทรัพย เพื่อเรียกเก็บคาธรรมเนียม
กรณีใดเรียกเก็บคาธรรมเนียมจากฐานราคาใด
จดทะเบียนโดยคํานวณตามราคาประเมินทุนทรัพย
ดู ม104 ป.ที่ดิน
หรือราคาทุนทรัพยที่ผูขอแสดงในการจดทะเบียน
(ช. 71)
(ขอ 3 ว.1)

ถามีเศษต่ํากวา 100 บาท

ตามขอ 2(7) ขางตน

ใหคิดเปน 100 บาท

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


182
แบบ ก
บัญชีคาใชจายสําหรับการรังวัดออกโฉนดที่ดิน แบงแยก สอบเขต และรวมโฉนดที่ดนิ
(โดยวิธีแผนทีช่ ั้นหนึง่ )

ลําดับ จํานวน เวลา คาพาหนะ คาจางคนงานรังวัด คาปวยการ คาใชจาย รวมเงิน หมายเหตุ


ที่ เนื้อที่ ทําการ วันละ จํานวนเงิน จํานวน คนละจํานวนเงิน ผูปกครอง อื่นๆ (บาท)
(ไร) (วัน) (บาท) (บาท) (คน) (บาท) (บาท) ทองที่คนหนึ่ง (บาท)
วันละ
(บาท)
1 ไมเกิน 5 1 800 800 4 250 1,000 50 100 1,950 - ใหใชสําหรับพื้นที่โลงเตียน
2 ไมเกิน 15 2 800 1,600 4 250 2,000 50 100 3,750 - สวนพื้นที่ชุมชน ที่นา ที่ไร
3 ไมเกิน 30 3 800 2,400 4 250 3,000 50 100 5,550 ที่สวน ที่มีแนวเขตคดโคง
4 ไมเกิน 50 4 800 3,200 4 250 4,000 50 100 7,350 และที่มีปญหาอุปสรรค
5 ไมเกิน 100 5 800 4,000 4 250 5,000 50 100 9,150 ซึ่งตองแกไขตามหลัก
6 ไมเกิน 150 6 800 4,800 4 250 6,000 50 100 10,950 วิชาการรังวัดและทําแผนที่
7 150 ขึ้นไป 7 800 5,600 4 250 7,000 50 100 12,750 เชน หมุดหลักฐาน โครงงาน
แผนที่สูญหาย จํากัดเนื้อที่
ใหเพิ่มจํานวนวันทําการ
รังวัด 1 วัน
- ในกรณีรังวัดออกโฉนด
ที่ดิน หากมีการตั้ง
คณะกรรมการตรวจสอบ
ที่ดินตามกฎกระทรวง
ฉบับที่ 43 (พ.ศ.2537)
ใหเพิ่มคาพาหนะ 1 วัน
- สําหรับการรังวัดแบงแยก
(จัดสรร) ใหทําการรังวัด
และปกหลักเขต ใหคํานวณ
วันทําการทุก 12 แปลง
ตอหนึ่งวัน

* หมายเหตุ กรมที่ดินกําลังขอปรับบัญชีคาใชจายนี้อยูเพื่อใหสอดรับกับปจจุบัน เชน ปรับคาคนงานรังวัดเปนคาจาง


คนละ 300 บาท เปนตน คาดวานาจะใชไดใน ป พ.ศ. 2556

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


183
แบบ ข
บัญชีคาใชจายสําหรับการรังวัดออกโฉนดที่ดิน แบงแยก สอบเขต และรวมโฉนดที่ดนิ
(โดยวิธีแผนทีช่ ั้นสอง ทําการรังวัดดวยกลอง)

ลําดับ จํานวน เวลา คาพาหนะ คาจางคนงานรังวัด คาปวยการ คาใชจาย รวมเงิน หมายเหตุ


ที่ เนื้อที่ ทําการ วันละ จํานวนเงิน จํานวน คนละจํานวนเงิน ผูปกครอง อื่นๆ (บาท)
(ไร) (วัน) (บาท) (บาท) (คน) (บาท) (บาท) ทองที่คนหนึ่ง (บาท)
วันละ
(บาท)
1 ไมเกิน 5 1 800 800 3 250 750 50 100 1,700 - ใหใชสําหรับพื้นที่โลงเตียน
2 ไมเกิน 15 2 800 1,600 3 250 1,500 50 100 3,250 - สวนพื้นที่ชุมชน ที่นา ที่ไร
3 ไมเกิน 30 3 800 2,400 3 250 2,250 50 100 4,800 ที่สวน ที่มีแนวเขตคดโคง
4 ไมเกิน 50 4 800 3,200 3 250 3,000 50 100 6,350 และที่มีปญหาอุปสรรค
5 ไมเกิน 100 5 800 4,000 3 250 3,750 50 100 7,900 จํากัดเนื้อที่ ใหเพิ่มจํานวน
6 ไมเกิน 150 6 800 4,800 3 250 4,500 50 100 9,450 วันทําการรังวัด 1 วัน
7 150 ขึ้นไป 7 800 5,600 3 250 5,250 50 100 11,000 - ในกรณีรังวัดออกโฉนด
ที่ดิน หากมีการตั้ง
คณะกรรมการตรวจสอบ
ที่ดินตามกฎกระทรวง
ฉบับที่ 43 (พ.ศ.2537)
ใหเพิ่มคาพาหนะ 1 วัน
- สําหรับการรังวัดแบงแยก
(จัดสรร) ใหทําการรังวัด
และปกหลักเขต ใหคํานวณ
วันทําการทุก 12 แปลง
ตอหนึ่งวัน

* หมายเหตุ กรมที่ดินกําลังขอปรับบัญชีคาใชจายนี้อยูเพื่อใหสอดรับกับปจจุบัน เชน ปรับคาคนงานรังวัดเปนคาจาง


คนละ 300 บาท เปนตน คาดวานาจะใชไดใน ป พ.ศ. 2556

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


184
แบบ ค
บัญชีคาใชจายสําหรับการรังวัดออกโฉนดที่ดิน แบงแยก สอบเขต และรวมโฉนดที่ดนิ
(โดยวิธีแผนทีช่ ั้นสอง ทําการรังวัดดวยโซ)

ลําดับ จํานวน เวลา คาพาหนะ คาจางคนงานรังวัด คาปวยการ คาใชจาย รวมเงิน หมายเหตุ


ที่ เนื้อที่ ทําการ วันละ จํานวนเงิน จํานวน คนละ จํานวนเงิน ผูปกครอง อื่นๆ (บาท)
(ไร) (วัน) (บาท) (บาท) (คน) (บาท) (บาท) ทองที่คนหนึ่ง (บาท)
วันละ
(บาท)
1 ไมเกิน 5 1 800 800 2 250 500 50 100 1,450 - ใหใชสําหรับพื้นที่โลงเตียน
2 ไมเกิน 15 2 800 1,600 2 250 1,000 50 100 2,750 - สวนพื้นที่ชุมชน ที่นา ที่ไร
3 ไมเกิน 30 3 800 2,400 2 250 1,500 50 100 4,050 ที่สวน ที่มีแนวเขตคดโคง
4 ไมเกิน 50 4 800 3,200 2 250 2,000 50 100 5,350 และที่มีปญหาอุปสรรค
5 ไมเกิน 100 5 800 4,000 2 250 2,500 50 100 6,650 จํากัดเนื้อที่ ใหเพิ่มจํานวน
6 ไมเกิน 150 6 800 4,800 2 250 3,000 50 100 7,950 วันทําการรังวัด 1 วัน
7 150 ขึ้นไป 7 800 5,600 2 250 3,500 50 100 9,250 - ในกรณีรังวัดออกโฉนด
ที่ดิน หากมีการตั้ง
คณะกรรมการตรวจสอบ
ที่ดินตามกฎกระทรวง
ฉบับที่ 43 (พ.ศ.2537)
ใหเพิ่มคาพาหนะ 1 วัน
- สําหรับการรังวัดแบงแยก
(จัดสรร) ใหทําการรังวัด
และปกหลักเขต ใหคํานวณ
วันทําการทุก 12 แปลง
ตอหนึ่งวัน

* หมายเหตุ กรมที่ดินกําลังขอปรับบัญชีคาใชจายนี้อยูเพื่อใหสอดรับกับปจจุบัน เชน ปรับคาคนงานรังวัดเปนคาจาง


คนละ 300 บาท เปนตน คาดวานาจะใชไดใน ป พ.ศ. 2556

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


185
แบบ ง
บัญชีคาใชจายสําหรับการรังวัดออก การตรวจสอบเนื้อที่ แบงแยก
และรวมหนังสือรับรองการทําประโยชน

ลําดับ จํานวน เวลา คาพาหนะ คาจางคนงานรังวัด คาปวยการ คาใชจาย รวมเงิน หมายเหตุ


ที่ เนื้อที่ ทําการ วันละ จํานวนเงิน จํานวน คนละ จํานวนเงิน ผูปกครอง อื่นๆ (บาท)
(ไร) (วัน) (บาท) (บาท) (คน) (บาท) (บาท) ทองที่คนหนึ่ง (บาท)
วันละ
(บาท)
1 ไมเกิน 20 1 800 800 2 250 500 50 100 1,450 - ใหใชสําหรับพื้นที่โลงเตียน
2 ไมเกิน 50 2 800 1,600 2 250 1,000 50 100 2,750 - สวนพื้นที่ชุมชน ที่นา ที่ไร
3 ไมเกิน 100 3 800 2,400 2 250 1,500 50 100 4,050 ที่สวน ที่มีแนวเขตคดโคง
4 ไมเกิน 150 4 800 3,200 2 250 2,000 50 100 5,350 และที่มีปญหาอุปสรรค
5 150 ขึ้นไป 5 800 4,000 2 250 2,500 50 100 6,650 จํากัดเนื้อที่ ใหเพิ่มจํานวน
วันทําการรังวัด 1 วัน
- ในกรณีการออกหนังสือ
รับรองการทําประโยชน
หากมีการตัง้ คณะกรรมการ
ตรวจสอบที่ดินตาม
กฎกระทรวง ฉบับที่ 43
(พ.ศ.2537) ใหเพิ่มคา
พาหนะ 1 วัน
- สําหรับการรังวัดแบงแยก
มากแปลงใหทําการรังวัด
และคํานวณวันทําการทุก 20
แปลง ตอหนึ่งวัน

* หมายเหตุ กรมที่ดินกําลังขอปรับบัญชีคาใชจายนี้อยูเพื่อใหสอดรับกับปจจุบัน เชน ปรับคาคนงานรังวัดเปนคาจาง


คนละ 300 บาท เปนตน คาดวานาจะใชไดใน ป พ.ศ. 2556

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดนิ แหงชาติ
186 (ช. 80)
ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ

ฉบับที่ เกี่ยวกับ

ระเบียบคณะกรรมการจัด วาดวยการจัดที่ดินเพื่อ
ดู ช. 81
ที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 1, 5, 6 ประชาชน

วาดวยหลักเกณฑ วิธีการ
ระเบียบคณะกรรมการจัด และเงื่อนไขการออก ปจจุบัน ยกเลิกแลว
ที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 2, 4, 7 โฉนดที่ดินและหนังสือ โดยระเบียบฯ
รับรองการทําประโยชน ฉบับที่ 12

วาดวยวิธปี ฏิบัติในการ
แจงและออกคําสั่งแก
ระเบียบคณะกรรมการจัด ผูฝาฝน ม.9 แหง ป.ที่ดิน ดู ช. 85
ที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 3 อยูกอ นวันทีป่ ระกาศของ
คณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 96
คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ

ลว. 29 ก.พ.2515 ใชบังคับ


วางระเบียบไว 12 ฉบับ

ระเบียบคณะกรรมการจัด วาดวยการควบคุมการจัด
ดู ช. 86
ที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 8, 11 ที่ดินของทบวงการเมือง

วาดวยการสงวนหรือหวง
ระเบียบคณะกรรมการจัด หามที่ดินของรัฐเพื่อให ดู ช. 87
ที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 9 ประชาชนใชประโยชน
รวมกัน

วาดวยกรณีจําเปนสําหรับ
ระเบียบคณะกรรมการจัด อนุญาตใหจดทะเบียนสิทธิ ดู ช. 88
ที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 10 และนิติกรรม เปนการ
เฉพาะรายในทองที่ที่
กําหนดใหมีการออกโฉนด
ที่ดินสําหรับที่ดินที่มี
หนังสือรับรองการทํา
ประโยชน โดยใชระวางรูป
ถายทางอากาศตาม ม.58 ตรี

ระเบียบคณะกรรมการจัด วาดวยเงื่อนไขการออก
ดู ช. 89
ที่ดินแหงชาติ ฉบับที่ 12 โฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทําประโยชน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


187 (ช. 81)
ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ
วาดวยการจัดที่ดินเพื่อประชาชน
(แกไขเพิ่มเติมโดยระเบียบฯ ฉบับที่ 5 และฉบับที่ 6)
ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเพื่อประชาชน ใหไว ณ วันที่ 24 ส.ค.2498

คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ

อาศัยอํานาจตามความใน
ม.20(6) ม.27 และ ม.33 ป.ที่ดิน

หมวด 1
ขอความทั่วไป

ชื่อระเบียบ การบังคับใช
(ขอ 1) (ขอ 2)

“ระเบียบวาดวยจัดที่ดินเพื่อประชาชน” ตั้งแตวันที่ 24 ส.ค.2498 เปนตนไป

หมวด 2 นําไปใชกับกรณีจัดที่ดิน
ลักษณะของที่ดินที่จะจัดใหประชาชน แปลงเล็ก (ม.33) ดวย

ที่ดินที่จะจัดใหประชาชนอยูอ าศัย
หรือประกอบการทํามาหาเลี้ยงชีพ
ตาม ม.20(1) และ ม.27 ป.ที่ดิน
(ขอ 3)

1. ตองเปนที่ดินของรัฐ และ 2. อยูในลักษณะตอไปนี้

(1) ที่ดินซึ่งมิไดมีบุคคล (2) ที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ (3) ที่ดินซึ่งมีผูเวนคืนสิทธิใน


ใดมีสิทธิครอบครอง ราษฎรเคยใชประโยชนรวมกัน แตปรากฏวา ที่ดินใหแกรัฐ หรือทอดทิ้งไม
ราษฎรมิไดใชประโยชนตอไปแลว หรือรัฐหา ทําประโยชนหรือปลอยให
และไมใชสาธารณสมบัติของ ที่ดินอื่นใหราษฎรใชประโยชนรวมกันแทน เปนรกรางวาเปลาจน
แผนดินอันราษฎรใชประโยชน ตกเปนของรัฐตาม ป.ที่ดิน
รวมกัน หรือมิใชที่สงวนหวง และไดมีพระราชกฤษฎีกาถอน
หามหรือมิใชที่เขาที่ภูเขา สภาพที่สาธารณประโยชนนั้น
ดู ม.6 ป.ที่ดิน
แลว (ดู ม.8(1))
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
188

หมวด 3
นําไปใชกับกรณีจัดที่ดิน
คุณสมบัติของบุคคลที่จะจัดใหเขาอยู
แปลงเล็ก (ม.33) ดวย
อาศัยหรือประกอบการทํามาหาเลี้ยงชีพ

บุคคลที่จะจัดใหเขาอยูอาศัยหรือ
ประกอบการทํามาหาเลี้ยงชีพ

1. ตองเปนบุคคลธรรมดาเทานั้น 2. ตองมีคณ
ุ สมบัตแิ ละอยูในลักษณะ
ขอกําหนดโดยครบถวน

(1) มีสัญชาติไทย

(2) บรรลุนิติภาวะแลว หรือเปน


หัวหนาครอบครัว

(3) มีรางกายสมบูรณ ไมทุพลภาพ หรือไร


ความสามารถ หรือมีสติฟนเฟอนไม
สมประกอบ หรือเปนโรคคิดตออันนารังเกียจ

เวนแตจะเปนหัวหนาครอบครัวที่อยู
ในลักษณะมีความจําเปนซึ่งทางการ
พิจารณาเห็นสมควรยกเวน

(4) มีความขยันขันแข็งในการประกอบอาชีพ

(5) มีความประพฤติไมเปนคนเสเพล หรือ


อันธพาล

(6) มีความสามารถประกอบอาชีพ เกี่ยวกับ


ที่ดินที่จัดใหได

(7) ไมมีที่ดินเปนของตนเองหรือมีอยูแ ลว


แตเปนจํานวนนอยไมพอเลี้ยงชีพ

(8) ตองรับปฏิบัตติ ามขอบังคับ ระเบียบ


ขอกําหนด เงื่อนไขที่คณะกรรมการจัด
ที่ดินแหงชาติกําหนด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


189

นําไปใชกับการจัดแปลงเล็ก หมวด 4
(ม.33) ดวย การดําเนินการจัดที่ดินใหประชาชน

การจัดที่ดินแปลงเล็กแปลงนอย การจัดที่ดินตาม ป.ที่ดิน การจัดผืนใหญ ตองมีเนื้อที่


มีเนื้อที่ตั้งแต 1,000 ไร ลงมา มี ติดตอกันตั้งแต 1,000 ไรขึ้นไป
พื้นที่กระจัดกระจายไมติดตอกัน
มติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 22 มิ.ย.2522 ให
ระงับโครงการจัดผืนใหญของกรมที่ดิน

แตกรมที่ดินไดจัดที่ดินเพื่อสนับสนุน
นโยบายของรัฐบาล ซึ่งไมใชการจัด
ตาม ป.ที่ดิน อยูหลายโครงการ เชน
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ,
โครงการทับทิมสยาม เปนตน

วัตถุประสงค หลักเกณฑการจัด การดําเนินการกอนจะ การจัดแบงที่ดิน


ดําเนินโครงการจัดที่ดิน

1. จัดเพื่อใหราษฎรอยูอาศัย ตองเปนไปตาม โดยปกติจัดแบงที่ดิน


หรือ โครงการที่ 1. ใหกรมพัฒนาที่ดิน ใหแตละครอบครัว
2. ใหราษฎรใชประกอบการ คณะกรรมการจัด ดําเนินการ
ทํามาหาเลี้ยงชีพ ที่ดินแหงชาติกําหนด - สํารวจดิน ตามสมควรแกอัตภาพ
- วินิจฉัยคุณภาพของที่ดิน
- จําแนกสมรรถนะที่ดิน
อยูภายใตกาํ หนดสิทธิ
- แ ละวางแผนการใชที่ดินให
เจาหนาที่ในการจัดที่ดิน การมีที่ดินของบุคคล
ถูกตองตามหลักวิชาการกอน
1. จัดแปลงใหญ ตาม ป.ที่ดิน
กรมที่ดิน ผูวาราชการจังหวัดหรือ
2. ใหเจาหนาที่ในการจัดที่ดิน
นายอําเภอ ปจจุบัน การกําหนด
ตามโครงการ
2. จัดแปลงเล็กแปลงนอย สิทธิของคนไทยใน
นายอําเภอหรือปลัดอําเภอผูเปนหัวหนา สวนนี้ถูกยกเลิกไป
ประจํากิ่งอําเภอทองที่ หรือ อธิบดีกรมที่ดิน ซึ่งเปน แลว โดย ปว. ฉบับที่
เจาหนาที่ในการจัดที่ดินตาม 49 ลว. 13 ม.ค.2515
ม.27 ป.ที่ดิน (ยกเลิก ม.34 – 49)

ประกาศ

ขอความในประกาศ วิธีการประกาศ ระยะเวลาประกาศ

1. กําหนดเขต และที่ตั้ง 2. วิธีการรับบุคคล ปดไวในที่เปดเผย ณ การกําหนดวันรับสมัครบุคคลฯ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


190

ของที่ดินที่จะจัดใหประชาชน เขาอยูอาศัยให 1. ที่วาการอําเภอหรือกิ่งอําเภอ ตองประกาศให


อยูอาศัย หรือประกอบการทํา ประชาชนทราบ 2. ที่บานกํานันหรือผูใหญบาน ประชาชนทราบ
มาหาเลี้ยงชีพ 3. ในที่ดินที่จัด แหงละ 1 ฉบับ
ลวงหนา มีกําหนด
หากเปนการสมควร ไมนอยกวา 1 เดือน
กรณีเปนการจัดที่ดินแปลง ตามแบบ จ.ด. 1
เล็ก (ม.33) ใหประกาศเปน
รายตําบลหรือรายอําเภอ จะประกาศโดยวิธีอนื่ ดวยก็ได
แลวแตจะเห็นสมควร

ผูประสงคจะเขาอยูอ าศัยหรือ ตามประกาศ จ.ด.1 จะระบุวัน


ประกอบการทํามาหาเลี้ยงชีพ เริ่มตนรับสมัครบุคคล และวัน
สิ้นสุดไวในประกาศอยางชัดเจน
ในที่ดินที่จัดไว
ภายในกําหนดประกาศ
ยื่นคําขอตามแบบ จ.ด.2 ของเจาหนาที่

ตอพนักงานเจาหนาที่ในการจัดที่ดิน

คณะกรรมการคัดเลือกบุคคลในการจัดผืนใหญ
1. ผูวา ราชการจังหวัด (ประธาน) รวบรวมคําขอไว
2. ผูต รวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรี (ประจํา คณะกรรมการคัดเลือกบุคคล
เขต) หรือผูแทน เมื่อครบกําหนดประกาศรับบุคคลแลว แปลงเล็กแปลงนอย
3. ผูแทนสํานักงานกลางชวยเหลือเกษตรกรและ 1. นายอําเภอหรือปลัดหัวหนา
ผูยากจน (สชก.) ใหเจาหนาที่ในการจัดที่ดิน กิ่งอําเภอทองที่ (เปนประธาน)
4. ผูแทนกรมที่ดิน 2. หัวหนาสวนราชการในอําเภอ
5. ผูแทนสภาจังหวัดซึ่งเปนสมาชิกสภาจังหวัด หรือกิ่งอําเภอนั้น 1 นาย
แตงตั้งคณะกรรมการคัดเลือกบุคคล
6. นายอําเภอหรือปลัดหัวหนากิง่ อําเภอ 3. ผูแทน สชก.
7. เจาพนักงานที่ดินจังหวัด 4. เจาพนักงานที่ดนิ อําเภอ
(กรรมการและเลขานุการ) หนาที่ (กรรมการและเลขานุการ)
จํานวน

ไมนอยกวา 3 คน พิจารณาคัดเลือกบุคคล

ตามหลักเกณฑ

การจัดบุคคลเขาอยูอ าศัยหรือเลี้ยงชีพ กรณีที่ดินมีไมพอ

กับจํานวนบุคคลซึง่ คณะกรรมการ
บุคคลใดประสงคจะไดรับการ ถามีบุคคลหลายคน คัดเลือกบุคคลไดคดั เลือกไวแลว
จัดแปลงใดเพียงคนเดียว ประสงคแปลงเดียวกัน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


191

ใหจัดเขาแปลงนั้น ใหใชวิธีจับสลาก คณะกรรมการคัดเลือกบุคคล

เวนแต พิจารณาคัดเลือกอีกชั้นหนึ่ง

ในกรณีจําเปนเพื่อประโยชนความมั่นคง ตามหลักเกณฑ
และความปลอดภัยของประเทศชาติ

(1) ใหพิจารณาใหบุคคลที่มี (2) ถาที่ดินที่จะจัดแบงมีนอย


คณะกรรมการคัดเลือก
ภูมิลําเนาในทองทีน่ ั้นกอน ไมพอแกการจัดแบงทั่วถึงอีก

อาจพิจารณาคัดเลือกบุคคลใหอยู คณะกรรมการคัดเลือก
เมื่อมีที่ดินเหลือ จึงจัดใหบุคคล
ในที่ดินตามที่เห็นสมควรก็ได
ที่มีภูมิลําเนาในทองที่อื่นตอไป
จัดใหจับสลาก

เพื่อใหไดจํานวนบุคคลพอดี
กับจํานวนที่ดินที่จะแบง

บุคคลที่ไดรับการจัด บุคคลที่เหลือ

นําไปใชกับการจัด หมวด 5 ใหถามความประสงควา


แปลงเล็ก (ม.33) ดวย การออกใบจอง
ถามีที่ดินเหลือจากการจัดแบงในทองที่อื่น
แบบใบจอง
เมื่อไดจัดบุคคลในที่ดินแปลงใดและบุคคลนั้นไดปฏิบัติ ทางการจะจัดใหจะขัดของหรือเต็มใจหรือไม
(น.ส.2)
ตามระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติแลว
บันทึกถอยคําไวเปน
ใหเจาหนาที่ในการจัดที่ดิน ปจจุบัน นายอําเภอ และปลัดอําเภอ หลักฐานเพื่อพิจารณาตอไป
หัวหนากิ่งอําเภอเปนพนักงานเจาหนาที่
ติดตอใหนายอําเภอหรือ ในการออกใบจองตาม ม.30 (แปลงใหญ) คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่
ปลัดอําเภอหัวหนากิ่งอําเภอ และ ม.33 (แปลงเล็ก) เฉพาะในทองที่ที่ 477/2498 ลว.13 พ.ค.2498
รัฐมนตรียังมิไดยกเลิกอํานาจหนาที่ของ
นายอําเภอ และปลัดอําเภอ หน.กิ่งอําเภอ แตนายอําเภอทองทีย่ ังคงเปน
ซึ่งเปนพนักงานเจาหนาที่
ในการปฏิบัติการตาม ป.ที่ดินเทานั้น เจาหนาที่ในการจัดที่ดินแปลง
ตาม ม.30 ป.ที่ดิน
เล็กแปลงนอย ตาม ม.33 อยู
ออกใบจองใหบุคคลนั้น ตามเดิม ไมวาจะเปนทองที่ที่
สวนทองที่ที่ยกเลิกอํานาจนายอําเภอ
ยึดถือไวเปนหลักฐาน ยกเลิกอํานาจนายอําเภอฯ
และปลัดอําเภอ หน.กิ่งอําเภอแลว
แลวหรือไม (เพียงแตในทองที่
พนักงานเจาหนาที่ในการออกใบจองทั้ง
แบบใบจอง ที่ยกเลิกอํานาจแลวไมมี
2 กรณี ไดแก เจาพนักงานที่ดินจังหวัด
(น.ส.2 ก.) อํานาจเซ็นออกใบจองเทานั้น)
และเจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา

คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 152/2540 ลว.19 มี.ค.2540


ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
192

หมวด 6 นําไปใชกับกรณีจัด
การทําประโยชนในที่ดินและสิ้นสิทธิในที่ดินตามใบจอง แปลงเล็ก (ม.33) ดวย

ผูถือใบจองตองทําประโยชนที่ดิน

ระยะเวลาเริ่มทําประโยชน ระยะเวลาทําประโยชนแลวเสร็จ

ตองทําประโยชนใหแลวเสร็จ ทําประโยชนประมาณ
ตองเริ่มทําประโยชนภายใน 6 หากไมเริ่มทํา
ภายใน 3 ป นับตั้งแตวันที่ 3 ใน 4 สวน ถือวาทํา
เดือน นับแตวันไดรับใบจอง ภายใน 6 เดือน
ไดรับใบจอง ประโยชนแลวเสร็จ

เจาหนาที่ในการจัดที่ดิน
ไมเสร็จภายใน 3 ป เสร็จภายใน 3 ป

มีเหตุผลสมควร ไมมีเหตุผลสมควร หรือภายในระยะเวลา ถาทองที่ใด หมวด 8


ที่คณะกรรมการจัด มีความจําเปน การรับรองการ
เจาหนาที่ในการจัดที่ดิน เจาหนาที่ในการจัดที่ดิน ที่ดินแหงชาติกําหนด ทําประโยชน
ซึ่งไมสามารถ
เจาหนาที่ในการจัดที่ดิน จะทําใหเสร็จ นําไปใชกับการ
สอบสวนชี้แจง สอบสวนรายงาน
ภายใน 3 ป จัดแปลงเล็ก
เหตุผลไปยัง ตามลําดับไปยัง
สอบสวนชี้แจง (ม.33) ดวย
พนักงานเจาหนาที่ อธิบดีกรมที่ดิน เหตุผลไปยัง ใหเสนอเหตุผลให
ผูออกใบจอง ผูถือใบจอง
อธิบดีกรมที่ดิน พนักงานเจาหนาที่
เพื่อพิจารณาสั่งให
พิจารณาอนุมัติ ผูนั้นออกจากที่ดิน 1. ทําประโยชน
ตาม ม.32 ป.ที่ดิน เพื่อพิจารณาสัง่ ใหผู เสนอ คณะ ตามขอบังคับ
ใหมีสิทธิในที่ดิน นั้นขาดสิทธิอันจะพึง กรรมการจัด ระเบียบ ขอกําหนด
ตามใบจองตอไป ไดตาม ม.32 ป.ที่ดนิ ที่ดินแหงชาติ หรือเงื่อนไขของ
เมื่อผูนั้นไดรับทราบ
คณะกรรมการจัด
คําสั่ง หรือควรจะได
ถือเสมือนวาเปน พิจารณา ที่ดินแหงชาติ และ
ทราบคําสั่งอธิบดี เปนอันขาดสิทธิ
ผูรับใบจองใหม
กรมที่ดินแลว ในที่ดิน กําหนดอายุการ
ทําประโยชน 2. ไดชดใชเงินคา
ตองเริ่มทําประโยชน บริการในการจัดที่ดิน
ภายใน 6 เดือน นับแต ผูนั้นเปนอันขาด เฉพาะสวนที่ยัง
ไมไดทําประโยชน เกินกวา 3 ปได ดวยวิธีผอนสงเสร็จ
วันที่ถือเสมือนไดรบั สิทธิในที่ดินตาม
ตามสมควรแกเนือ้ ที่ สิ้นแลว (ทางปฏิบัติ
ใบจองใหม ใบจองนั้น
ไมเคยกําหนด)
ปจจุบัน อธิบดีกรมที่ดินมอบ การหามโอน ดู ม.31
อํานาจใหแกผูวาราชการจังหวัด ช. 32 ยื่นคําขอหนังสือรับรองการทํา
ปฏิบัติราชการแทนตามคําสั่งกรม ประโยชน (หากเปนทองที่มีระวาง
ที่ดิน ที่ 2185/2546 ลว.24 ต.ค.2546 ผานเจาหนาที่ในการจัดที่ดิน แผนที่ตองยื่นออกโฉนดที่ดิน)
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
193

นําไปใชกับการจัด หมวด 7 หมวด 9


แปลงเล็ก (ม.33) ดวย การสั่งใหออกจากทีด่ ิน การจับจองที่ดิน

บุคคลใดที่ไดรับการจัดแบง กรณีใหราษฎรจับจองที่ดิน
ที่ดินจากทางการแลว ตาม ม.33 (แปลงเล็ก)

หลักเกณฑ ปรากฏวาไมปฏิบัตติ ามขอบังคับ ใหนําระเบียบหมวด 2 ถึง


1. ยื่นอุทธรณ เปนหนังสือ ตอ ระเบียบ ขอกําหนดหรือเงื่อนไขของ หมวด 8 มาใชบังคับโดย
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ อนุโลม
2. ยื่นตอ (ผาน) นายอําเภอหรือปลัดอําเภอ
หน.กิ่งอําเภอที่ที่ดินตั้งอยู
ใหเจาหนาที่ในการจัดที่ดิน
3. นายอําเภอฯลฯ ตองรับสอบสวน การประกาศเขตและที่ตั้ง
เพิ่มเติมเพือ่ หาขอเท็จจริงตามคํารอง แลว ของที่ดินที่จะจัด (แปลงเล็ก)
เสนอเรื่องพรอมความเห็นใหจังหวัด สอบสวนรายงานตามลําดับไปยัง
ภายใน 15 วัน นับแตวันไดรับอุทธรณ ใหประกาศ
4. จังหวัดพิจารณาและสงอุทธรณพรอม อธิบดีกรมที่ดิน
ความเห็นใหกรมที่ดินภายใน 10 วัน นับแต
เปนรายตําบลหรือรายอําเภอ
วันที่ไดรับเรื่องจากอําเภอ เพื่อพิจารณาสั่งใหบุคคลออกไป แลวแตจะเห็นสมควร
5. การจัดสงเอกสารใหจัดสงทางไปรษณีย จากที่ดิน ตาม ม.32 ป.ที่ดิน
ลงทะเบียน ปจจุบัน อธิบดีกรมที่ดินมอบ
อํานาจใหแกผูวาราชการจังหวัด
เมื่ออธิบดีกรมที่ดินสั่ง
ปฏิบัติราชการแทนตามคําสั่งกรม
คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 1331/2507 ใหผูใดออกจากที่ดินแลว ที่ดิน ที่ 2185/2546 ลว.24 ต.ค.2546
เรื่อง การยื่นอุทธรณตอรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงมหาดไทย ตาม ม.32 ป.ที่ดิน ภายในกําหนด
ใหผูนั้นพรอมบริวารออกจากที่ดิน
ลว. 9 พ.ย.2507 ตามคําสั่งอธิบดี

เวนแต
ตองอุทธรณตอ รัฐมนตรีภายใน
30 วันนับแตวันไดรับคําสั่ง ไดอุทธรณคําสั่งตาม
ม.32 ว.2 ป.ที่ดิน
รัฐมนตรีตองวินิจฉัยสั่งการภายใน
60 วัน นับแตวันไดรับอุทธรณ
จึงใหปฏิบัติตามคําสั่งของ
รัฐมนตรีวาการกระทรวง
60 วัน เริ่มนับตั้งแตวันที่นายอําเภอหรือปลัด มหาดไทยตอไป
หัวหนากิ่งอําเภอไดรับอุทธรณเปนตนไป

หากสั่งไมทันกําหนดถือวาสั่ง แตจะตองปฏิบัติตาม
ใหมีสิทธิครอบครองตอไป ระเบียบฯ ตามเดิม

คําสั่งรัฐมนตรีเปนที่สุด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


194
(ช. 82)
ขั้นตอนการดําเนินการจัดทีด่ ินผืนใหญ

จังหวัดสํารวจที่ดิน ทําบัญชีสํารวจและ จัดทําโครงการจัดที่ดิน


เพื่อทราบอาณาเขตที่ตัง แผนที่สังเขป

คณะกรรมการคัดเลือกที่ดิน เสนอโครงการจัดที่ดิน ประสานงานกับ


สวนจังหวัดพิจารณาเห็นชอบ พรอมบัญชีสํารวจและ สวนราชการที่เกี่ยวของ
แผนที่สังเขป

เสนอโครงการจัดที่ดิน ประสานงานกับกรมพัฒนาที่ดิน คณะกรรมการจัดทีด่ ิน


ที่เห็นชอบจากจังหวัด สํารวจดิน วินิจฉัยคุณภาพดิน และ แหงชาติ พิจารณาอนุมัติ
วางแผนการใชที่ดนิ ตามหลักวิชาการ

ผูที่ประสงคจะรับการจัดที่ดิน เจาหนาที่จัดที่ดินประกาศการ กรมที่ดินสงเจาหนาที่วางผัง


ยื่นคําขอภายในกําหนดประกาศ จัดที่ดินและรับสมัครบุคคล แบงแปลงตามโครงการที่อนุมัติ

คณะกรรมการคัดเลือก
แตงตั้งคณะกรรมการ จัดบุคคลเขาอยูอาศัยหรือ
บุคคลพิจารณาคัดเลือก
คัดเลือกบุคคล ประกอบการทํามาหาเลี้ยงชีพ
บุคคลตามหลักเกณฑ

นําใบจองขอออกโฉนดที่ดินหรือ ผูไดรับใบจองเขาทําประโยชน ออกใบจองใหแก


หนังสือรับรองการทําประโยชน และแลวเสร็จตามหลักเกณฑ ผูไดรับการจัดที่ดิน

โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทําประโยชน จะถูกหามโอน
ตาม ป.ที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


195
(ช. 83)
ขั้นตอนการดําเนินการจัดทีด่ ินแปลงเล็กแปลงนอย

กรมที่ดินใหจังหวัด นําบัญชีสํารวจและ
อําเภอสํารวจที่ดิน
สั่งอําเภอ จัดทําแผนที่สังเขป

สงบัญชีโครงการตาม จัดทําเปนแผนพัฒนา จัดทําแผนการจัดที่ดิน


แผนพัฒนาชนบทใหกรมที่ดิน ชนบทระดับจังหวัด

เสนอคณะกรรมการ
นายอําเภอหรือปลัด หน. กิ่งอําเภอ รับคําขอและตรวจ
คัดเลือกที่ดินประจํา
ประกาศใหราษฎรจับจอง คุณสมบัติของผูข อจับจอง
จังหวัดพิจารณาอนุมัติ

จัดทําบัญชีผูที่ไดรับการ คณะกรรมการคัดเลือกบุคคล
ทําการรังวัดพิสูจนสอบสวน
คัดเลือกเสนอนายอําเภอ ฯลฯ พิจารณาคัดเลือกบุคคล

ประกาศหาผูคัดคาน 30 วัน

ไมมีผูคัดคาน มีผูคัดคาน

ออกใบจองใหผูที่ไดรับการจัด ชะลอการออกใบจอง

ผูไดรับใบจองทําประโยชน แนะนําใหคูกรณีไปฟอง
ตามหลักเกณฑของ ศาลพิสูจนสิทธิของตน
คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ

ศาลมีคําสั่ง
นําใบจองขอออกโฉนดที่ดินหรือ
ประการใด
หนังสือรับรองการทําประโยชน

พนักงานเจาหนาที่
ดําเนินการตามควรแกกรณี

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


196 (ช. 84)
ระเบียบกรมที่ดิน
วาดวยการเพิกถอนและจําหนายใบจองออกจากทะเบียนที่ดิน
พ.ศ. 2527
การเพิกถอนใบจอง

เมื่อปรากฏขอเท็จจริง
เจาพนักงานที่ดินจังหวัดหรือ แกพนักงานเจาหนาที่
เจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ดวยระเบียบวาดวยการ
หรือนายอําเภอ หรือปลัดอําเภอ จัดที่ดินเพื่อประชาชน
วาดวยออกใบจองไปโดยไมชอบ พ.ศ. 2498 หมวด 2 หมวด 3
ผูเปนหัวหนาประจํากิ่งอําเภอ
แลวแตกรณี และหมวด 4
ใหดําเนินการดังนี้

(1) พนักงานเจาหนาที่ผูออกใบจอง (2) กรณีไมอาจเรียกใบจองมาได (3) การเพิกถอนใบจอง

สอบสวนพยานหลักฐาน ใหถือวาใบจองสูญหาย เมื่อไดรับใบจองหรือไดออก


ใบแทนใบจองตาม (2) แลว
และมีหนังสือแจงใหผูถือใบจอง พนักงานเจาหนาที่
พนักงานเจาหนาทีผ่ ูออกใบจอง
ทราบพรอมใหสงใบจองและ ออกใบแทนใบจอง
เอกสารอื่น (ถามี) คืนมา
1. มีคําสั่งเพิกถอน 2. หมายเหตุ
ตามกฎกระทรวง (ปจจุบัน ใบจอง การเพิกถอน
เพื่อทําการเพิกถอน
ฉบับที่ 43)
โดยวิธีขีดเสนคูขนาน
แจงทางไปรษณียล งทะเบียนตอบรับ ลงบนดานหนาใบจอง
โดยไมตองสอบสวน

แจงตามที่อยูที่ปรากฏหลักฐาน แลวเขียนดวยอักษรสีแดง
ทางสํานักงานที่ดินอําเภอ/กิ่งอําเภอ ถือวาหนังสือแจงตาม (1) วา “ใบจองฉบับนี้ไดเพิก
เปนคําขอออกใบแทน ถอนตามคําสั่งนายอําเภอ
หากไมสามารถแจงได หรือปลัดอําเภอผูเ ปน
หัวหนาประจํากิ่งอําเภอ
ทองที่......... ลงวันที่.........”
ใหสงตามที่อยูที่ไดจาก
นายทะเบียนอําเภอหรือ และพนักงานเจาหนาที่
นายทะเบียนทองที่ ลงชื่อพรอมวัน เดือน ป
กํากับไว
อีกครั้งหนึ่ง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


197

นําคําสั่งเพิกถอนและใบจอง

รวมไวในสารบบที่ดินแปลงนั้น

ดวยหมึกสีแดง เสร็จแลวใหหมายเหตุการเพิกถอน

ในทะเบียนการครอบครองที่ดิน

ดําเนินการ

1. รายงานการเปลีย่ นแปลงทางทะเบียน และ 2. แจงใหผูถือใบจองทราบ

การเพิกถอนใบจอง
ใหกรมที่ดินทราบ

การแจงผูถอื ใบจอง
เพื่อแกไขทะเบียนการครอบครองที่ดนิ ให
ถูกตองครบถวนตรงกัน
ตามวิธีการเชนเดียวกับ (1)

วิธีสง สถานที่สง

สงไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ ตามที่อยูที่ปรากฏหลักฐานทาง
สํานักงานที่ดินอําเภอ/กิง่ อําเภอ

ตามที่ปรากฏในสารบบที่ดิน สงไมได ใหสงใหมอีกครั้งหนึ่ง

ตามที่อยูที่สอบถามไดจาก
นายทะเบียนอําเภอหรือ
นายทะเบียนทองที่

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


198

ใหนําความในเรื่องเพิกถอนใบ
จองมาใชบังคับดวยโดยอนุโลม
การจําหนายใบจอง
(ในสวนที่ไมไดระบุไว)

กรณีไมเริ่มทําประโยชนตามกําหนด กรณีไมปฏิบัตติ ามระเบียบ

ผูถือใบจองไมเริ่มทําประโยชนภายใน ผูถือใบจองไมปฏิบตั ิตามขอบังคับ ระเบียบ ขอกําหนด


6 เดือน นับแตวันไดรับใบจอง หรือเงื่อนไขของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ

เชน ทําประโยชนไมแลว
ตามนัยแหงหมวด 6 และหมวด 7
เสร็จภายใน 3 ป นับแตวันที่
ระเบียบวาดวยการจัดที่ดินเพื่อประชาชน
ไดรับใบจอง...

พนักงานเจาหนาที่

สอบสวนเห็นวา

เปนการไมปฏิบัติโดยไมมีเหตุผลอันสมควร

1. แจงรายชื่อผูถ ือใบจอง 2. สงสํานวนการ และ 3. ทําความเห็นวาควรดําเนินการ


ที่ไมปฏิบัติตามระเบียบ สอบสวนทั้งหมด

ไปยัง

ปจจุบัน เพื่อพิจารณาสั่งใหผูนั้นออกไปจากทีด่ ิน
อธิบดีกรมที่ดิน และใหสิ้นสิทธิในที่ดินตาม ม.32 ป.ที่ดิน
อธิบดีกรมที่ดินไดมอบอํานาจ
ใหผูวาราชการจังหวัดแบบบูรณา
หากเห็นวาอยูในหลักเกณฑ
การปฏิบัติราชการแทน ตามคําสั่ง พิจารณา
ที่จะสั่งตาม ม.32 ป.ที่ดิน
กรมที่ดิน ที่ 2185/2546 ลว. 24
ตุลาคม 2546 มีคําสั่งใหผูถือใบจองออกจากที่ดิน

พนักงานเจาหนาที่

สงสําเนาคําสัง่ ใหผูถูกสั่ง
ใหออกจากที่ดินทราบ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


199

วิธีการสง สถานที่สง กรณีไมอาจสงสําเนา


คําสั่งใหทราบได
สงทางไปรษณีย
ลงทะเบียนตอบรับ ใหพนักงานเจาหนาที่
สงตามที่อยูที่ปรากฏ กรณีไมสามารถ
หลักฐานที่สํานักงานที่ดิน แจงใหทราบได
อําเภอหรือกิ่งอําเภอ ปดคําสั่งไวในที่เปดเผย ณ
สงตามที่อยูที่พนักงาน
เชน ในสารบบที่ดิน หรือ เจาหนาที่สอบถามได
ตามที่อยูที่ผูถือใบจองแจง จากนายทะเบียนอําเภอ
ไวเปนลายลักษณอกั ษร หรือนายทะเบียนทองที่
ตอพนักงานเจาหนาที่
สงอีกครัง้ หนึ่ง

1. ที่วาการอําเภอหรือกิ่งอําเภอ และ 2. ในบริเวณที่ดินตามใบจองนี้


ทองที่ซึ่งที่ดินตั้งอยู

โดย

ใหบันทึกถอยคําพยานเปน
ใหมีพยานรูเห็นการปดสําเนาคําสั่ง
หลักฐานติดเรื่องไวดวย

อยางนอย 2 คน

ใหพนักงานเจาหนาที่
จําหนายใบจอง

ปฏิบัติเชนเดียวกับ
การเพิกถอนใบจอง
(โดยอนุโลม)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


200
(ช. 85)
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ
ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515)
วาดวยวิธีปฏิบัติในการแจงและออกคําสั่งแกผูฝาฝนมาตรา 9 แหง ป.ที่ดิน อยูกอนวันที่
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ 2515 ใชบงั คับ

คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ

ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย ปว.
อาศัยอํานาจตาม ม.20 (10) และ ม.108 ป.ที่ดิน
ฉ.96 ลว. 29 ก.พ.2515

วางระเบียบฯ ฉบับที่ 3

หมวด 1
บททั่วไป

ใชบังคับตั้งแตวันที่ 25 ใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศ ราชกิจจานุเบกษา เลม 89 ตอนที่ 64


เม.ย.2515 เปนตนไป ในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป (ฉบับพิเศษ) ลว.24 เม.ย.2515

ดู ม.108 ป.ที่ดิน การแจงแกผูฝา ฝน ม.9 ป.ที่ดิน ถือวาผิดบุกรุก ตาม ม.108 ทวิ ป.ที่ดิน
ช. 75

อยูกอนวันที่ ปว.ฉ.96 ลว. หากอยูตั้งแตวันที่ 4 มีนาคม 2515


ดู ม.9 ป.ที่ดิน
29 ก.พ.2515 ใชบังคับ เปนตนไป ไมตองแจงกอน
ช. 20

อยูกอนวันที่ 4 มีนาคม 2515


ใหพนักงานเจาหนาที่ดําเนินการ

(1) ที่ดินสงวนหรือหวงหามไว (2) ที่ดินสาธารณสมบัติ (3) ที่ดินที่ทางราชการมี (4) ที่ดินที่มี


เพื่อประโยชนของทางราชการ ของแผนดินที่ประชาชน โครงการจะจัดใหประชาชนเขา ทรัพยากร ธรรมชาติ
ใชประโยชนรวมกัน อยูอาศัยและประกอบอาชีพ
เมื่อทบวงการเมืองซึ่งมี
เชน ที่หิน ที่กรวด
หนาที่ดูแลรักษา หรือให ใหมีคําสั่งใหผูฝาฝน ใหแจงผูฝาฝนไปติดตอกับ
ประโยชนรองขอ หรือที่ทราย
ออกไปจากที่ดิน เจาหนาที่ผูมีหนาที่ในการจัดที่ดิน

ใหพนักงานเจาหนาที่ ไมวาที่ดินนั้นรัฐมนตรี
เวนแตกรณีที่มีเหตุผล เพื่อขอรับคําวินิจฉัย
จะประกาศหวงหามไว
และความจําเปนพิเศษ เกี่ยวกับสิทธิในที่ดิน
แจงใหผูฝาฝนทราบ ตาม ม.9(2) แหง ป.
ที่ดิน แลวหรือไม
และไมเปนการกระทํา และเพื่อปฏิบัตติ ามระเบียบ
เพื่อปฏิบัตกิ ารอยางใด ใหเสื่อมเสียประโยชน ขอบังคับ ขอกําหนด และ
อยางหนึ่ง ดังนี้ ในการที่ประชาชน เงื่อนไขในการจัดที่ดินตาม ถามีผูฝาฝนเขาไป
จะใชที่ดินนั้น โครงการจัดที่ดินนั้น ทําดวยประการใด ๆ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


201

จะผอนผัน ใหเปนการทําลาย
ก. ใหมาจัดการ ข. ใหมาทํา ค. เมื่อมีความ หรือทําใหเสื่อมสภาพ
ใหอยูอาศัย
ทําบันทึก ความตกลง จําเปนอาจสั่งให หรือเปนอันตรายแก
หรือใชประโยชน
ไวเปนหลักฐาน ผูฝาฝนและบริวาร ทรัพยากรในที่ดิน
เพื่อเสียคา เปนการชั่วคราว
ตอทางราชการ ตอบแทนตาม ใหแจงใหผูบุกรุกระงับ
ออกไปจากที่ดิน
ภายในเวลาที่ อัตราและเวลา การกระทํา หรือสั่งให
หรือรื้อถอนสิ่ง โดยเสียคาตอบแทน
กําหนด ที่ทางราชการ ออกไปจากที่ดินนั้น
ปลูกสรางออกไป หรือไมก็ได
กําหนด จากที่ดินดวยก็ได
วา และถาการกระทํานั้น
กอใหเกิดความเสียหาย
- ไดครอบครองและ ดําเนินการตามหมวด 3
แกสาธารณชน
ทําประโยชนในที่ดิน วาดวยการขอเขาอยู
เปนเนื้อที่เทาใด อาศัยหรือขอใช
ใหผูฝาฝนแกไขการ
- และจะออกไปจาก ประโยชนในที่ดินของ กระทํานั้นใหกลับคืน
ที่ดินนั้นไดเมื่อใด รัฐเปนการชั่วคราว สูสภาพเดิมดวย

หมวด 2
การแจงและมีคําสั่งใหผูฝาฝนออกจากที่ดิน

การแจงของพนักงานเจาหนาที่ หรือ ผูซงึ่ ไดรับมอบหมายจาก


พนักงานเจาหนาที่ใหแจง

ใหแจงเปนหนังสือ

สาระสําคัญของหนังสือแจง การพิจารณากําหนดระยะเวลาใหผูฝาฝนปฏิบัติ วิธีการสงหนังสือแจง

(1) ชือ่ และชือ่ สกุลของผูฝ าฝน ออกจากที่ดิน หรือรือ้ สิ่งปลูกสราง สงทางไปรษณียล งทะเบียนตอบรับ
ออกจากที่ดินของรัฐ
(2) ตําแหนงที่ดินที่เขาไปบุกรุก เวนแตทอ งที่ใดไมสะดวกใน
ยึดถือครอบครองหรือใชประโยชน (1) กรณีผูฝา ฝนบุกรุก (2) กรณีเปนการบุกรุก การสงทางไปรษณียต อบรับ
ยึดถือครอบครอง ยึดถือครอบครอง
(3) กําหนดวิธกี าร เงื่อนไข และ ใหจัดเจาหนาที่นาํ สง
ระยะเวลาที่จะใหผูฝาฝนปฏิบัติ ไดปลูกไมลมลุกหรือ ที่ดินตาม (4) หมวด 1
ธัญชาติไว (ที่ดินที่มีทรัพยากร วิธีปฏิบัตกิ รณีนําสง
ธรรมชาติ
ใหกําหนดเวลาแจง (1) ใหผูฝาฝน หรือ
ใหออกจากที่ดิน ใหแจงใหออกจากที่ดิน
ที่บุกรุก หรือแจงใหรื้อ
ถอนสิ่งปลูกสราง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


202

ไมนอยกวา 30 วัน โดยเร็ว แตตองไม ผูที่บรรลุนิติภาวะแลว ซึ่งอาศัยใน


หลังจากการเก็บพืชผล นอยกวา 7 วันนับแต ครอบครัวเดียวกันกับผูฝาฝนนั้น
ในที่ดินนั้นเสร็จแลว วันไดรับหนังสือแจง
ลงชื่อรับหนังสือแจงในใบรับ

(3) กรณีบุกรุกกรณีอื่น นอกจาก (1) และ (2)


แลวเก็บเขาเรือ่ งไวเปนหลักฐาน

ใหแจงใหออกไปจากที่ดินนั้น
(2) กรณีบุคคลตาม (1) ไมยอมลงชือ่

ภายในกําหนดที่แจง แตตองไมนอ ยกวา ใหเจาหนาที่ผูนําสง


90 วัน นับแตวันไดรับหนังสือแจง

บันทึก
การปฏิบัตติ ามหนังสือแจง
- เหตุการณ และ
- เหตุผลในการไมยอมรับหนังสือแจง

กรณีผูฝา ฝนมีความจําเปน กรณีที่ผูฝาฝนไมปฏิบัติตามหนังสือแจง


และใหมีพยานอยางนอย 2 คน

ไมอาจจะปฏิบัติตามหนังสือแจงได ใหพนักงานเจาหนาที่หรือ
ผูที่ไดรับมอบหมายฯ ลงชื่อรับรองไวในบันทึก

ใหยื่นคํารองขอผอนผัน
มีคําสั่ง ถือวาผูฝา ฝนไดรับหนังสือแจงแลว

ลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน
กอนครบกําหนดตามที่แจง เปนหนังสือสงไปยังผูฝาฝน การมีคําสั่งและสงคําสั่ง

พนักงานเจาหนาทีห่ รือผูที่ และกําหนดใหผูฝาฝน - มีสาระสําคัญ


ไดรับมอบหมายฯ ออกไปจากที่ดินนั้น เชนเดียวกับหนังสือแจง
ขางตน
พิจารณา ภายในกําหนด 30 วัน
นับแตวันไดรับคําสั่ง - วิธีการสง เชนเดียวกับ
การสงหนังสือแจง
เห็นสมควร ไมเห็นสมควร
หากผูนั้นยังฝาฝน ขางตน
อยูอีก
ใหมีอํานาจ มีอํานาจไม
ผอนผันได ผอนผันให
ใหดําเนินคดีตอไป
ตามความจําเปน
มีความผิดตาม ม.108 ป.ที่ดิน ตอง
ไมตองเสียคาตอบ ระวางโทษ จําคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับ
แทนตามหมวด 3 ไมเกิน 5,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


203

หมวด 3
การขอเขาอยูอาศัยหรือขอใชประโยชนในที่ดิน
ของรัฐเปนการชั่วคราวและการเสียคาตอบแทน

วิธีการขอเขาอยูอ าศัยและขอใชประโยชน การเสียคาตอบแทน


ในที่ดินของรัฐเปนการชั่วคราว

ผูขอตองเปนผูที่เขายึดถือ องคการบริหารสวนจังหวัด
(1) ผูขอยื่นคํารองตามแบบ
ครอบครองหรือใชประโยชนในที่ดิน
ที่ทางราชการกําหนด
อยูกอนวันที่ ปว.96 ใชบังคับ เปนผูกําหนดอัตรา

ยื่นตอ
อยูกอนวันที่ 4 มีนาคม 2515 โดยถือตามอัตรา
นายอําเภอหรือปลัดอําเภอผูเปนหัวหนา
คาเชาปานกลาง
ประจํากิ่งอําเภอทองที่ที่ที่ดินนั้นตั้งอยู
อยูหลังจากนั้นมีความผิด
ตาม ม.108 ทวิ ป.ที่ดิน ทันที ซึ่งมีการเชาอยูในทองที่นั้น
เมื่อไดรับคํารองแลว
ในวันยื่นคําขอตาม (1)

ใหนายอําเภอหรือปลัดอําเภอผูเปนหัวหนาประจํา
ชําระใหแก
กิ่งอําเภอหรือขาราชการที่ไดรับมอบหมาย

องคการบริหารสวนจังหวัด
ออกไปตรวจสอบ

- สภาพที่ดิน
- จํานวนเนื้อที่ที่ครอบครอง
- และการใชประโยชนในที่ดินนั้น

เมื่อไดรับการผอนผันให
อยูอาศัยหรือใชประโยชน ตองเสียคาตอบแทน
ในที่ดินของรัฐ

ใหแกองคการ
บริหารสวนจังหวัด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


204

ใหเขาอยูอาศัยหรือ
ขอปฏิบัติของผูไดรับการผอนผัน ใชประโยชนในที่ดิน

(1) ตองชําระคาตอบแทน (2) ตองใชประโยชน (3) ตองประกอบ (4) ปฏิบัติการอื่นใด


ที่ดินตามประเภท กิจการตามเขตและ
ของกิจการดวยตนเอง เนื้อที่ที่ไดรับผอนผัน ตามเงื่อนไขที่
ชําระ ณ จํานวนและเวลา พนักงานเจาหนาที่
และในการนี้ผูไดรบั กําหนดใหปฏิบัติ
สํานักงาน ตามที่องคการ ผอนผันตองปกหลักเขต เปนการเฉพาะราย
อําเภอหรือ บริหารสวน
กิ่งอําเภอ จังหวัดกําหนด ใหปรากฏเปนหลักฐาน
แนนอน

ตอนายอําเภอ
หรือปลัดอําเภอ
หัวหนากิ่ง
อําเภอทองที่

กรณีผูไดรับผอนผันไมปฏิบัติตามขอ
ปฏิบัติไมวาจะเปนกรณีหนึ่งกรณีใด

พนักงานเจาหนาที่

พิจารณา

กรณีที่เห็นสมควรใหอยูตอ กรณีที่เห็นวาไมสมควรใหอยูตอ

ใหมีหนังสือแจงใหปฏิบัติใหถูกตอง ใหนําวิธีการและขัน้ ตอนการแจงและ


มีคําสั่งใหผูฝาฝนออกจากที่ดินของรัฐ
ตามหมวด 2

มาบังคับใชโดยอนุโลม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


205
(ช. 86)
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ
ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2529)
วาดวยการควบคุมการจัดที่ดินของทบวงการเมือง
(แกไขเพิ่มเติมโดยระเบียบฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2530))

คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ

ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.
อาศัยอํานาจตามความ ม.20 ป.ที่ดิน แกไขเพิ่มเติม ป.ทีด่ ิน
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2526
ออกระเบียบฯ ฉบับที่ 8

การบังคับใช คํานิยาม การดําเนินการของทบวงการเมืองใด ๆ


ในการนําที่ดินไปจัดใหประชาชน
ตั้งแตวันถัดจากวันประกาศ อยูอาศัยหรือประกอบการทํามาหา
ในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป การจัดที่ดินของ เลี้ยงชีพตาม
ทบวงการเมือง - ประมวลกฎหมายที่ดิน
ราชกิจจานุเบกษา เลม 103 ตอนที่ 11 - กฎหมายวาดวยการปฏิรูปที่ดิน
(ฉบับพิเศษ) ลว.23 ม.ค.2529 เพื่อเกษตรกรรม
- กฎหมายวาดวยการจัดที่ดินเพื่อการ
ครองชีพ
ระเบียบฯ ใชบังคับตั้งแต - หรือตามกฎหมายอื่น
วันที่ 24 ม.ค.2529 เปนตนไป
เลขาธิการคณะกรรมการ
“เลขาธิการ”
จัดที่ดินแหงชาติ

มาตรา 14 ป.ที่ดิน
หมวด 1 “ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผน
การจัดทําโครงการจัดที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม” เปนกรรมการและ
เลขานุการคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติโดยตําแหนง

ทบวงการเมือง
ม.1 “ทบวงการเมือง” หมายความวา หนวยราชการ
ที่มีฐานะเปนนิติบุคคลของราชการสวนกลาง
ที่ประสงคจะดําเนินการจัดที่ดินแปลงใด ราชการสวนภูมิภาค หรือราชการสวนทองถิ่น

ใหจัดทําโครงการจัดที่ดินแปลงนั้น กอนเสนอโครงการจัดที่ดินแปลงใด

ที่ดินแปลงนั้นจะตองไดรับการพิจารณา
เสนอตอ สาระสําคัญของโครงการจัดที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


206

คณะกรรมการฯ อยางนอยตองมี - การใชที่ดินใหสอดคลอง


(คณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ) - และเปนไปตามมาตรการการใช
ที่ดินของการกําหนดชั้นคุณภาพลุม
(1) ชื่อทบวงการเมืองที่จะจัดที่ดิน
เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ น้ําของประเทศ ตามที่คณะกรรมการ
(2) ผลการพิจารณาของกรมพัฒนาที่ดนิ
สิ่งแวดลอมแหงชาติกําหนดโดย
(3) ที่ตั้ง เนื้อที่ อาณาเขต และสภาพที่ดิน
ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
โดยยื่นตอเลขาธิการ ที่จะดําเนินการจัดที่ดิน
- รวมทั้งไดรับการสํารวจความ
(4) ผลการสํารวจการถือครองในพื้นทีท่ ี่
เหมาะสมของดินและวางแผนการใช
จะดําเนินการจัดที่ดิน
เมื่อคณะกรรมการฯ ที่ดินจากกรมพัฒนาที่ดินกอน
(5) จํานวนเนื้อที่ที่จะจัดแบงใหประชาชน
อนุมัติใหจัดที่ดิน เขาครอบครอง
แปลงใดไดแลว (6) หลักเกณฑและวิธีการในการคัดเลือก
บุคคลที่จะรับการจัดที่ดิน
(7) เงื่อนไขที่ผูไดรับการจัดที่ดินตอง
จึงใหทบวงการเมือง ปฏิบัติ
ดําเนินการจัดที่ดิน (8) การใหสิทธิในที่ดินแกผูไดรับการจัด
แปลงนั้นได ที่ดิน
(9) การจัดใหมีสาธารณูปโภคตาง ๆ
การอนุมตั ิ คณะ (10) กําหนดเวลาการจัดที่ดิน ตลอดจน
กรรมการจะกําหนด ระยะเวลาดําเนินการ
หลักเกณฑและ (11) งบประมาณในการดําเนินการ
เงื่อนไขใด ๆ (12) หลักเกณฑในการใหผูไดรับการจัด
ที่เห็นสมควร ที่ดินชดใชทุนที่รัฐบาลไดลงไปใน
การจัดที่ดิน
(13) แผนผังแสดงพื้นที่ที่จะดําเนินการ
ใหทบวงการเมือง จัดที่ดิน พรอมทั้งแสดงบริเวณที่จะ
ดําเนินการดวยก็ได
จัดแบงที่ดินเปนที่อยูอาศัย ประกอบการ
ทํามาหาเลี้ยงชีพสมบัติสวนกลางและ
สาธารณูปโภคโดยใชมาตราสวนที่
สามารถใชพิจารณาไดสะดวก

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


207

หมวด 2
การควบคุมการจัดที่ดินตามโครงการ

เมื่อไดรับอนุมัติโครงการ
จากคณะกรรมการแลว

ทบวงการเมืองที่ไดรับอนุมัติโครงการ การควบคุมการจัดที่ดิน

ใหไปเปนตามโครงการ
ระยะเวลาเริ่มดําเนินการ วิธีการจัดที่ดิน การเปลี่ยนแปลง
ที่ไดรับอนุมัติ
สาระสําคัญของโครงการ
ที่ไดรับอนุมัติแลว
เริ่มดําเนินการตาม ตองดําเนินการไป คณะกรรมการ
โครงการที่ไดรับอนุมัติ ตามโครงการที่ อาจมีมติให
คณะกรรมการ ใหทบวงการเมือง
อนุมัติ
โดยไมชักชา
รัฐมนตรีวาการ
เสนอรายการที่ประสงค
กระทรวงมหาดไทย
ทบวงการเมือง กรณีประสบปญหา จะเปลี่ยนแปลงพรอม
หรืออุปสรรคในการ เหตุผลและความจําเปน
จัดที่ดินตามโครงการ (1) มีหนังสือเรียกเจาหนาที่
รายงานผลดําเนินการ ที่ไดรับอนุมัติ ของทบวงการเมือง
ใหคณะกรรมการ
ใหคณะกรรมการทราบ
พิจารณาอนุมัติ
- มาชี้แจงขอเท็จจริงหรือ
ใหทบวงการเมือง
ตามแบบ และระยะเวลา แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ที่คณะกรรมการกําหนด เมื่อคณะกรรมการ
การจัดที่ดิน
เสนอปญหาและ อนุมัติเปลี่ยนแปลงแลว
- และใหสงเอกสารหลักฐาน
อุปสรรค หรือสิ่งอื่นที่เกี่ยวของมา
จึงใหดําเนินการ ประกอบการพิจารณาของ
ตอคณะกรรมการ ตามนั้นได คณะกรรมการ

(2) แตงตั้งพนักงาน
เพื่อทราบและ
เจาหนาที่
พิจารณาดําเนินการ
แกไขหรือใหความ
ชวยเหลือ ไปตรวจสอบการ
ดําเนินการจัดที่ดินยัง
สถานที่ที่ดําเนินการจัด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


208

บทเฉพาะกาล

ทบวงการเมืองใด

ดําเนินการจัดที่ดินอยูในวันที่ระเบียบ
นี้ประกาศราชกิจจานุเบกษา
(วันที่ 23 ม.ค.2529)

ใหดําเนินการตอไปได

โดยไมอยูภายใตบังคับ
แหงระเบียบนี้

แตตองแจง
- จํานวน และ
- รายละเอียดโครงการดังกลาว

ตอคณะกรรมการ

ภายใน 60 วันนับแตระเบียบนี้ใชบังคับ

และตองรายงานผลดําเนินการ

ใหคณะกรรมการทราบตามแบบและ
ระยะเวลาที่คณะกรรมการกําหนด

จนกวาจะดําเนินการจัด
ที่ดินตามโครงการนั้นเสร็จ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


209 (ช. 87)
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ
ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2529)
วาดวยการสงวนหรือหวงหามที่ดินของรัฐเพื่อใหประชาชนใชประโยชนรวมกัน

คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ

อาศัยอํานาจตามความ ม.20 (4) และ (10) ป.ที่ดิน

วางระเบียบฯ ฉบับที่ 9

การบังคับใชระเบียบฯ ใหยกเลิก

ตั้งแตวันถัดจากวันประกาศ ระเบียบขอบังคับ วาดวยการประสานงาน


ในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป เกี่ยวกับการสงวนที่ดินตาม ป.ที่ดิน ของ
คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ
ราชกิจจานุเบกษา เลม 103 ตอนที่ 20
(ฉบับพิเศษ) ลว.16 พ.ย.2529
(ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2498 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2503
ลว. 26 มี.ค.2498 ลว. 14 มี.ค.2503
ใชบังคับวันที่ 17 พ.ย. 2529

บรรดาระเบียบขอบังคับ และคําสั่งอืน่ ๆ
ในสวนที่กําหนดไวแลวในระเบียบนี้ หรือ
ซึ่งขัดหรือแยงกับระเบียบนี้

ใหใชระเบียบนี้แทน

ลักษณะที่ดิน วิธีดําเนินการ

ที่จะสงวนหรือหวงหามไวเพื่อให ที่ดินตั้งอยูในทองที่อําเภอใด
ประชาชนใชประโยชนรวมกัน

นายอําเภอหรือสวนราชการใด
1. ตองเปนที่ดินของรัฐ

2. ตองไมใชสาธารณสมบัติของแผนดิน เห็นสมควร
สําหรับพลเมืองใชรวมกัน (ม.1304 (2))
จะสงวนหรือหวงหามไวเพื่อให
3. ตองไมใชสาธารณสมบัติของแผนดินที่ใช ประชาชนใชประโยชนรวมกัน
เพื่อประโยชนของแผนดินโดยเฉพาะ (ม.1304 (3))

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


210

ใหเสนอความเห็นตอ

ผูวาราชการจังหวัด

เห็นชอบดวย สั่งนายอําเภอของอําเภอ
ที่ที่ดินตั้งอยู

กรณีที่ดินอยูในเขตของ 2 อําเภอขึ้นไป กรณีที่ดินอยูในเขตของ 2 จังหวัดขึ้นไป


ดําเนินการสงวนหรือ
หวงหามที่ดินตามระเบียบ
และผูวาราชการจังหวัด
ผูวาฯ แตละจังหวัด ผูวาฯ คนใดเห็นวา
เห็นสมควรจะสงวนหรือ
เห็นพองกันที่จะ ไมสมควรสงวน
หวงหามที่ดินทั้ง 2 อําเภอ
สงวนหรือหวงหาม หรือหวงหาม

สั่งนายอําเภอของ ใหผูวาฯ แตละจังหวัด ใหแจงผูวาฯ คนอื่นทราบ


แตละอําเภอ
สั่งนายอําเภอของ หากผูวาฯ ที่ไดรับแจง
ประสานงานกัน แตละจังหวัด
ดําเนินการตามระเบียบ
เห็นควรจะสงวนหรือ
ประสานงานกัน หวงหามที่ดินในเขต
ดําเนินการ จังหวัดของตน

ใหสั่งนายอําเภอของตน

ดําเนินการเฉพาะสวนที่
อยูในเขตจังหวัดของตน

ที่จะสงวนหรือหวงหามที่ดินของ
การดําเนินการของนายอําเภอ
รัฐเพื่อใหประชาชนใชประโยชน
รวมกัน

ภายใน 30 วัน นับแตวันที่นายอําเภอไดรับทราบ


คําสั่งของผูวา ฯ ใหดําเนินการ
นายอําเภอ

ดําเนินการตรวจสอบวา

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


211

(1) ที่ดินนั้นเปน (2) ที่ดินนั้นเปนที่ดินที่อยู (3) ที่ดินนั้นมีผูครอบครอง (4) คณะกรรมการ


- ที่ดินรกรางวางเปลา - ในเขตปาไมถาวร หรือทําประโยชนแลว หมูบานและสภาตําบล
หรือ หรือ หรือไม เห็นวาสมควรจะสงวน
- เปนที่ดินที่มีผูเวนคืน - เปนที่ดินที่ไดสงวนหรือ หรือหวงหามที่ดินนั้น
หรือทอดทิ้งหรือกลับมา หวงหามไวตามความ เพื่อใชประโยชนรวมกัน
ถาปรากฏวา
เปนของแผนดินโดย ตองการของทบวง หรือไม
ประการอื่นตาม ป.ที่ดิน การเมืองใดหรือไม
หรือไม มีผูครอบครองหรือ
ถาปรากฏวา
ทําประโยชนอยูแลว
ถาปรากฏวา ถาปรากฏวา
1. ใหบันทึกวาผูครอบครอง คณะกรรมการฯ และ
ฯ มีหนังสือแสดงสิทธิใน สภาตําบลเห็นไมสมควร
เปนที่รกรางฯ ไมเปนที่รกราง ที่ดินตั้งอยูในเขต
ปาไมถาวรหรือ ที่ดินหรือเอกสารหลักฐาน
หรือเปนที่ดิน หรือไมเปน
เปนที่ดินที่มีการ การไดรับอนุญาตใหทํา นายอําเภอ
ที่มีผูเวนคืนฯ ที่ดินที่มีผู
สงวนฯ ของทบวง ประโยชนหรือไม
เวนคืน ฯลฯ
การเมืองแลว รวบรวมความเห็นของ
นายอําเภอ
2. ใหนายอําเภอแสดง กก.หมูบานและสภา
ตรวจสอบ
ใหนายอําเภอ - อาณาเขตและ ตําบล
สภาพที่ดิน
- จํานวนเนื้อที่ที่มีการ
ครอบครองฯ ลงในแผนที่
และจัดทําแผนที่สังเขป รวบรวมหลักฐาน รายงานผูวาฯ ทราบ
สังเขป
แสดง พรอมความเห็น
- ตําแหนงที่ดิน
เกี่ยวกับที่ดินที่มี รายงานผูวาฯ ทราบ
- จํานวนเนื้อที่
สภาพดังกลาวขางตน พรอมความเห็น
- อาณาเขต
- ความกวางยาว
รายงานใหผูวาฯ
- เขตขางเคียง
ทราบ พรอม
- และแสดงขอบเขตที่ดิน
ความเห็น
ลงในแผนที่ภูมิประเทศ

รายงานผูวาฯ ทราบ
พรอมความเห็น
การพิจารณาของผูว าราชการจังหวัด

ใหผูวาฯ พิจารณาวา ใหผูวาฯ พิจารณาวา ใหผูวาฯ พิจารณาวา ใหผูวาฯ พิจารณาวา

สมควรจะสงวนหรือหวง สมควรจะสงวนหรือ สมควรจะสงวนหรือ ความเห็นดังกลาวมี


หามตามรายงานของ หวงหามหรือไม หวงหามหรือไม เหตุผลสมควรหรือไม
นายอําเภอหรือไม เพียงใด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


212

เห็นสมควร เห็นไม เห็นสมควร เห็นสมควร เห็นไม มีเหตุผล ไมมีเหตุผล


เพียงใด สมควร สมควร สมควร สมควร

ผูวาฯ สั่ง ผูวาฯ สั่ง ผูวาฯ ดําเนินการ ผูวาฯ สั่ง ผูวาฯ สั่ง ผูวาฯ สั่ง
ตาง ๆ ที่จําเปน
นายอําเภอ นายอําเภอ นายอําเภอ นายอําเภอ นายอําเภอ
ดําเนินการ ยุติการ เพื่อใหไดที่ดินนั้นมา ยุติการ ยุติการ ดําเนินการ
สงวน ฯลฯ ดําเนินการ ดําเนินการ ดําเนินการ สงวนหรือ
ตอไป หวงหาม
ถาหากจําเปน
ตอไป
ใหผูวาฯ รายงานพรอมความเห็น

คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ

พิจารณาวาสมควรจะสงวน
หรือหวงหามฯ หรือไม

เห็นไมสมควร เห็นสมควร

แจงผูวาฯ ทราบ ใหคณะกรรมการฯ ดําเนินการตาง ๆ ทีจ่ ําเปน

ผูวาฯ สั่งนายอําเภอยุติดําเนินการ เพื่อใหไดที่ดินนั้นมา

แจงผูวาฯ ทราบ

ผูวาฯ สั่งนายอําเภอดําเนินการตอไป

การดําเนินการของนายอําเภอ เพื่อดําเนินการสงวนหรือหวง
หามที่ดินเพื่อใหประชาชนใช
นายอําเภอของอําเภอที่ที่ดินตั้งอยู ประโยชนรวมกัน

ดําเนินการ

1. โฆษณา 2. จัดทําหลักเขต 3. จัดทําปาย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


213

ใหประชาชนทราบถึง หรือเครื่องหมายอืน่ ระบุรายละเอียดตาง ๆ


- ตําแหนงที่ดิน แสดงแนวเขตที่ดินที่ เกี่ยวกับที่ดินที่จะสงวนฯ
- จํานวนเนื้อที่ จะสงวนฯ เชนเดียวกับประกาศ
มีกําหนด 60 วัน - เขตขางเคียงของ
นับแตวันปด ที่ดินที่จะสงวนฯ
มีขนาดและจํานวน
ประกาศ
พอสมควรติดตั้งไวใน
นายอําเภอ บริเวณที่ดินดังกลาว
จัดทําเปนประกาศ
จะดําเนินการ
วิธีอื่นประกอบ
ระบุรายละเอียด เพื่อใหประชาชนทราบวา
ดวยก็ได
ตามแบบที่กําหนด

นายอําเภอจะใหมี เปนเขตที่ดินที่จะสงวนฯ
ปดไวในที่เปดเผย
- การประชุมราษฎรใน
ทองที่เพื่อทําการชีแ้ จง หรือ
1. ศาลากลางจังหวัด
- การประกาศชี้แจงทาง
2. สํานักงานที่ดินจังหวัด/สาขา
วิทยุกระจายเสียงดวยก็ได
3. ที่วาการอําเภอหรือกิ่งอําเภอ
4. ที่ทําการตําบล
5. ที่ทําการหมูบาน
แหงละอยางนอย 1 ฉบับ

ภายในกําหนด 60 วัน นับแตวันปดประกาศ

ไมมีผูคัดคาน มีผูคัดคาน

ผูวาฯ เสนอเรือ่ งพรอมเอกสารที่เกี่ยวของ โดยอางวา


- เปนผูมีกรรมสิทธิห์ รือสิทธิครอบครอง
หรือ
คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ
- ไดรับอนุญาตใหทําประโยชนในที่ดินนั้น
โดยชอบดวยกฎหมาย
พิจารณาและมีมติ

นายอําเภอสอบสวนหาขอเท็จจริงวา
กรณีมีมติใหสงวนหรือหวงหามฯ แลว

ผูคัดคานมีสิทธิตามอางหรือไม
จัดทําประกาศการสงวน
หรือหวงหามที่ดินฯ แลวเสนอให

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


214

โดยมี ผูวาฯ พิจารณาสั่งการ


- แผนที่แสดงตําแหนงที่ดิน
- จํานวนเนื้อที่
กรณีเห็นวาผูคัดคานไมมี กรณีเห็นวาผูคัดคานมีสิทธิ
- และเขตขางเคียงของที่ดิน
สิทธิโดยชอบดวยกฎหมาย โดยชอบดวยกฎหมาย
ที่สงวนหรือหวงหาม

สั่งใหดําเนินการ สั่งใหยุติการดําเนินการ
แนบทายประกาศดวย สงวนฯ ตอไป เฉพาะสวนนั้น

แจงผูคัดคานทราบ
ใหประกาศใน แผนที่แสดงเขต สวนที่ไมคัดคาน
ราชกิจจานุเบกษา ดําเนินการตอไป
ผูคัดคานไมพอใจ
- ตองเปนแผนที่
เมื่อลงราชกิจจา ที่พรอมจะนําลง หากเห็นวาสมควร
นุเบกษาแลว ในระวางแผนที่ สงวนฯไวดวย
แตไมฟองรองตอศาล มีการฟองรองตอศาล
หรือระวางรูป
ผูวาราชการ ถายทางอากาศ ผูวาฯ รายงาน
จังหวัดตอง ตามระเบียบกรม ดําเนินการสงวนฯ ตอไป ผูวาฯ จะดําเนินการ
ที่ดิน
โฆษณาการสงวน - และตองแสดง คณะกรรมการจัด
รอเฉพาะสวน รอไวทั้งหมด
หรือหวงหามที่ดิน เขตติดตอ ที่ดินแหงชาติ เพื่อ
ขางเคียงโดยมี
ใหประชาชนทราบ มาตราสวน จนกวาจะมีคําพิพากษาถึงที่สุด
พิจารณาวาจะ
ขนาดพอสมควร
สมควรประการใด

โดยปดสําเนาประกาศ ใหยกคํารองคัดคาน วาผูคัดคานเปนผูมี


และแผนที่แนบทาย กรรมสิทธิ์หรือสิทธิ ดูกรณีที่ดินมีผู
ครอบครองหรือไดรับ ครอบครองและทํา
ใหผูวาฯ เสนอเรื่อง อนุญาตใหทําประโยชน ประโยชนแลว (3)
ในที่เปดเผย ณ พรอมเอกสารที่เกี่ยวของ ในที่ดินโดยชอบดวย ก.ม.

คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ
1. ศาลากลางจังหวัด ใหผูวาฯ รายงาน
2. สํานักงานที่ดิน
จังหวัด/สาขา คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ
3. ที่วาการอําเภอหรือ
กิ่งอําเภอ เพื่อพิจารณาวา
4. ที่ทําการตําบล
5. ที่ทําการหมูบานแหง
ละอยางนอย 1 ฉบับ สมควรจะยกเวนทีด่ ินสวน จะดําเนินการใหที่ดิน
หรือ
ที่มีผูคัดคานจากการสงวนฯ นั้นตกเปนของรัฐ

เพื่อประโยชนในการสงวนฯ เพื่อให
ประชาชนใชประโยชนรวมกัน
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
215 (ช. 88)
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ
ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2529)
วาดวยกรณีจําเปนสําหรับอนุญาตใหจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเปนการเฉพาะรายในทองที่ที่
กําหนดใหมีการออกโฉนดทีด่ ินสําหรับที่ดนิ ที่มีหนังสือรับรองการทําประโยชนโดยใชระวางรูปถาย
ทางอากาศ ตาม ม.58 ตรี
คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ อาศัยอํานาจตาม ม.20 (10) ป.ที่ดิน วางระเบียบฯ ฉบับที่ 10

ราชกิจจานุเบกษา เลม 103 ตอนที่ 200 ใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศ


(ฉบับพิเศษ) ลว.16 พ.ย.2529 ในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

บังคับใชวันที่ 17 พ.ย.2529

นับตั้งแตวันที่เริ่มดําเนินการออก ม.58 ตรี ป.ที่ดิน


โฉนดที่ดินตามประกาศของรัฐมนตรี (ยายแปลง)
ตาม ม.58 ตรี ว.1 ป.ที่ดิน
เปลี่ยน
ดู ม.58 ตรี ป.ที่ดิน ม.58 ตรี ว.3 ใหระงับการจดทะเบียนฯ น.ส.3 ก. (เทานั้น)
ช. 38 ที่ตองมีการรังวัด น.ส.3 ก.
เปนโฉนดที่ดิน
เวนแตในกรณีจําเปน

เจาพนักงานที่ดินจะอนุญาตให
จดทะเบียนฯ ที่ตองมีการรังวัดฯ

เฉพาะในกรณีจําเปนดังนี้

(1) เมื่อเปนที่ดินที่ (2) เมื่อเปนที่ดินที่มีผูมีสิทธิ (3) เมื่อเปนที่ดินที่ศาล (4) เมื่อเปนที่ดินที่ผูมี


ถูกเวนคืนบางสวน ในที่ดินประสงคจะแบงแยก ไดมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง สิทธิในที่ดินพิสูจนให
ถึงที่สุดใหแบงแยก เปนที่พอใจแกเจา
พนักงานที่ดินวา
ตามกฎหมาย เพื่อโอนใหแก
วาดวยการเวนคืน - ทบวงการเมือง
อสังหาริมทรัพย - รัฐวิสาหกิจที่ตั้งโดย พ.ร.บ. โดยการขาย 1. มีความจําเปนและเรงดวน
- องคการของรัฐตาม ก.ม. วา แลกเปลี่ยน ให ที่ตองแบงแยก และ
ดวยการจัดตั้งองคการของรัฐ 2. หากรอไวจะกอใหเกิดความ
หรือ เสียหายอยางรายแรงแกผูมี
- หนวยงานธุรกิจทีร่ ัฐบาลเปน สิทธิในที่ดินหรือผูรับโอน
เจาของ
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
216 (ช. 89)
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2532)
วาดวยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองการทําประโยชน
คณะกรรมการจัดทีด่ ินแหงชาติ

อาศัยอํานาจตาม ม.20, ม.58 ทวิ ว.4


ม.59 ทวิ ว.1 ป.ที่ดิน

วางระเบียบฯ ฉบับที่ 12

ใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศ ใหยกเลิก
ในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป
(1) ระเบียบฯ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2515
ราชกิจจานุเบกษา เลม 106 ตอนที่ 174 ลว.12 ต.ค.2532 (2) ระเบียบฯ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2515)
(3) ระเบียบฯ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2524)
ใชบังคับวันที่ 13 ต.ค.2532 เปนตนไป

การออกโฉนดที่ดิน การออกหนังสือรับรองการทําประโยชน

- ระวางแผนที่รูปถาย ใหกระทําได ใหกระทําได


ทางอากาศ
- ระวางแผนที่ระบบ ในบริเวณที่ดินที่ไดสรางระวาง ในบริเวณที่ดินที่ยังมิไดสราง
ยู.ที.เอ็ม แผนที่เพื่อการออกโฉนดที่ดินแลว ระวางแผนที่เพื่อการออกโฉนดที่ดิน

หมายถึง ออกหนังสือ หามออกหนังสือรับรอง โดยหากบริเวณที่ดินนั้น


รับรองการทําประโยชน การทําประโยชน
ใหม (ไมใชกรณีแบงแยก
รวมหนังสือรับรองการ มีระวางรูปถายทางอากาศ ไมมีระวางรูปถายทางอากาศ
เวนแต
ทําประโยชน)
ออก น.ส.3 ก.
อธิบดีกรมที่ดินเห็น ทองที่ยกเลิก ทองที่ยังไม
เปนการสมควร อํานาจ ยกเลิกอํานาจ
ทั้งกรณียกเลิกและ นายอําเภอ ตาม นายอําเภอ
ใหออกหนังสือรับรอง ยังไมยกเลิกอํานาจ ป.ที่ดินแลว
การทําประโยชน นายอําเภอฯ ตาม
ป.ที่ดิน
ในบริเวณที่ดินที่ไดสรางระวาง ออก น.ส.3 ข. ออก น.ส.3
แผนที่ไวแลวไปพลางกอนได

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


217

หมวด 1

การอนุมตั ิใหออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน

ตาม ม.58 ทวิ ว.4 ป.ที่ดิน ตาม ม.59 ทวิ ว.1 ป.ที่ดิน
(เดินสํารวจ) (เฉพาะรายไมมีหลักฐาน)

เปนกรณีออกใหแกบุคคลตาม ม.58 ทวิ ว.2(2) และ (3) เปนกรณีออกใหแกบุคคลซึ่ง


- ครอบครองและทําประโยชนในที่ดินกอนวันที่
บุคคลตาม ม.58 ทวิ ว.2 (2) และ (3) ไดแก ป.ที่ดินใชบังคับ (กอน 1 ธ.ค.2497)
(2) ผูซึ่งไดปฏิบัติตาม ม.27 ตรี - โดยไมมีหนังสือสําคัญแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดิน และ
(3) ผูซึ่งครอบครองที่ดินและทําประโยชนในที่ดิน - มิไดแจง ส.ค.1
ภายหลังวันที่ ป.ที่ดิน ใชบังคับ (1 ธ.ค.2497) และไมมี - แตไมรวมถึงผูซึ่งมิไดปฏิบัติตาม แ.27 ตรี
ใบจอง ใบเหยียบย่ํา หรือไมมีหลักฐานวาเปนผูมีสิทธิ (คือผูที่ไมไดฝาฝน ม.27 ตรี)
ตามกฎหมายวาดวยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
ดู ช. 40
ดู ช. 37

กรณีจะออกใหบุคคลดังกลาว เกิน 50 ไร ความจําเปนที่จะขอออกเปนการ


เฉพาะรายตาม ม.59 ทวิ ว.1 ได
ตองขออนุมัติจากผูว าราชการจังหวัดกอน
(ม.58 ทวิ ว.4), .59 ทวิ ว.1 (1) ที่ดินนั้นถูกเวนคืนตาม ก.ม.วาดวย
การเวนคืนอสังหาริมทรัพย
และจะออกใหรายใดเกิน 50 ไรได (2) ผูครอบครองและทําประโยชนใน
ที่ดินจะโอนที่ดินใหแก
- ทบวงการเมือง
ตอเมื่อผูวาราชการจังหวัดหรือผูที่
- องคการของรัฐบาลตาม ก.ม. วา
ผูวาราชการจังหวัดมอบหมาย ได
ดวยการจัดตั้งองคการของรัฐบาล หรือ
ตรวจสอบการทําประโยชนแลว
- รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้น โดย พ.ร.บ.
(3) มีความจําเปนอยางอื่น โดยไดรับ
ปรากฏวา
อนุมัติจากผูวาราชการจังหวัด

(1) ผูครอบครองไดทําประโยชนหรืออํานวย
การทําประโยชนในที่ดินดวยตนเอง
กรณี (1) แตหากออก
และ
และ (2) เกิน 50 ไร
(2) สภาพการทําประโยชนในที่ดินนั้นเปน
หลักฐานมั่นคงและมีผลผลติอันเปนประโยชน
ในทางเศรษฐกิจ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


218

เนื้อที่ที่ทําประโยชน เนื้อที่ทําประโยชน เปนไปตาม ตองขออนุมัติผูวา ฯ


ถูกตองตามหลักเกณฑ ตามหลักเกณฑ แต ขอเท็จจริงไมตอง (ขอเกิน 50 ไร)
(เกิน 50 ไร) ไมเกิน 50 ไร ขออนุมัติจากผูวาฯ ทุกกรณี

ผูวาฯ สั่งอนุมัติ ผูวาฯ สั่งไมอนุมัติ


ขออนุมัติผูวา ฯ ทั้ง (1) (2) และ (3)
(เกิน 50 ไร)
เฉพาะกรณี (3)
ใหพนักงานเจาหนาที่ เทานั้น
ใหพนักงานเจาหนาที่
ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
ออกโฉนดที่ดินหรือ รับรองการทําประโยชน สรุป การขออนุมัตผิ ูวาฯ ตาม ม.59 ทวิ ว.1
หนังสือรับรองการทํา 1. เหตุจําเปนที่ขอออกเฉพาะราย เฉพาะกรณี
ประโยชน ปจจุบัน มีความจําเปนอยางอื่นตาม (3) เทานั้น ที่ตอง
ใหเทาจํานวนที่ได
ตาม ขออนุมัติผูวา ฯ
ทําประโยชนแลว
เทาจํานวนเนื้อที่ที่ กฎฯ 43 2. กรณีขอออกเกิน 50 ไร ตองขออนุมตั ิ (ขอ
ผูวาฯ อนุมัติ ออกเกิน 50 ไร) ทุกกรณี ทั้งกรณี (1)(2) และ(3)
แตไมเกิน 50 ไร 3. ถาไมเกิน 50 ไร จะขออนุมัติผูวา ฯ เฉพาะมี
(ซึ่งอยูในอํานาจของเจา เหตุความจําเปนตาม (3) เพื่อขอออกเฉาะราย
พนักงานที่ดิน ตาม ป.ที่ดิน) เทานั้น

หมวด 2

การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน
ตาม ม.59 ตรี แหงประมวลกฎหมายที่ดิน

ม.59 ตรี คือ กรณีขอออก


ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน
จากหลักฐาน ส.ค.1 เทานั้น

ถาปรากฏวา

ที่ขอออกเอกสารสิทธิในที่ดินโดยมี
ที่ดิน ส.ค.1 เปนหลักฐานในการขอออก

มีอาณาเขต ระยะของ มีอาณาเขต และ ที่ดินมีดานหนึ่งหรือหลายดาน


แนวเขตและที่ดิน ที่ดินขางเคียง
ขางเคียงทุกดาน ทุกดานถูกตอง
จดปาหรือที่รกรางวางเปลา และ ระยะที่วัดเกินกวาระยะใน ส.ค.1
ถูกตองตรงกับ ส.ค.1 ตรงกับ ส.ค.1

แตระยะของแนวเขต ใหถือระยะตาม ส.ค.1 เปนหลัก การรังวัด


ผิดพลาดคลาดเคลือ่ น
(แตกตางกับ ส.ค.1) (แมวาในปจจุบันจะมิใชปาหรือที่วางเปลา แตในอดีตเปนปา
หรือที่วางเปลาตามที่แจงไวใน ส.ค.1 ก็ใชหลักนี้เชนกัน)
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
219

เชื่อไดวาเปนที่ดิน เมื่อขางเคียงลงชื่อรับรองแนว
แปลงเดียวกัน เขตไวถูกตองครบถวนทุกดาน

แตเนื้อที่ที่คํานวณ ออกใหเทากับจํานวน
แตกตางจากเนือ้ ที่ ส.ค.1 เนื้อที่ที่ทําประโยชนแลว

พนักงานเจาหนาที่ การรับรองแนวเขต

ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
พนักงานเจาหนาที่
รับรองการทําประโยชน

เนื้อที่เทากับที่ไดทําประโยชน
แตไมเกินเนื้อที่ที่คํานวณ แจงเปนหนังสือ สงทางไปรษณีย แจงตอผูมีสิทธิ
ลงทะเบียนตอบรับ ในที่ดินขางเคียง
มีขอความ
ถาผูมีสิทธิในที่ดิน
ขางเคียงไมมาหรือมาแต ติดตอได ติดตอไมได
ที่อยูที่เคยติดตอ หรือ ตามที่ขางเคียง
ไมยอมลงชือ่ รับรองแนว ไดแจงไวเปน
เขตโดยไมคัดคานการ หนังสือ
ไมมาหรือมาแต ปดประกาศ
รังวัด พนกําหนด 30 วัน
ไมยอมลงชือ่ แจงขางเคียง
นับแตวันทําการรังวัด 1. สํานักงานที่ดินจังหวัดหรือสาขา
รับรองแนวเขต
พนักงานเจาหนาทีอ่ อก 2. สํานักงานเขตหรือที่วาการอําเภอ
โดยไมคัดคาน ใหมารับรอง
โฉนดโดยไมตองมีการ หรือกิ่งอําเภอ
รับรองแนวเขต หรือคัดคาน 3. ที่ทําการกํานัน
พนกําหนด 30 วัน 4. ที่ทําการผูใหญบาน และ
นับแตวันทําการ ไมมาภายใน 30 วัน 5. บริเวณที่ดิน
นับแตวันปดประกาศ 6. ในเขตเทศบาลปดที่สํานักงาน
ออกใหเทาจํานวน เทศบาล
เนื้อที่ที่ไดทํา ออกใหเทากับจํานวน
ประโยชนแลว เนื้อที่ที่ทําประโยชนแลว

โดยไมตองรับรองแนวเขต โดยไมตองรับรองแนวเขต

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


อื่น ๆ
220 (ช. 90)
ขั้นตอนการดําเนินการออกโฉนดที่ดนิ เฉพาะราย
(ตามมาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ ป.ที่ดิน)

ขั้นตอน รายละเอียด

1. ขั้นตอนการยื่นคําขอ - ผูขอตองยื่นคําขอตามแบบ น.ส.1 ข. พรอมหลักฐาน


(ฝายทะเบียนหรือฝายรังวัด) - สอบสวนตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 7
- ผูขอตองชี้ระวางแผนที่ (ร.ว.10) (ฝายรังวัด)
- ลงบัญชีรับทําการประจําวัน (บ.ท.ด.2)
- เขียนบันทึกหนาเรื่องการรังวัดที่ดิน (ท.ด.82)
- ลงบัญชีเรื่องการรังวัด (บ.ท.ด.11)
- ลงบัญชีสถิติงาน (บ.ท.ด.21)
- ผูขอชําระคาคําขอ

2. ขั้นตอนการนัดรังวัด - ลงบัญชีรับเรื่องรังวัดและนัดรังวัด (ร.ว.12)


(ฝายรังวัด) - กําหนดเงินมัดจํารังวัด
- กําหนดตัวชางรังวัดและวันทําการรังวัดโดยพิจารณา
จากบัญชีคุมการนัดรังวัด (ร.ว.70)
- ลงบัญชีคุมเรือ่ งประจําตัวชางรังวัด (ร.ว.71)
- จัดทําใบนัดรังวัด (ท.ด.2 ก.) 2 ฉบับ มอบใหผูขอ
และเก็บในเรื่อง

3. ขั้นตอนการแจงขางเคียง - คนหาชื่อและที่อยูข องเจาของที่ดินขางเคียง


และผูปกครอง - ทําหนังสือแจงขางเคียง
(ฝายรังวัด) - ทําหนังสือแจงนายอําเภอทองที่
- ผูขอวางเงินมัดจํารังวัด

4. ขั้นตอนการดําเนินการ - เมื่อถึงวันกําหนดนัด ผูขอนํารังวัดปกเขต หลักเขต


รังวัดทําแผนที่และ ที่ดินไวทุกมุมเขตที่ดินของตน
สอบสวนสิทธิ - ขางเคียงชี้แนวเขต
(ฝายรังวัด) - ทําการรังวัดตามหลักวิชา
- ทําแผนที่พิพาท (ถามีการโตแยงสิทธิ)
- สอบสวนสิทธิและสรางใบไตสวน (น.ส.5)
- คํานวณแผนที่และเนื้อที่
- ลงที่หมายแผนที่ในตนรางแผนที่, ในระวางแผนที่
- จําลองรูปแผนที่ประกอบเรื่อง
- สอบถาม (ถามี)
- เขียนรายงานการรังวัด (ร.ว.3 ก.) และทําบัญชีเบิก
เงินคาใชจาย
- ตรวจการคํานวณแผนที่ เนื้อที่ ลงที่หมายแผนที่ และ
ตรวจระเบียบ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


221

5. ขั้นตอนพิจารณาการ - หัวหนาฝายรังวัดตรวจสอบพิจารณาและเสนอ
รังวัดและสั่งการของ ความเห็นในรายงานการรังวัด (ร.ว.3 ก.) ตอ
เจาพนักงานที่ดนิ จังหวัด/ เจาพนักงานที่ดินจังหวัดหรือสาขา
สาขา - เจาพนักงานที่ดินจังหวัดหรือสาขา พิจารณาสั่งการ
(ฝายรังวัด/เจาพนักงานที่ดิน) ประกาศแจกโฉนดที่ดินและสั่งถอนจายเงินมัดจํา
รังวัด

6. ขั้นตอนประกาศแจก - ฝายรังวัดสงเรือ่ งราวการรังวัดออกโฉนดที่ดินให


โฉนดที่ดิน ฝายทะเบียน
(ฝายทะเบียน) - ลงบัญชีรับเรื่องรังวัดและแจงผูขอมาดําเนินการ
(บ.ท.ด.71)
- จัดทําประกาศแจกโฉนดที่ดิน
- ปดประกาศแจกโฉนดที่ดินมีกําหนด 30 วัน

7. ขั้นตอน (ถามี) การตั้ง - เสนอผูวาราชการจังหวัดตั้งคณะกรรมการ


คณะกรรมการพิสูจน - คณะกรรมการรวมกันออกไปพิสูจนที่ดินและเสนอ
ที่ดิน (กรณีที่ดินตั้งอยู ความเห็น
ในตําบลที่มีปาสงวน - ผูวาราชการจังหวัดพิจารณาสั่งการ
แหงชาติ อุทยาน (ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ 43)
แหงชาติ พื้นที่รกั ษา
พันธุสัตวปา พื้นที่หาม
ลาสัตวปา หรือเขตปา
ไมถาวร)

8. ขั้นตอน (ถามี) การ - แจงผูขอและผูคัดคานมาสอบสวนเปรียบเทียบตาม


สอบสวนเปรียบเทียบ กําหนดนัด
(กรณีมีการคัดคาน - พนักงานเจาหนาที่ทําการสอบสวนเปรียบเทียบ
โตแยงตาม ม.60 - เจาพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา มีคําสั่ง (กรณีตกลง
ป.ที่ดิน) กันไมได)
(ฝายทะเบียน) - แจงคําสั่งใหคูกรณีทราบ
(ดู ช. 91)

9. ขั้นตอนสรางโฉนด - ครบประกาศแลว ไมมีขอขัดของ สํานักงานที่ดิน


ที่ดินและแจกโฉนด สรางโฉนดที่ดินตามระเบียบ
ที่ดิน (กรณีไมมีการ - เจาพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา ลงนามในโฉนดที่ดิน
คัดคานหรือตกลง - ฝายทะเบียนมีหนังสือเรียกผูขอมารับโฉนดที่ดิน
กันได) - ผูขอชําระคาธรรมเนียมออกโฉนดที่ดินและรับโฉนด
(ฝายทะเบียน) ที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


222 (ช. 91)
การสอบสวนเปรียบเทียบตาม ม. 60 ป.ที่ดนิ
การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ตามประมวลกฎหมายที่ดิน

ขอเฉพาะราย

ขอเฉพาะราย ม. 59 ขอเฉพาะราย ม. 59 ทวิ


(มีหลักฐาน) (ไมมีหลักฐาน)

หลักเกณฑการออก ดู ช. 39 หลักเกณฑการออก ดู ช. 40

กรณีมีผูโตแยงคัดคาน
ม. 60 ดู ช. 43
ตาม ม. 60 ป.ที่ดิน

โตแยงคัดคานในวันรังวัด โตแยงคัดคานหลังจากทําการ
รังวัดเสร็จแลว
ชางรังวัดบันทึกถอยคําการโตแยง
คัดคานเปนหลักฐาน แตกอนที่จะมีการประกาศหรือ
(ใชแบบ ท.ด. 16) อยูระหวางประกาศ 30 วัน

หากโตแยงบางสวน
กรณีเรือ่ งอยูที่ฝายรังวัด กรณีเรือ่ งอยูที่ฝายทะเบียน
(สวนใดสวนหนึ่ง)

พนักงานเจาหนาทีร่ ับคําขอ พนักงานเจาหนาทีร่ ับคําขอ


ชางรังวัดทําแผนที่
โตแยงคัดคาน โตแยงคัดคาน
พิพาทในคราวเดียวกัน
(ใชแบบ ท.ด.9) (ใชแบบ ท.ด.9)

รวมเรื่องไว สงฝายทะเบียน
ดําเนินการประกาศตอไป สงฝายรังวัดรวมเรือ่ งไวสง รวมเรื่องไว
ฝายทะเบียน

ฝายทะเบียนดําเนินการประกาศ ตามกฎกระทรวง
1. นับ 1 ตั้งแตวันรุง ขึ้นของวันปด
มีกําหนด 30 วัน ฉบับที่ 43
ประกาศฉบับสุดทายเปนตนไป
2. หากวันสุดทายเปนวันหยุดราชการ ให
ประกาศครบ 30 วันแลว
นับวันทํางานวันแรกเปนวันสุดทายแทน

มีผูขอมาโตแยงคัดคานหลัง มีผูคัดคานภายในระยะเวลาประกาศ ไมมีผูคัดคานเพิ่มกอนประกาศอีก


ประกาศครบกําหนดแลว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


223

ไมมีคําคัดคานไวดําเนินการ กรณีคัดคานทั้งแปลง กรณีคัดคานบางสวน

พนักงานเจาหนาทีช่ ี้แจงผูขอทราบ เจาพนักงานที่ดินหรือ ตองมีการทําแผนที่พิพาท


พนักงานเจาหนาที่ (กรณีคัดคานหลังวันทําการรังวัด)
วาไมอาจรับคําโตแยงคัดคานไว
ดําเนินการได มีหนังสือแจงผูขอและผูคัดคาน เจาพนักงานที่ดินหรือ
ภายใน 3 วัน นับแตวันครบ พนักงานเจาหนาที่
แตถาผูโตแยงรับวาตนสามารถทํา กําหนดประกาศ
ความตกลงกับผูขอได โดยจะไปทํา มีหนังสือแจงผูขอและผูคัดคาน
ความตกลงและแจงใหพนักงาน เพื่อนัดคูกรณีทําการสอบสวน ภายใน 3 วัน นับแตวันครบ
เจาหนาที่ทราบภยใน 15 วัน ใหบันทึก เปรียบเทียบ กําหนดประกาศ
ท.ด.16 ไว

เพื่อนัดคูกรณีทําแผนที่พิพาท
ตกลงไมได ตกลงได
ภายในกําหนด ภายในกําหนด
ฝายรังวัดทําแผนที่พิพาทตาม
การนําชี้ของคูก รณี
พนักงานเจาหนาที่ ขอตกลงนั้นชอบ
ดําเนินการตอไป ดวยกฎหมาย
เจาพนักงานที่ดินหรือพนักงาน
โดยไมรับคําขอ
เจาหนาที่แจงคูกรณีนัดทําการ
คัดคาน พนักงานเจาหนาที่
สอบสวนเปรียบเทียบ
ดําเนินการตาม
เปนคําสั่งทาง ขอตกลงนั้น
ปกครอง การสอบสวน ที่มา หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0719.3/
1 เปรียบเทียบ ว 24834 ลว.16 ส.ค.43 ที่ มท 0729.2/
ว 27110 ลว.5 ก.ย.2545 และ ที่ มท
0516.2/ ว 8591 ลว. 18 มี.ค.2547

1.1 กรณีผูขอและผูโ ตแยงมา 1.2 กรณีผูขอและผูโ ตแยงมา 1.3 กรณีผูขอและผูโ ตแยงทั้งสอง


พรอมกันตามกําหนดนัด ฝายเดียวตามกําหนดนัด ฝายไมมาพบตามกําหนดนัด

ใหพนักงานเจาหนาที่ และอีกฝายมิไดมาตาม พนักงานเจาหนาที่


กําหนดนัด โดยมิไดแจง
สอบสวนเปรียบเทียบ ขอขัดของใหทราบ
ทําหนังสือนัด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


224

ตกลงกันได ตกลงกันไมได ถือวาคูก รณีไมอาจตกลงกันได นัดคูกรณีมาทําการสอบสวน


เปรียบเทียบอีกครั้งหนึ่ง

ทําเปนบันทึกขอตกลง เจาพนักงานที่ดินจังหวัด พนักงานเจาหนาที่


หรือเจาพนักงานที่ดิน ภายใน 7 วัน นับแตวัน
จังหวัดสาขา กําหนดนัดครั้งแรก
ตามแบบบันทึก สบอสวนเปรียบเทียบ
ถอยคํา (ท.ด.16)
รายละเอียดในหนังสือนัด
พิจารณาสั่งการ เจาพนักงานที่ดินจังหวัด
แลวดําเนินการไป หรือ สาขา
ตามที่ตกลงกัน ไปตามพยานหลักฐาน 1. แจงกําหนด วัน
ขอเท็จจริงหรือขอกฎหมาย สั่งการเชนเดียวกับ 1.1 เวลา และสถานที่ที่จะ
สอบสวนเปรียบเทียบ
ออกหนังสือแสดงสิทธิ
ในที่ดินตอไป สั่งการประการใดทําเปน การแจงคําสั่ง
คําสั่งเปรียบเทียบ ใหคูกรณีทราบลวงหนา
เปรียบเทียบกรณีนี้
ไมนอยกวา 7 วัน

แจงคําสั่งเปรียบเทียบ แจงใหผูขอหรือ ผูขอหรือผูโตแยง 2. พรอมทั้งระบุดวยวา


ผูโตแยงที่มาพบ ที่ไมมาพบ “ถาผูขอและผูโตแยงทั้งสองฝาย
ตามนัดทราบ ไมมาพบพนักงานเจาหนาที่เพื่อ
ใหคูกรณีทราบ
สอบสวนเปรียบเทียบและไมได
ใหสงหนังสือ
แจงขอขัดของใหทราบพนักงาน
แจงไปใหทราบ
เจาหนาที่จะไดสั่งยกเลิกคําขอ
ออกหนังสือรับรองการทํา
โดยทางไปรษณีย ประโยชนหรือโฉนดที่ดินตอไป”
ลงทะเบียนตอบรับ

สงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ
การแจงคําสั่งเปรียบเทียบ
ดูใน 2 ชวงตอไป ถึงกําหนดนัด

มาพรอมกันทั้งสองฝาย มาเพียงฝายเดียว สวนอีก คูกรณีทั้งสองฝายยังไมมา


ฝายมิไดแจงขอขัดของ ตามกําหนดนัด หรือไมแจง
ขอขัดของใหทราบ

ดําเนินการตาม 1.1 ดําเนินการตาม 1.2


พนักงานเจาหนาที่

สั่งยกเลิกคําขอออกหนังสือ
แสดงสิทธิในที่ดินนั้น

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


225

โดยหมายเหตุใน หมายเหตุวา
1. คําขออกหนังสือรับรองการทําประโยชน “ยกเลิกคําขอเพราะผูขอและ
หรือโฉนดที่ดิน (น.ส. 1 ข.) ผูโตแยงไมติดตอ”
2. บัญชีรับทําการประจําวัน (บ.ท.ด.2) หรือ
บัญชีรับทําการและคุมเรื่อง (ท.อ.14) พนักงานเจาหนาทีล่ งลายมือชื่อ
3. บัญชีแยกประเภทคุมเรื่อง (บ.ท.ด.27) และ พรอมวัน เดือน ป กํากับไว
4. บัญชีรับเรื่องรังวัดและแจงผูขอมา
ดําเนินการ (บ.ท.ด.71)
การจัดเก็บคําขอรังวัดและ หลักฐานแผนที่ตางๆ
เรื่องราวที่ไดยกเลิก ที่ถูกยกเลิก

กรณีมีสารบบที่ดินเดิมของ กรณีไมมีสารบบที่ดินเดิม ใหเจาหนาที่แกไข ใหเปน


ที่ดินแปลงดังกลาวอยูแลว การถูกตองตามระเบียบ

ใหแยกเก็บเอกสาร
ใหจัดเก็บคําขอรังวัดและ
คําขอดังกลาวไว
เรื่องราวที่ไดยกเลิกนั้น
ตางหาก
รวมเขาไปในสารบบที่ดินนั้น

แตไมตองแจงสิทธิอุทธรณกอ น โดย
2 การแจงคําสั่งเปรียบเทียบใหคูกรณีทราบ
แจงใหไปฟองศาลไดเลย เนื่องจากเปน
คําสั่งเปรียบเทียบเปน กรณีที่กฎหมายมีบทบัญญัติไวตางหาก
พนักงานเจาหนาที่
คําสั่งทางปกครอง แลว ตาม ม.3 พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. 2539
ดําเนินการแจง

รูปแบบ รายละเอียดหนังสือแจง การจัดสง (กรณีตอ งสง)

ทําเปนหนังสือ นอกจากแจงคําสั่งเปรียบเทียบแลว สงทางไปรษณียตอบรับ

ตองระบุไปในคําสัง่ แจงดวยวา
“หากคูกรณีฝายที่ไมพอใจ เห็นวาตนเปนผูมีสิทธิในที่ดินก็ใหไปฟองคดีตอศาล
ยุติธรรม หรือถาเห็นวาการสั่งการของเจาพนักงานที่ดินจังหวัด (หรือเจา
พนักงานที่ดินจังหวัดสาขา) ไมปฏิบัตติ ามขั้นตอนที่กฎหมายกําหนดและไม
ชอบดวยกฎหมาย ก็ใหไปฟองคดีตอศาลปกครอง ทั้งนี้ ภายในกําหนด 60 วัน
นับแตวันทราบคําสั่ง ถามิไดมีการฟองคดีหรือมิไดนําสําเนาคําฟองมาแสดง
ภายในกํานหนด จะไดดําเนินการตามที่เจาพนักงานที่ดินจังหวัด (หรือเจา
พนักงานที่ดินจังหวัดสาขา) ไดสั่งการไวตอไป”

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


226

กรณีไมพอใจคําสัง่ เปรียบเทียบ
3
ตาม ม. 60 ป.ที่ดิน

กรณีเห็นวาตนเองเปนผูมีสิทธิ กรณีเห็นวาการสั่งการของเจาพนักงานที่ดิน
ในที่ดินดีกวาอีกฝายหนึ่ง จังหวัด/สาขา ไมปฏิบัติตามขั้นตอนที่กฎหมาย
กําหนด และไมชอบดวยกฎหมาย
ฝายที่ไมพอใจ
ฝายที่ไมพอใจ
ฟองศาลยุตธิ รรม ภายใน 60 วัน
นับแตวันทราบคําสั่ง ฟองศาลปกครองภายใน
60 วัน นับแตวันทราบคําสั่ง

ฟองภายในกําหนด ไมฟองภายในกําหนด
(60 วัน) ไมฟองภายใน ฟองภายในกําหนด
เมื่อครบกําหนด 60 วัน นับ กําหนด (60 วัน)
และนําหลักฐานการยื่นฟอง แตวันที่คูกรณีรับทราบคําสั่ง
พรอมสําเนาคําฟองเกี่ยวกับสิทธิ เปนการฟองตาม ม.42 ประกอบ
ในที่ดินที่โตแยงคัดคานกันไว กับ ม.9(1) แหง พ.ร.บ.จัดตั้งศาล
ดําเนินการตามที่เจาพนักงาน
ที่ดินจังหวัดหรือสาขาสั่งไว ปกครองและวิธีพิจารณาคดี
มาแสดงตอพนักงานเจาหนาที่ ปกครอง พ.ศ. 2542

ขอใหสั่งเพิก
เพื่อขอใหศาลปกครอง
มาแสดงภายในกําหนด 60 วัน มาแสดงภายหลังครบกําหนด 60 ถอนคําสั่ง
พิพากษาคดี โดยมีคําบังคับ
นับแตวันที่ตนไดรับทราบคําสั่ง วัน นับแตวันที่ตนไดรับทราบคําสั่ง เปรียบเทียบ
ตาม ม.72 แหง พ.ร.บ.จัดตั้ง
ตาม ม.60 แหง
ศาลปกครอง ฯลฯ
แตเปนเวลากอนทีพ่ นักงานเจาหนาทีไ่ ด ป.ที่ดิน ที่เจา
แจกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินแปลงนั้น พนักงานที่ดิน
จังหวัด/สาขา และนําหลักฐานการฟอง
สั่งไว พรอมสําเนาคําฟองมาแสดง
พนักงานเจาหนาที่ ตอพนักงานเจาหนาที่

ตรวจสอบหลักฐาน

หากปรากฏวาสําเนาคําฟองดังกลาว
1. เปนการฟองคดีภายในกําหนด 60 วัน ตามกฎหมาย และ
2. เปนคําฟองที่เกี่ยวกับสิทธิในที่ดินตามที่ไดมีการโตแยงคัดคานกัน

ใหรอเรื่องการออกหนังสือ
แสดงสิทธิในที่ดินรายนั้นไว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


227

เมื่อศาลมีคําพิพากษาหรือ มาแสดงภายในกําหนด 60 วัน มาแสดงภายหลังครบกําหนด


คําสั่งถึงที่สุดประการใด นับแตวันที่ตนไดรับทราบคําสั่ง 60 วัน นับแตวันที่ตนได
รับทราบคําสั่ง
ใหดําเนินการไปตามกรณี
แตเปนเวลากอนทีพ่ นักงาน
เจาหนาที่ไดแจกหนังสือแสดง
สิทธิในที่ดินแปลงนั้น

พนักงานเจาหนาที่

ตรวจสอบหลักฐาน

หากปรากฏวาสําเนาคําฟองดังกลาว
1. เปนการฟองคดีภายในกําหนด 60 วันตาม
กฎหมาย
2. เปนคําฟองที่ฟองเกี่ยวกับการสั่งการของ
เจาพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขาไมชอบดวย
กฎหมาย

ใหรอเรื่องการออกหนังสือ
แสดงสิทธิในที่ดินรายนั้นไว

เมื่อศาลมีคําพิพากษาหรือ
คําสั่งถึงที่สุดประการใด

ใหดําเนินการไปตามกรณี

ศาลปกครองอาจสัง่ ใหคําสั่ง
เปรียบเทียบไมชอบดวย
กฎหมายและใหพิจารณาสั่งใหม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


228 (ช. 92)
การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชนแปลงเดียวหรือหลายแปลง หรือเปนบางสวน
(หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0712/ว 30995 ลว. 30 ธันวาคม 2528)

นําไปใชกับการออกหนังสือรับรอง
1. การออกโฉนดที่ดินเฉพาะราย (ม.59)
การทําประโยชนเฉพาะรายดวย

1.1 กรณีหลักฐานเดิมเปนแปลงเดียว

หลักฐานที่ดินเดิมที่นํามาขอออก

แปลงเดียว มีชื่อคนเดียวหรือหลายคน

ส.ค.1 ใบจอง หนังสือรับรอง โฉนดตราจอง ตราจองทีต่ ราวา


การทําประโยชน “ไดทําประโยชนแลว”

แปลงเดียวมีชื่อ แปลงเดียว
- เจาของที่ดินคนเดียว - แปลงเดียวกัน - แปลงเดียวกัน
- หรือหลายคน - มีชื่อเจาของที่ดิน - มีชื่อเจาของที่ดินคน
ขอออก คนเดียวหรือหลายคน เดียวหรือหลายคน
โฉนด
ขอออก ขอออก หลายแปลง
ขอออกโฉนด ขอออกโฉนดหลาย
โฉนด บางสวน ในคราว
หลายแปลง แปลงในคราวเดียวกัน
หลายแปลง หรือเฉพาะ เดียวกัน
ในคราวเดียวกัน
ในคราว สวนของ
เดียวกัน ส.ค.1 กระทําได ใหออกเปนโฉนด
เชนเดียวกับ โดยแตละแปลง โดยแตละ แปลงเดียวกอน
กระทําได โฉนดที่ดิน ใหมีชื่อเจาของ แปลงมีชื่อ
โดยปกติ
ที่ดินตรงกับชื่อ เจาของ
ควรใหขอ แลวจึงดําเนินการ
ในหนังสือ ที่ดินไม
โดยสราง รังวัดออก โดยออกโฉนด แบงแยกตอไป
รับรองการทํา เหมือนกัน
ใบไตสวน โฉนดไป ที่ดินใหมีชื่อ
ประโยชน
ตามจํานวน ทั้งแปลง เจาของที่ดิน
แปลงที่ขอ แลวจึงขอ ตรงกับชือ่ ทํานองแบง
ทํานอง กรรมสิทธิ์รวม
ออกโฉนด แบงแยก ใบจอง
แบงแยกใน
ภายหลัง
นามเดิม
ใหออกโฉนดเปน
แลวหมายเหตุ
แปลงเดียวกอน
ในหลักฐาน เวนแตกรณี กระทําได
ส.ค.1 จําเปน
แลวจึงดําเนินการ
แบงกรรมสิทธิ์รวม
ตอไป

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


229

วา เชน บางสวนยังขัดของ โดยสรางใบไตสวน


- ไดออกโฉนดไป เพราะไมมีเงินคา ธรรมเนียม ตามจํานวนแปลงที่
ทั้งหมดกี่แปลง ในการออกทั้งแปลง ขอออกโฉนด
- เปนโฉนดเลขที่
เทาไร แลวหมายเหตุ
พนักงานเจาหนาทีพ่ ิจารณาเห็นวา
ในหลักฐานเดิม

ที่ดินนั้นไดทําประโยชนแลวทั้งแปลง
วา
หรือไมมีเจตนาหลีกเลี่ยงกฎหมาย
- ไดออกโฉนดไป
ทั้งหมดกี่แปลง
ควรผอนผันใหขอออกเปน
- เปนโฉนดเลขที่เทาไร
บางสวนหรือเฉพาะสวนได

ทางปฏิบัติตองใหผคู รอบครองทุกคน หากขอออกโฉนดเปน


บางสวนหรือเฉพาะสวนใน
รวมกันนําชี้แนวเขตรอบทั้งแปลงกอน ที่ดินที่มีใบจองหรือหนังสือ
รับรองการทําประโยชน
แลวจึงนําชี้เขตที่ดินบางสวนหรือ
เฉพาะสวนที่จะขอออกโฉนดที่ดิน หามมิใหกระทํา

1.2 กรณีหลักฐานเดิมหลายแปลง

หลักฐานเดิมที่นํามาขอ
ออกมีจํานวนหลายแปลง

กรณี กรณี
- ส.ค.1 - โฉนดตราจอง
- ใบจอง - ตราจองที่ตราวา
- หนังสือรับรองการทําประโยชน “ไดทําประโยชนแลว”
(มีสิทธิครอบครอง) (มีกรรมสิทธิ์)

หลายแปลงไมวาจะเปนชนิด จํานวนหลายแปลง
เดียวกันหรือตางชนิดกัน

จะนํามารวมกันเพือ่ ขอออก
โฉนดเปนแปลงเดียวกัน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


230

มี โดยเขาลักษณะเปนการ
- ที่อยูติดตอเปนผืนเดียวกัน ตําบลเดียวกัน รวมโฉนดที่ดินตาม
สําหรับผูมีชื่อใน ส.ค.1
และ คําสั่งกรมที่ดิน ที่
ใหหมายความรวมถึง
- มีชื่อเจาของที่ดินเหมือนกันทุกแปลง 12/2500 ลว. 8 พ.ย.2500
ผูครอบครองและทํา
- แตละแปลงไมมีภาระผูกพันตางกัน
ประโยชนตอเนื่องดวย
หรือไมอยูในบังคับหามโอนแตกตางกัน
กระทําได

จะนํามารวมกันเพือ่ ออก
โฉนดเปนแปลงเดียว

กระทําได

โดย

เจาหนาที่ตองจัดทําแผนที่
หมายสีแดงแสดงเขตการ
ติดตอของหลักฐานเดิมไว
ใหชัดแจงทุกแปลง

- วามีอาณาเขตติดตอกันอยางไร
- ตรงตามหลักฐานเดิมหรือไม
- ขางเคียงมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอยางไร

พรอมทั้งรายงานผลการรังวัดในรายงาน
การรังวัด (ร.ว.3) ประกอบเรื่องไว

นําไปใชกับการเดินสํารวจออกหนังสือ
2. การนําเดินสํารวจออกโฉนดที่ดิน
รับรองการทําประโยชนดวย

หลักฐานที่ดินเดิมที่นํามาขอออก

แปลงเดียว หลายแปลง

หลักฐานที่ดินตาม ส.ค.1 หรือใบจอง - หนังสือรับรองการทําประโยชน หลักฐานที่ดินตาม


ม.58 ทวิ ว.2(1) - โฉนดตราจอง หรือ ม.58 ทวิ ว.2(1)
- ตราจองที่ตราวา “ไดทํา
ประโยชนแลว”

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


231

ส.ค.1, ใบจอง, ใบเหยียบย่ํา, - แปลงเดียว - แปลงเดียว - หลายแปลง นําเดินสํารวจ


หนังสือรับรองการทํา - มีชื่อเจาของหลาย - มีชื่อเจาของ - ไมวาจะเปนชนิด ออกโฉนดเปน
ประโยชน, โฉนดตราจอง, คนหรือเจาของ หลายคน เดียวกัน หรือตาง บางสวนหรือ
ตราจองที่ตราวา “ไดทํา หลายคนเนื่องจาก ชนิดกัน เฉพาะสวน
ประโยชนแลว” หลักฐาน ผูมี ส.ค.1 หลายคน จะนําเดินสํารวจ
การมีสิทธิตามกฎหมายวา ออกโฉนดเปน จะนํามารวมกัน หามมิใหกระทํา
ดวยการจัดที่ดินเพื่อการ จํานวนหลายแปลง เพื่อเดินสํารวจ
จะนําเดินสํารวจ
ครองชีพ ในคราวเดียวกัน ออกโฉนดเปน
ออกโฉนดที่ดิน
เปนหลายแปลง แปลงเดียวกัน
- แปลงเดียว ทําไมได
- มีชื่อเจาของที่ดินคนเดียว ไมเกินจํานวนผูมี ทําไมได
หรือผูครอบครองตอเนื่อง สิทธิในที่ดินใน
เพียงคนเดียวจากผูม ี คราวเดียวกัน
หลักฐาน ส.ค.1

กระทําได การออกโฉนดที่ดิน การเดินสํารวจออก


จะนําเดินสํารวจออก เฉพาะราย โฉนดที่ดิน
โฉนดเปนหลายแปลง
โดยสรางใบไตสวน
ในคราวเดียว
ตามจํานวนแปลง กรณีที่มีทางสาธารณประโยชน ทางหลวง
ที่นําเดินสํารวจ หรือคลองชลประทานตัดผาน
ทําไมได ออกโฉนดที่ดิน

ตองปฏิบัตติ าม
แลวหมายเหตุในหลักฐาน
ที่ดินเดิมใหปรากฏวา
- ไดออกโฉนดไปทั้งหมด ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการออกโฉนด
กี่แปลง ที่ดินกรณีที่มีทางสาธารณประโยชน
- เปนโฉนดเลขที่เทาไร ทางหลวง หรือคลองชลประทานตัดผาน
พ.ศ. 2522 ลว. 3 เม.ย.2522

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


232 (ช. 93)
นโยบายและแนวทางแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ
(ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2536)
คณะรัฐมนตรี

มีมติเมื่อวันที่ 4 พ.ค. 2536

1. เห็นชอบรางนโยบายและแนวทางการ และ 2. อนุมัติใหดําเนินการตอไปได


แกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ
ใหยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี
และหรือใหแกไขกฎหมายที่
กําหนดเปน ไมสอดคลองหรือขัดแยงกับ
นโยบายและแนวทางการแกไข
นโยบายและแนวทางแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ ปญหาบุกรุกที่ดินของรับขางตน

1. รัฐควรเรงรัดใหมีการ 2. รัฐไมควรใหออก 3. ที่ดินของรัฐที่มีผูบุกรุก 4. ที่สาธารณประโยชน


ดําเนินการออกเอกสารสิทธิ เอกสารสิทธิตาม ป.ที่ดิน ครอบครองและรัฐไมมีความ ที่ปาสงวนแหงชาติ
แกราษฎรในกรณี จําเปนจะตองสงวนไวอีกตอไป เสื่อมโทรม
แกผูบุกรุกที่ดินของรัฐ (ยกเวน ที่ดินของรัฐประเภท
- เขตอุทยานแหงชาติ
- เขตรักษาพันธุสัตวปา ที่มีผูบุกรุกครอบครอง
1.1 กรณีที่เปนผูครอบครอง 1.2 กรณีราษฎรที่อยูใน - เขตพื้นที่ตนน้ําลําธาร ทําประโยชน แตมิได
ทําประโยชนในที่ดินที่รัฐ บริเวณเขตที่ดินของรัฐ - พื้นที่ลุมน้ําชั้น 1 และชั้น 2 กําหนดเปนเขตปฏิรูป
สงวนหวงหามไวตาม กม. ที่ยังมีแนวเขตไมชัดเจน - พื้นที่สงวนหวงหามไวใช ที่ดิน
ประโยชนในราชการ และ
และหากพิสูจนไดวา ใหเรงดําเนินการสํารวจ - ที่ดินที่ยังไมหมดสภาพเปน ใหดําเนินการ
- ไดมากอนการสงวนหวง แนวเขตใหแนนอน ที่สาธารณประโยชนที่
ตามหลักเกณฑ
หามเปนที่ดินของรัฐ ประชาชนใชประโยชนรวมกัน)
เมื่อรัฐสํารวจและจัดทํา
หรือ แนวเขตที่ชัดเจนแลว 4.1 ใหเชาหรืออนุญาต
ใหดําเนินการตาม ใหเขาทําประโยชน โดย
กรณีเปนหมูบานเกาที่ กฎหมายปฏิรูปที่ดนิ เสียคาตอบแทน หรือ
ปรากฏวา
สามารถพิสูจนไดวา ไดรับเอกสารพิเศษที่มี
- เปนผูที่อยูมาแตดงั้ เดิมหรือ และเพื่อใหการ
ราษฎรครอบครองทํา หลักเกณฑทํานอง
- ครอบครองตอเนือ่ งมาจาก ดําเนินการเปนไป
ผูครอบครองที่ดินเดิม กินนอกเขตที่ดินของรัฐ ตามหลักการ เดียวกับเอกสาร ส.ป.ก.
ปฏิรูปที่ดินให
มากอนการสงวนหวงหามที่ดินของรัฐ ควรพิจารณาดําเนินการออก ไดผลอยางแทจริง ตามจํานวนเนื้อที่ทไี่ ดบุก
เอกสารสิทธิใหแกราษฎร รุกครอบครองทําประโยชน
สมควรให ส.ป.ก.
ใหสวนราชการที่เกีย่ วของเรงรัดดําเนินการ อยูเดิมแลวแตกรณี
ตามระเบียบขั้นตอน ปรับปรุง แนวทาง
- ตรวจสอบและ
ของกฎหมายตอไป ปฏิบัติดังนี้
- จัดทําทะเบียนบัญชีหรือจัดทําแผนงาน
และโครงการออกเอกสารสิทธิของผู
ครอบครองเหลานี้ ไวเปนหลักฐาน
ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน
233

3.1 ในเขต 3.2 การนํา 3.3 จํานวน 3.4 มาตรการใน แตตอ งไมสงู เกิน
ประกาศ ที่ดินของรัฐ เนื้อที่ การติดตามและ กวาที่สวนราชการที่
ปฏิรูปที่ดิน มาดําเนินการ ตรวจสอบการ รับผิดชอบพิจารณา
ปฏิรูปที่ดิน ควรกําหนด ครอบครองทํา เห็นสมควร
หากมีผูบกุ เนื้อที่สูงสุด ประโยชนของ
รุกถือครอง ให ส.ป.ก. สําหรับ สมาชิกผูไดรับ
การกําหนด กรณีการเชาในสวนที่
ที่ดิน และ พิจารณา สมาชิก สิทธิ
คาเชาหรือ เกินกวาจํานวนเนื้อที่ที่
เจาของที่ดิน ดําเนินการ แตละราย
คาตอบแทน สวนราชการผูรับผิดชอบ
ตอตานการ - จัดเก็บคา ให ส.ป.ก.
เห็นสมควร
ปฏิรูปหรือ เชาหรือ เทาที่จําเปน กําหนด
ใหกําหนดตาม
ไมใหความ คาชดเชย ตอการทํากิน มาตรการ
หลักการและ ใหคิดคาเชาหรือคา
รวมมือใน เขากองทุน แตละประเภท
วิธีการเกี่ยวกับ ตอบแทนในอัตรา
การกระจาย ปฏิรูปที่ดิน ใหสมาชิก คาเชาตาม กาวหนา
สิทธิการถือ - ตามความ ปฏิบัตติ าม พ.ร.บ.ปฏิรูป
ครองที่ดิน เหมาะสม และ หลักเกณฑ
ตาม ที่ดินฯ
หลักเกณฑ - ความอุดม เงื่อนไข โดยคํานึงถึงอัตรา
ให ส.ป.ก. และวิธีการใน สมบูรณในแต ตามที่ การเชาตาม พ.ร.บ.
ดําเนินการ สวนที่เกี่ยวกับ ละพื้นที่ของ กฎหมาย การเชาที่ดินเพื่อ
โดย คาเชาตาม เขตปฏิรูปที่ดิน กําหนดไว เกษตรกรรม พ.ศ.
พ.ร.บ.ปฏิรูป 2524 ดวย
ที่ดินเพื่อ
1. ขอความ เกษตรกรรม สําหรับพื้นที่ อยางเครงครัด
รวมมือจาก พ.ศ. 2518 สวนที่เกิน และโดยตอเนื่อง 4.2 ใหองคการบริหาร
ฝายปกครอง ความจําเปน ตลอดไป สวนจังหวัดเปนผูเก็บ
หรือสวน ของสมาชิก
เพื่อนําเงินไป คาเชาหรือคาตอบแทน
ราชการที่ ดําเนินการใน แตละราย
เกี่ยวของ โครงการพัฒนา โดยแบงออกเปน 2 กองทุน
ที่ดิน หรือนําไป ควรกําหนด
ใหดําเนินการ จัดหาที่ทํากิน
เงื่อนไขให
ตามกฎหมาย ใหแกเกษตรกรที่
ปลูกไมผล 1 ใน 3 สวน 2 ใน 3 สวน
แกผูตอ ตาน ไมมีที่ดินทํากิน
ใหเชาหรือ หรือไมยืนตน
โดยเครงครัด ตอไป
เชาซือ้ ตอไป เปนกองทุนพัฒนา เปนกองทุนพิทักษ
ชนบทและจังหวัด ปาไม และทรัพยากร
2. พรอมทั้ง
คาเชาควร ธรรมชาติในพื้นที่นั้น ๆ
รายงาน กบร.
ดําเนินการให
สอดคลองกับคา
เพื่อประสาน เชาตาม พ.ร.บ. 4.3 กําหนดเงื่อนไขใหปลูกไมยืนตน
งานแกไข การเชาที่ดินเพื่อ
ปญหาในทุก เกษตรกรรม ในพื้นที่สวนที่เกินความจําเปนตอการ
พื้นที่และ พ.ศ. 2524 ทํากินของเกษตรกรแตละราย
ทุกราย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


234

6. การดําเนินคดีกับผูบุกรุกที่ดินของรัฐ ตามความอุดมสมบูรณและ
ความเหมาะสม
เมื่อคดีถึงที่สุดแลว
5. ใหจัดสรรงบประมาณ กรณีที่มีความจําเปนในแง
ใหสวนราชการที่มีหนาที่รับผิดชอบ แกหนวยงานที่เกี่ยวของ อนุรักษหรือการปองกัน
การแพรกระจายดินเค็ม

เพื่อการผลิตกลาไมยืนตน
(1) ดําเนินการ พรอมทั้ง (2) ใหรายงาน ควรกําหนดเงื่อนไข
อยางเพียงพอ
บังคับคดีโดยทันที กระทรวงตน - หามใชพื้นที่ทํานา หรือ
สังกัด และ กบร. ทําพืช หรือ
ทราบดวย ที่จะบริการแกเกษตรกร
- กําหนดมาตรการฟนฟูที่
ในราคาตนทุน
เหมาะสมตอไป

หามมิใหละเลย ปลอยทิ้งเปนเวลาเนิ่นนาน ในพื้นที่ที่จะดําเนินการ


ตามขอ 4

ทั้งนี้ ควรมอบหมายให
และใหจัดสรรงบประมาณ
สําหรับโครงการจัดทําแนว
เขตพื้นที่สงวนหวงหาม
ผูตรวจราชการสํานัก และ ผูตรวจราชการของ ของรัฐ
นายกรัฐมนตรี หนวยงานตนสังกัด
ที่เกี่ยวของ
ใหชัดเจนและถาวรในทุก
โครงการของทุกสวนราชการ
ติดตามการบังคับคดีตอไป

จนเสร็จสิ้นคดี

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


235 (ช. 94)
หนาที่และทุนทรัพยในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมของเจาพนักงานที่ดนิ
คําสั่งกรมที่ดิน ที่ 955/2552 ยกเลิกคําสั่งกรมที่ดิน ที่
ลว. 22 พฤษภาคม 2552 2346/2539 ลว. 6 พ.ย. 2539
คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ใชบังคับในสํานักงานที่ดินกรุงเทพฯ
ที่ 66/2552 ลว. 18 ก.พ. 2552 กําหนดหนาที่และทุนทรัพยในการ และสาขา สํานักงานที่ดินจังหวัด
แตงตั้งเจาพนักงานที่ดิน จดทะเบียนฯ ของเจาพนักงานที่ดิน สํานักงานที่ดินจังหวัดสาขาและ
สํานักงานที่ดินสวนแยก
(1) เจาพนักงานที่ดินจังหวัด
หรือเจาพนักงานที่ดินจังหวัด หนาที่ กรณีที่ผูดํารงตําแหนงอยูปฏิบัติ ทุนทรัพย
สาขา หนาที่ราชการตามปกติ หาม
(2) นักวิชาการที่ดิน ตั้งแตระดับ มอบหมายใหบุคคลอื่นทําหนาที่
ปฏิบัติการขึ้นไปในฝายทะเบียน แทนเปนอันขาด
(3) เจาพนักงานที่ดิน ตั้งแต
ระดับปฏิบัติงานขึ้นไปในฝาย 1. กรณีเปนการจดทะเบียนประเภทที่ตอง
ทะเบียน มีการประเมินราคาทุนทรัพย เชน ขาย
(4) นายชางรังวัด ตั้งแตระดับ ขายฝาก ให แลกเปลี่ยน ฯลฯ จํานวน
ชํานาญงานขึ้นไปในฝายรังวัด ทุนทรัพยในการจดทะเบียนใหถือเอา
(5) ข า ราชการพลเรื อ นสามั ญ ราคาประเมินทุนทรัพยเปนเกณฑ
ประเภทวิ ช าการ ตั้ ง แต ร ะดั บ 2. กรณีเปนเปนการจดทะเบียนประเภท
ปฏิ บั ติ ก ารขึ้ น ไป หรื อ ประเภท ที่ไมตองประเมินราคาทุนทรัพย เชน
ทั่วไป ตั้งแตระดับปฏิบัติงานขึ้น จํานอง เชา ฯลฯ ใหถือเอาจํานวนทุน
ไป ซึ่ งอธิ บดีกรมที่ดิ นแตง ตั้งให ทรัพยที่ผูขอแสดงเปนเกณฑ
ทําหนาที่ในตําแหนงตาม (2) (3)
และ (4) เปนการชั่วคราว

ตําแหนง ทุนทรัพยที่จดทะเบียนได

(1) เจาพนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร
เจาพนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร
สาขา เจาพนักงานที่ดินจังหวัด หรือ ไมจํากัดจํานวนทุนทรัพย
เจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ในฐานะ
เจาพนักงานที่ดิน

(2) เจาพนักงานที่ดินอื่น ๆ ใน จํากัดจํานวนทุนทรัพย


สํานักงานที่ดิน ลดลั่นกันตามความเหมาะสม

แตละสํานักงานจัดทําคําสั่งกําหนดทุน
ทรัพยเองโดยพิจารณาใหเหมาะสมกับ
อัตรากําลัง ปริมาณงานและระดับตําแหนง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


236

ในสํานักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร, สํานักงาน
ที่ดินกรุงเทพมหานครสาขา, สํานักงานที่ดิน
จังหวัด และสํานักงานที่ดินจังหวัดสาขา

1. สํานักงานที่ดินฯ ที่มีเจาพนักงานที่ดินจังหวัด/ 2. สํานักงานที่ดินฯ ที่มีเจาพนักงานทีด่ ิน


สาขาเปนอํานวยการระดับสูงหรืออํานวยการระดับตน จังหวัดสาขา เปนระดับอื่นนอกจาก 1.

เจาพนักงานที่ดินกรุงเทพฯ หัวหนาฝายทะเบียน เจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา หัวหนาฝายทะเบียน


และสาขา
เจาพนักงานที่ดินจังหวัด
และสาขา อํานาจหนาที่ อํานาจหนาที่ (เฉพาะ อํานาจหนาที่
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ ตําแหนง) 1. เชนเดียวกับ
อํานาจหนาที่ (เฉพาะตําแหนง) งานดานทะเบียนที่ดิน 1. เชนเดียวกับสํานักงาน สํานักงานที่ดินฯ ที่มี
1. ลงลายมือชื่อในการออกหนังสือ สิ่งปลูกสรางและ ที่ดินฯ ที่มีเจาพนักงาน เจาพนักงานที่ดิน
แสดงสิทธิในที่ดิน, หนังสือ อาคารชุด ทุกกรณี ที่ดินจังหวัด/สาขา เปน จังหวัดเปนอํานวยการ
กรรมสิทธิ์หองชุด
อํานวยการสูง หรือ สูงหรืออํานวยการตน
2. การสั่งเปรียบเทียบการออก ยกเวน ที่ระบุใหเปน อํานวยการตน 2. ยกเวน การสัง่ การ
เอกสารสิทธิในที่ดินตาม ม. 60 ป.ที่ดิน
หนาที่ของ 2. ยกเวน การสัง่ การ เกี่ยวกับหนังสือมอบ
3, การสั่งแกไขแผนที่และหรือเนื้อที่
เจาพนักงาที่ดิน เกี่ยวกับหนังสือมอบ อํานาจที่เปนการโอน
ตาม ม.69 ทวิ แหง ป.ที่ดิน
4. การสั่งโอนมรดก กรุงเทพฯ และสาขา อํานาจที่เปนการโอนทาง ทางทะเบียน ใหมี
5. การสั่งการเรือ่ งเปรียบเทียบมรดก เจาพนักงานที่ดิน ทะเบียน ใหมีอํานาจสั่ง อํานาจสั่งการในกรณี
6. การสั่งใบแทน จังหวัดและสาขา การในกรณีที่ทุนทรัพย ที่ทุนทรัพยไมเกิน
7. การสั่งการอายัด (ตามขางหนา) เกินทุนทรัพยที่ หน.ฝาย ทุนทรัพยที่ หน.ฝาย
8. การจดทะเบียนนิติบุคคล ทะเบียนมีอํานาจจด ทะเบียนมีอํานาจจด
หมูบานจัดสรร
หัวหนาฝายทะเบียนมี ทะเบียนหรือเกินกวา 5 ทะเบียนหรือไมเกินกวา
9. การจดทะเบียนยกเลิกนิติบุคคล
อํานาจสั่งการใบมอบ ลาน 5 ลาน
หมูบานจัดสรร
อํานาจ
10. การจดทะเบียนอาคารชุด
1. สั่งการเกี่ยวกับ
11. การจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด
หนังสือมอบอํานาจที่ หากมีผูรักษาราชการแทนหรือ
12. การจดทะเบียนเลิกอาคารชุด
เปนการโอนทาง
13. สั่งการเกี่ยวกับหนังสือมอบ ผูรักษาการในตําแหนง มีอํานาจ
ทะเบียน ซึ่งมีทุนทรัพย
อํานาจที่เปนการโอนทางทะเบียน ปฏิบัติหนาที่ดังกลาวดวย
ไมเกินทุนทรัพยที่มี
เชน ขาย ขายฝาก ให แลกเปลี่ยน
อํานาจจดทะเบียน
ฯลฯ ซึ่งมีทุนทรัพยเกินทุนทรัพย
หรือไมเกิน 10 ลานบาท
ที่ หน.ฝายทะเบียนมีอํานาจจด
2. สั่งการเกี่ยวกับหนังสือ
ทะเบียนหรือเกินกวา 10 ลานบาท
มอบอํานาจที่ไมเปน
การโอนทางทะเบียน

หากมีผูรักษาราชการแทนหรือรักษาการในตําแหนง
ปฏิบัติหนาที่แทน มีอํานาจปฏิบัติหนาที่ดังกลาวดวย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


237

กรณีเกี่ยวกับงานดานทะเบียนหาก กรณีที่หัวหนาฝายทะเบียนไมอยูหรืออยูแตไม
- เจาพนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร อาจปฏิบัติหนาที่ได และไมมีผูรักษาราชการแทน
และสาขา หรือไมมีผูรักษาการในตําแหนง
- เจาพนักงานที่ดินจังหวัดหรือ
เจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา
สําหรับงานดานทะเบียนที่ดิน
ใหเจาพักงานที่ดินอาวุโสในฝายทะเบียนปฏิบัติ
ไมอยูหรืออยู แตไมอาจปฏิบัติหนาที่ได หนาที่แทนตามลําดับ

ใหหัวหนาฝายทะเบียนปฏิบัติหนาที่แทน โดยใหมีอํานาจหนาที่และขอยกเวนเชนเดียวกับ
หัวหนาฝายทะเบียนที่ตนปฏิบัติหนาที่แทน

ยกเวน สิ่งตอไปนี้ทําไมไดหากแคปฏิบัติ
หนาที่แทนเทานั้น คือ เรื่องที่กําหนดใหเปน
อํานาจโดยเฉพาะของเจาพนักงานที่ดนิ
จังหวัด/สาขา (ขางตน)

สิ่งที่เปนอํานาจเฉพาะตองใหผูรักษาราชการแทน
หรือผูรักษาการในตําแหนงเจาพนักงานที่ดิน
จังหวัด/สาขาปฏิบัติหนาที่เทานั้น

กรณีที่เจาพนักงานที่ดินเห็นวาบุคคลใดไมควรจดทะเบียน

* ถาเจาพนักงานทีด่ ินกรุงเทพฯ และสาขา หรือ


เจาพนักงานที่ดินจังหวัดและสาขา เห็นวา

เจาพนักงานที่ดินระดับใด ซึ่งเปนเจาพนักงาน ตามคําสั่งกระทรวงมหาดไทย


ที่ดินตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ที่ 66/2552 ลว. 18 ก.พ. 2552
แตงตั้งหรือบุคคลใด แตงตั้งเจาพนักงานที่ดิน

ไมสมควรใหจดทะเบียน หรือ
ควรใหจดทะเบียนเฉพาะบางเรื่อง

ใหเจาพนักงานที่ดินกรุงเทพมหานครและ
สาขา หรือเจาพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา ใหทําคําสั่งเปนลายลักษณอกั ษร
ขางตน มีอํานาจสั่งไดตามความเหมาะสม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


238
กรณีสํานักงานที่ดินสวนแยก

สํานักงานที่ดินสวนแยก

หนาที่ ทุนทรัพย

เชนเดียวกับสํานักงานที่ดินที่มี เชนเดียวกับสํานักงานที่ดิน
เจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา จังหวัดสาขาที่เจาพนักงานที่ดิน
เปนระดับอื่นนอกจากอํานวยการ จังหวัดสาขาไมใชอํานวยการตน
สูงหรืออํานวยการตน (ตาม 2.)
(ตาม 2.)

เจาพนักงานที่ดินหัวหนาสวนแยก หัวหนาฝายทะเบียน ทุนทรัพยจด


ตําแหนง
ทะเบียนได
อํานาจหนาที่ (เฉพาะตําแหนง) อํานาจหนาที่
1. เชนเดียวกับสํานักงานที่ดิน เชนเดียวกับสํานักงาน ไมจํากัด
(1) เจาพนักงานที่ดิน
สาขาที่เจาพนักงานที่ดินจังหวัด ที่ดินสาขาที่เจาพนักงาน ทุนทรัพย
หัวหนาสวนแยก
สาขาไมใชอํานวยการตน ที่ดินจังหวัดสาขาไมใช
2. ยกเวน อํานวยการตน
การปฏิบัติงานที่กฎหมาย (2) เจาพนักงาน จํากัดทุนทรัพย
บัญญัติใหเปนอํานาจหนาที่ของ ที่ดินคนอื่นใน ลดหลั่นกันตาม
กรณีเจาพนักงานทีด่ ิน
เจาพนักงานที่ดินจังหวัดหรือ สํานักงานที่ดิน ความเหมาะสม
หัวหนาสวนแยกหรือ
เจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา สวนแยก
หัวหนาฝายทะเบียนอยู
โดยเฉพาะ เชน การสั่งการ หรือไมอยู กรณีทุน
เปรียบเทียบตาม ม.60 ป.ที่ดิน ทรัพยจดทะเบียนและ
ตองเสนอใหเจาพนักงานที่ดิน กรณีไมควรใหผูใดจด สํานักงานที่ดินสวนแยกทําคําสั่ง
จังหวัด/สาขา ที่สวนแยกขึ้นตรง ทะเบียนหรือจดไดบาง กําหนดทุนทรัพยเองโดยพิจารณาให
เปนผูสั่งการตามกฎหมาย เรื่อง ใหถือปฏิบัติ เหมาะสมกับอัตรากําลัง ปริมาณงาน
เชนเดียวกับกรณี และระดับตําแหนง
สํานักงานที่ดินจังหวัด
สาขาโดยอนุโลม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


คําพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับที่ดิน
ตั้งแต พ.ศ. 2525 เปนตนไป
239
แหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2515) หมวด 4 ขอ 9 (2)(ค)
พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดนิ กํ า หนดไว ด ว ย จึ ง จะออกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า
พ.ศ. 2497 ประโยชนใหได ดังนั้น เมื่อผูวาราชการจังหวัดไดมี
หนังสื อให โ จทก อ อกจากที่พิพ าทอัน เปนข อ แสดงให
มาตรา 5 เห็ น ว า ไม มี ก ารอนุ มั ติ ใ ห อ อกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า
ประโยชนเฉพาะรายสําหรับที่ดินที่พิพาทแลวที่ดินที่พิพาท
คําพิพากษาฎีกาที่ 1661-1667/2526 จึงไมอยูในหลักเกณฑที่ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดิน
ที่พิพาทเดิมเปนที่ดินรกรางวางเปลาอันเปนสา แหงชาติกําหนดไวในอันที่จะออกหนังสือรับรองการทํา
ธารณสมบัติของแผนดินตามประมวลกฎหมายแพงและ ประโยชนใหโจทกได
พาณิชย มาตรา 1304(1) ซึ่งพระราชบัญญัติ ออกโฉนด
ที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 ที่ใชบังคับในระหวางโจทก
คําพิพากษาฎีกาที่ 280/2537
เขาครอบครองที่พิพาทบัญญัติวา จะตองขอจับจองและ
ที่ดินของโจทกทั้งหาเปนที่ดินมือเปลา ซึ่งได
ไดรับใบอนุญาตใหจับจองจากพนักงานเจาหนาที่กอน
ครอบครองทําประโยชนตอเนื่องจากผูครอบครองเดิม
จึงจะมีสิทธิเขาครอบครองทําประโยชนในที่ดิน ผูใดฝา
ตลอดมากอน ประมวลกฎหมายที่ดินฯ ใชบังคับ แต
ฝ น เข า ครอบครองพนั ก งานเจ า หน า ที่ มี อํ า นาจสั่ ง ให
โจทกทั้งหามิไดแจงการครอบครองไว แมภายหลังจะมี
ออกไปเสียจากที่ดินได หากยังขัดคําสั่งก็มีความผิดตอง
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ออกมายกเลิกความ
ระวางโทษ เมื่อโจทกมิไดรับอนุญาตแมตอมาจะไดแจง
ในมาตรา 5 วรรคสองแหงพระราชบัญญัติใหใชประมวล
การครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ ดิ น ก็ ไ ม
กฎหมายที่ ดิ น พ.ศ. 2497 แต ก็ ไ ม มี ผ ลบั ง คั บ ย อ นหลั ง
ก อ ให เ กิ ด สิ ท ธิ แ ก โ จทก ที่ พิ พ าทยั ง คงเป น สาธารณ
โจทกทั้งหาจึงไมมีสิทธิครอบครองขึ้นมาใหมเวนแตจะ
ส ม บั ติ ข อ ง แ ผ น ดิ น อ ยู เ ช น เ ดิ ม โ จ ท ก ไ ม มี สิ ท ธิ
เขาหลักเกณฑตาม มาตรา 58 ทวิ, 59 ทวิ แหงประมวล
ครอบครองที่ จ ะเรี ย กร อ งให ก องทั พ เรื อ จํ า เลยซึ่ ง เข า
กฎหมายที่ดินฯ และระเบียบของคณะกรรมการจัดสรร
ครอบครองที่ดินตามอํานาจและหนาที่ที่กําหนดไวในพระ
ที่ดินแหงชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2515) หมวด 2 ขอ 4 ซึ่ง
ราชกฤษฎี ก าจั ด ตั้ ง นิ ค มสร า งตนเองในท อ งที่ ตํ า บล
เปนกรณีมีเหตุสมควรและไมมีเจตนาฝาฝน เมื่อโจทกทั้ง
บางพระอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2499 จําตอง
ห า อ า งว า ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ของตนซึ่ ง ได ค รอบครอง
จัดสรรที่ดินหรือจายเงินชดเชยคาที่ดินแกโจทก
ตอเนื่องจากผูครอบครองเดิมตลอดมา แมมิไดแจงการ
ครอบครองไวแตก็ยังมีสิทธิครอบครองอยูตาม ประมวล
คําพิพากษาฎีกาที่ 293/2535 กฎหมายที่ดินฯ มาตรา 58 ทวิ และ 59 ทวิ และไดยื่นคํา
โจทกเขาจับจองครอบครองที่ดินซึ่งเปนที่รก ร อ งต อ จํ า เลยเพื่ อ ขอให อ อกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า
รางวางเปลาเนื้อที่ 12 ไรเศษ หลังจากที่ประกาศใช ประโยชนและออกโฉนดที่ดินใหแกโจทกทั้งหา จําเลย
ประมวลกฎหมายที่ดินแลวจึงเปนที่ดินที่ไมอาจจะแจง ทั้ ง สามโต แ ย งว า ที่ ดิ น โจทก ทั้ ง ห า ครอบครองเป น สา
การครอบครองไดตามมาตรา 5 แหงพระราชบัญญัติให ธารณสมบัติของแผนดินและไมยอมออกหนังสือรับรอง
ใช ป ระมวลกฎหมายที่ ดิ น พ.ศ. 2497 ถึ ง แม จ ะอยู ใ น การทําประโยชนและโฉนดที่ดินใหแกโจทกทั้งหายอม
หลั กเกณฑ ที่ จ ะออกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน เปนการโตแยงสิทธิของโจทกทั้งหาแลวโจทกทั้งหาจึงมี
เฉพาะรายไดตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายที่ดิน อํานาจฟองจําเลยทั้งสาม
มาตรา 58 ทวิ ( 3) ก็ ต ามแต ก็ ต อ งได รั บ อนุ มั ติ จ ากผู ว า
ราชการจังหวัดตามที่ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดิ น

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


240

คําพิพากษาฎีกาที่ 1254/2530 ไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ตามบทกฎหมายกอนวันที่ประมวล


คํ า ว า "ที่ ดิ น รกร า งว า งเปล า " ตาม ป.พ.พ. กฎหมายนี้ใชบังคับ หรือไดมาซึ่งโฉนดที่ดินตาม
มาตรา 1304 (1) ตรงกับคําวา "ที่ดินรกรางวางเปลาอัน บทบัญ ญั ติแ หง ประมวลกฎหมายนี้ (2) ไดมาซึ่ ง
เปนสาธารณสมบัติของแผนดิน"ตามพ.ร.บ. วาดวยการ กรรมสิ ท ธิ์ ต ามกฎหมายว า ด ว ยการจั ด ที่ ดิ น เพื่ อ การ
หวงหามที่ดินรกรางวางเปลาอันเปนสาธารณสมบัติของ ครองชีพหรือกฎหมายอื่น และมาตรา 4 บัญญัติวา
แผนดิน พ.ศ. 2478 การดําเนินการจัดหาที่ดินรกรางวาง ภายใตบังคับมาตรา 6 บุคคลใดไดมาซึ่งสิท ธิ
เปล า อั น เป น สาธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ทํ า เป น ที่ ครอบครองในที่ดินกอ นวันที่ประมวลกฎหมายนี้ใ ช
สาธารณะประจํ า ตํ า บล และหมู บ า นตามหนั ง สื อ ของ บังคับ ใหมีสิทธิครอบครองสืบไปและใหคุมครอง
กระทรวงมหาดไทยถึง คณะกรรมการจัง หวัด ทุ ก ตลอดถึงผูรับโอนดวยจากบทบัญญัติ 3 มาตราดังกลาว
จังหวัดนั้น จะตองปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ดังกลาวกลาวคือ จะเห็นไดวา การไดกรรมสิท ธิ์ในที่ดิน หรือ สิท ธิ
ตองออกเปนพระราชกฤษฎีกาและประกาศในราชกิจจา ครอบครองโดยชอบจะต อ งเปน การได ม า หรื อ
นุเบกษาเมื่อไมปรากฏวา ไดมีการดําเนินการตาม พ.ร.บ. ครอบครองโดยชอบกอน พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดินฯ หรือ
วาดวยการหวงหามที่ดินรกรางวางเปลาอันเปนสาธารณ ได ม าโดยการจั ด ที่ ดิ น เพื่ อ การครอบครองชี พ หรื อ
สมบัติของแผนดินฯ ซึ่งมีผลบังคับอยูในขณะนั้นแมจะ กฎหมายอื่นแตผูครอบครองเดิม ไดค รอบครองที่ดิน
ได มี ก ารขึ้ น ทะเบี ย นที่ พิ พ าทเป น ที่ ส าธารณะประจํ า พิพาทในป 2498 อันเปนเวลาภายหลัง พ.ร.บ. ฉบับ
หมูบาน ก็ไมมีผลใหที่พิพาทเปนที่สาธารณะประจํา ดังกลาวประกาศใชแลวและไมปรากฏขอเท็จจริงวาได
หมู บ า นไปได โจทก เ ข า ครอบครองที่ พิ พ าทก อ น ครอบครองที่ดินโดยชอบตามบทกฎหมายใด ดังนั้น
ประกาศใชประมวลกฎหมายที่ดิน ทางราชการไดออก การครอบครองของผูครอบครองเดิมดังกลาว จึงเปน
ใบเหยียบย่ําให เมื่อประกาศใช ป.ที่ดินโจทกไดแจงการ การครอบครองโดยไมชอบดวยกฎหมาย ที่ดินพิพาทจึง
ครอบครองไวแลว ทั้งยังครอบครองตลอดมา ที่พิพาทจึง ไม ต กเป น กรรมสิ ท ธิ์ ข องผู ค รอบครองเดิ ม ก อ นขาย
เปนสิทธิของโจทก ใหแกจําเลย และตาม ป.ที่ดินฯ มาตรา 2 บัญญัติวา
ที่ดินที่มิไดตกเปนกรรมสิทธิ์ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
คําพิพากษาฎีกาที่ 4431/2550 ใหถือวาเปนของรัฐ ดังนั้น ที่ดินพิพาทจึงตองถือวาเปน
การจะได ที่ ดิ น เป น กรรมสิ ท ธิ์ ห รื อ สิ ท ธิ ที่ดินของรัฐอยู
ครอบครองโดยชอบดวยกฎหมายนั้นไดมีบัญญัติไวใน ตาม พ.ร.บ.ปาสงวนแหงชาติฯ มาตรา 12
พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดินฯ มาตรา 5 วรรคหนึ่ง วา ใหผูที่ เป น กรณี ที่ เ มื่ อ มี บุ ค คลใดอ า งว า มี สิ ท ธิ ห รื อ ได ทํ า
ประโยชน ใ นเขตป า สงวนแห ง ชาติ ใ ดอยู ก อ นวั น ที่
ได ค รอบครองและทํา ประโยชน ใ นที ่ ด ิ น อยู  ก  อ น
กฎกระทรวงกํ า หนดป า สงวนแห ง ชาติ นั้ น ใช บั ง คั บ
วั น ที่ ป.ที่ดินฯ ใชบังคับโดยไมมีหนังสือสําคัญแสดง
กรรมสิทธิ์ที่ดิน แจงการครอบครองที่ดินตอนายอําเภอ บุคคลนั้นก็สามารถยื่นคํารองโดยอางในคํารองวา ตน
ท อ งที่ ภ ายในหนึ่ ง ร อ ยแปดสิ บ วั น นั บ แต วั น ที่ เป น ผู มี สิ ท ธิ ห รื อ ได ทํ า ประโยชน ใ นเขตป า สงวน
พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับตามหลักเกณฑและวิธีการที่ แหงชาติใดอยู กอ นวั น ที่ก ฎกระทรวงกําหนดเปนป า
สงวนแหงชาตินั้นใชบังคับเทานั้น และเมื่อไดยื่นคํา
รัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา และ
รองดังกลาวแลว ผลของการยื่นคํารองจะเปนไปตาม
วรรคสองบัญญัติวา การแจงการครอบครองตามความ
ในมาตรานี้ ไ ม ก อ ให เ กิ ด สิ ท ธิ ขึ้ น ใหม แ ก ผู แ จ ง แต มาตรา 13 แหง พ.ร.บ.ปาสงวนแหงชาติฯ คือ เมื่อ
ประการใด และตาม ป.ที่ดินฯ มาตรา 3 บัญญัติวา คณะกรรมการสําหรับปาสงวนแหงชาติไดรับคํารอง
บุ ค คลย อ มมี ก รรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ ดิ น ในกรณี ต อ ไปนี้ (1) ตามมาตรา 12 แลว ใหสอบสวนตามคํารองนั้น ถา

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


241
ปรากฏว า ผู ร อ งได เ สี ย สิ ท ธิ ห รื อ เสื่ อ มเสี ย ประโยชน กันที่ดินพิพาทออกจากเขตปาสงวนแหงชาติก็หามีผล
อยางใด ๆ ก็ใหคณะกรรมการพิจารณากําหนดคา ลบลางทําใหที่ดินพิพาทไมใชที่ดินที่อยูในเขตปาสงวน
ทดแทนใหตามที่เห็นสมควร หาทําใหผูรองมีสิทธิ แหงชาติแตอยางใด ที่ดินพิพาทก็ยังคงเปนที่ดินที่อยูใน
ครอบครองหรือมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินแตอยางใดไม เปน เขตปาสงวนแหงชาติ เมื่อจําเลยเปนผูที่ไมมีสิทธิอยาง
เพี ย งทํ า ให ผู ร อ งมี สิ ท ธิ ไ ด ค า ทดแทนในกรณี ห าก ใด ๆ ในที่ดินพิพาทและที่ดินพิพาทเปนที่ดินที่อยูใน
ปรากฏวาผูรองไดเสียสิทธิหรือเสื่อมเสียประโยชนใน เขตปาสงวนแหงชาติแลว จึงถือไดวาเปนที่ดินของรัฐ
ที่ดินดังกลาวเทานั้น ซึ่งตามมาตรา 12 มีขอยกเวนอยู ประเภทปาสงวนแหงชาติที่สามารถนํามาปฏิรูปที่ดิน
ในวรรคสามวา การยื่นคํารองดังกลาวมิใหใชบังคับแก เพื่อเกษตรกรรมไดตาม พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อ
กรณีสิทธิในที่ดินที่บุคคลมีอยูตาม ป.ที่ดินฯ ซึ่งก็ เกษตรกรรมฯ และกรมปาไมไดสงมอบที่ดินพิพาทซึ่ง
หมายความวา หากผูรองเปนผูที่มีสิทธิครอบครองใน อยูในเขตปาสงวนแหงชาติดังกลาวใหแกโจทกนําไป
ที่ดินหรือมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยชอบดวยกฎหมาย ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมตาม พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดิน
ตาม ป.ที่ดินฯ อยูกอนแลว ก็ไมจําเปนตองยื่นคํารอง เพื่อเกษตรกรรมฯ มาตรา 26 (4), 36 ทวิ แลว โจทกจึง
ภายในกําหนด 90 วัน นับแตวันที่กฎกระทรวงนั้นใช ไมจําเปนตองจัดซื้อหรือเวนคืนที่ดินพิพาทกลับมาเปน
บังคับ ดังนั้น ตามฎีกาของจําเลยที่อางวา ผูครอบครอง ของรัฐเสียกอนตามที่จําเลยกลาวอางแตอยางใด ดังนั้น
เดิมในที่ดินพิพาทไดยื่นคํารองตามมาตรา 12 ดังกลาว โจทกย อ มมีอํา นาจนํา ที่ดินพิ พาทไปปฏิรูป ที่ ดินเพื่ อ
แลวนั้น และคณะอนุกรรมการปาสงวนแหงชาติไดมี เกษตรกรรมได
มติใหกันที่ดินพิพาทออกจากพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ มติ ค ณะรั ฐ มนตรี ไ ม ใ ช ก ฎหมายเป น เพี ย ง
เปนผลใหกรมปาไมจะตองดําเนินการกันที่ดินพิพาทที่ แนวทางปฏิบัติเทานั้น ซึ่งจะทําไดหรือไมไดเพียงใด
มีการคัดคานดังกลาวออกจากพื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่ ก็ตองเปนไปตามที่กฎหมายในเรื่องนั้นบัญญัติไว ใน
ไดประกาศขึ้นภายหลัง จึงเปนความเขาใจที่ผิดพลาด กรณี เ กี่ ย วกั บ การปฏิ รู ป ที่ ดิ น เพื่ อ เกษตรกรรมก็ ต อ ง
คลาดเคลื่อน การที่คณะอนุกรรมการปาสงวนแหงชาติ เปนไปตาม พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมฯ
ได มี ม ติ ใ ห กั น ที่ ดิ น พิ พ าทออกจากพื้ น ที่ ป า สงวน ดังนั้น บุคคลใดจะมีสิทธิที่จะไดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
แห งชาติ ก็เป น เพีย งความเห็น ของคณะอนุก รรมการ ตาม พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมฯ ก็ตอง
เทานั้นหามีผลตามกฎหมายในอันที่กรมปาไมจะตอง เปนผูที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายดังกลาวกําหนดหา
ปฏิบัติตาม เนื่องจากความเห็นของคณะอนุกรรมการ ใช จ ะถือ ตามมติค ณะรั ฐ มนตรีดั ง กล า วแต เพี ย งอย า ง
ดังกลาวจะตองเสนอใหคณะกรรมการสําหรับปาสงวน เดียวตามที่จําเลยอางในฎีกาแตอยางใดไม ซึ่งตามที่
แหงชาติพิจารณากอน เมื่อคณะกรรมการสําหรับปา พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมฯ มาตรา 4
สงวนแห ง ชาติ ยั ง ไม ไ ด พิ จ ารณาวิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดใน บัญญัติความหมายของคําวา "เกษตรกร" หมายความวา
ประเด็นดังกลาว จึงหามีผลผูกพันใหกรมปาไมตอง ผู ป ระกอบอาชี พ เกษตรกรรมเป น หลั ก และให
ปฏิบัติตามดังที่จําเลยไดกลาวอางในฎีกาแตอยางใดไม หมายความรวมถึงบุคคลผูยากจนหรือผูจบการศึกษา
ดังนั้น เมื่อผูครอบครองที่ดินพิพาทเดิมเปนผูซึ่งไมมี ทางเกษตรกรรม หรือผูเปนบุตรของเกษตรกรบรรดา
สิทธิครอบครองหรือ มีกรรมสิทธิ์อยางใด ๆ ตาม ซึ่ ง ไม มี ที่ ดิ น เพื่ อ เกษตรกรรมเป น ของตนเองและ
กฎหมายในที่ดินพิพาทแลว จําเลยยอมไมมีสิทธิดีกวาผู ประสงคจะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนหลักตาม
ครอบครองเดิมในที่ดินพิพาทดังกลาว จําเลยจึงหามี หลักเกณฑและเงื่อนไขที่กําหนดใน พ.ร.ฎ. ดวย และตาม
สิทธิครอบครองหรือกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทไม และ ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมวา
ความเห็นของคณะอนุกรรมการปาสงวนแหงชาติที่ให ด ว ยหลั ก เกณฑ วิ ธี ก ารและเงื่ อ นไขในการคั ด เลื อ ก

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


242
เกษตรกรซึ่งจะมีสิทธิไดรับที่ดินจากการปฏิรูปที่ดิน
มาตรา 9
เพื่อเกษตรกรรมฯ ขอ 6 (6) ระบุวาตองเปนผูไมมีที่ดิน
เพื่อประกอบเกษตรกรรมเปนของตนเอง หรือของ คําพิพากษาฎีกาที่ 7216/2542
บุคคลในครอบครัวเดียวกัน หรือมีที่ดินเพียงเล็กนอย การโอนที่ดินที่ยังไมมีใบจองกอนเวลาที่ทาง
แตไมเพียงพอแกการประกอบเกษตรกรรมเพื่อเลี้ยงชีพ ราชการจะออกใบจองโดยการสงมอบการครอบครองไม
แสดงให เ ห็ น ว า เจตนารมณ ข องการปฏิ รู ป ที่ ดิ น เพื่ อ เปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย คือ พระราชบัญญัติ
เกษตรกรรมก็ เ พื่ อ ช ว ยให เ กษตรกรรมก็ เ พื่ อ ช ว ยให ใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 8 วรรคสอง
เกษตรกรมีที่ดินทํากิน และเกษตรกรผูนั้นจะตองไมมี จึ ง ไม ต กเป น โมฆะตามประมวลกฎหมายแพ ง และ
ที่ดินประกอบเกษตรกรรมเปนของตนเองหรือมีที่ดิน พาณิชย มาตรา 150
เพียงเล็กนอยไมเพียงพอแกการครองชีพหรือตองเชา การโอนที่ ดิ น ที่ ยั ง ไม ไ ด รั บ คํ า รั บ รองจาก
ที่ดินของผูอื่นประกอบเกษตรกรรม เมื่อจําเลยมีที่ดิน นายอําเภอวาไดทําประโยชนแลวโดยการสงมอบการ
ของตนเองจํานวน 108 แปลง และจําเลยประกอบอาชีพ ครอบครองมิ ไ ด เ ป น การโอนสิ ท ธิ ค รอบครองตาม
อื่นนอกจากดานการเกษตรโดยประกอบอาชีพคาขาย มี ความหมายแหงพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมาย
หุ น อยู ใ นนิ ติ บุ ค คลประเภทบริ ษั ท จํ า กั ด และห า ง ที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 9 จึงไมตกเปนโมฆะปญหานี้
หุนสวนจํากัดรวม 16 แหง จึงถือไดวาจําเลยมีที่ดิน จํ า เลยมิ ไ ด ฎี ก า แต เ ป น ป ญ หาอั น เกี่ ย วด ว ยความสงบ
ประกอบเกษตรกรรมเป น ของตนเองและมี ร ายได เรีย บรอยของประชาชนศาลฎีกายกขึ้นวินิ จ ฉัยไดตาม
เพียงพอแกการครองชีพแลว และไมถือวาจําเลยเปนผูที่ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 142(5)
ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนหลักแตอยางใด จําเลย ประกอบดวยมาตรา 246 และ 247
ยอมขาดคุณสมบัติในการยื่นคําขอเขาทําประโยชนใน กอนที่ทางราชการจะออกใบจอง น. โอนที่ดิน
ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน การที่คณะกรรมการปฏิรูป ที่ยังไมมีใบจองให ส. เขาครอบครองทําประโยชนตลอด
ที่ ดิ น เพื่ อ เกษตรกรรมมี คํ า สั่ ง ให เ พิ ก ถอนหนั ง สื อ มา ถือวา น. แสดงเจตนาสละการยึดถือครอบครองอยูเดิม
อนุญาตใหเขาทําประโยชนในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก. ใหแก ส. การครอบครองของ น. ยอมสิ้นสุดลงตาม
4-01 ก.) ในที่ดินพิพาทที่ออกใหแกจําเลยจึงชอบแลว ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1377 วรรคแรก
ถึงแมในตอนแรก โจทกไดมอบหนังสืออนุญาตใหเขา ส. จึงไดซึ่งสิทธิครอบครองที่ดิน เมื่อ ม. เขามาปลูกสราง
ทําประโยชนในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก 4-01 ก.) ใหแก บ า นอยู อ าศั ย ในที่ ดิ น ที่ ยั ง ไม มี ใ บจองที่ ส. มี สิ ท ธิ
จําเลยไปแลว แต เมื่อมาตรวจสอบพบในภายหลังวา ครอบครองโดยมิไดรับความยินยอมจาก ส. จึงเปนการ
จําเลยเปนผูขาดคุณสมบัติดังกลาวก็สามารถทําการเพิก ละเมิดตอ ส. ส. มีสิทธิขับไล ม. และบริวารใหรื้อถอน
ถอนไดเนื่องจากจําเลยเปนผูที่ไมมีสิทธิที่จะไดหนังสือ บานเรือน สิ่งปลูกสรางใด ๆ ออกไปจากที่ดินพิพาทได
อนุญาตใหเขาทําประโยชนในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.
4-01 ก.) มาตั้งแตตน และเมื่อเพิกถอนการอนุญาตให คําพิพากษาฎีกาที่ 6511/2543
จําเลยเขาทําประโยชนในเขตปฏิรูปที่ดินแลว จําเลยไม จําเลยฎีกาวา สัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทตกเปน
ยอมออกไปจากที่ดินพิพาทซึ่งเปนของโจทก โจทก โมฆะเสียเปลาตั้งแตวันทําสัญญาเพราะเปนที่ดินมือเปลา
ยอมมีอํานาจฟองขับไลจําเลยได ซึ่งไมมีคํารับรองจากนายอําเภอวาไดทําประโยชนแลว
อีกทั้งขอความที่ระบุไวในสัญญาซื้อขาย ไมมีขอความใด
ที่ ร ะบุ ว า จะไปทํ า การโอนที่ ดิ น กั น เมื่ อ ไร จึ ง ตกเป น
โมฆะตามพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


243
พ.ศ. 2497 มาตรา 9 จําเลยไดยกปญหานี้ขึ้นวากลาวใน คําพิพากษาฎีกาที่ 5166/2531
ชั้นอุทธรณแลวซึ่งเปนปญหาขอกฎหมายอันเกี่ยวดวย ขณะใช บั ง คั บ พระราชกฤษฎี ก ากํ า หนดเขต
ความสงบเรียบรอยของประชาชน การที่ศาลอุทธรณไม หวงหามที่ดินอําเภอปากน้ําโพ อําเภอพยุหคีรี อําเภอ
วินิจฉัยใหจึงไมชอบ โกรกพระ จังหวัดนครสวรรค พุทธศักราช 2479 ที่ดิน
แมที่ดินพิพาทตามสัญญาซื้อขายระหวางโจทก พิพาทซึ่งอยูภายในเขตนั้นเปนที่รกรางวางเปลาอยู จึง
และจําเลยเปนที่ดินมือเปลา ยังไมไดรับคํารับรองจาก เป น ที่ ดิ น หวงห า มตามกฎหมายดั ง กล า วและตาม
นายอําเภอวาไดทําประโยชนแลวไมอาจโอนกันไดตาม พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497
พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 10 ยังคงใหเปนที่หวงหามตอไป โจทกทั้งสองเขา
มาตรา 9 ก็ตาม แตยอมโอนไปซึ่งการครอบครองได โดย ครอบครองที่ดินพิพาทในภายหลังเปนการฝาฝนกฎหมาย
การส ง มอบตามประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย หากอใหเกิดสิทธิใด ๆ เหนือที่ดินพิพาทที่จะใชยันตอ
มาตรา 1378 สัญญาซื้อขายจึงไมตกเปนโมฆะ โจทกมี รัฐ หรือเจาหนาที่ของรัฐไดไม ที่ดินพิพาทจึงไมใชของ
อํานาจฟอง โจทกการที่จําเลยที่ 1 ซึ่งเปนขาราชการกรมพัฒนาที่ดิน
ซึ่ ง เป น หน ว ยราชการที่ จ ะเข า ใช ป ระโยชน โ ดยได รั บ
มาตรา 10 อนุญาตจากกองทัพบกไดใชใหจําเลยที่ 2 ที่ 3 ขับรถ
คําพิพากษาฎีกาที่ 1254/2530 แทรกเตอรไถคันดินที่โจทกทําไวปรับระดับใหเสมอกัน
คําวา "ที่ดินรกรางวางเปลา" ตาม ป.พ.พ. เพื่อปลูกสรางสถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดนครสวรรคขึ้น
มาตรา 1304(1) ตรงกับคําวา "ที่ดินรกรางวางเปลาอัน ในที่ดินพิพาท จึงไมเปนความผิดฐานทําใหเสียทรัพย
เปนสาธารณสมบัติของแผนดิน"ตาม พ.ร.บ. วาดวยการ
หวงหามที่ดินรกรางวางเปลาอันเปนสาธารณสมบัติของ คําพิพากษาฎีกาที่ 3107/2539
แผนดิน พ.ศ. 2478 การดํา เนิน การจัด หาที่ดิน รกรา ง พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู หั ว
ว า งเปลา อัน เปน สาธารณสมบัติของแผนดินทําเปนที่ พระราชทานที่ ดิ น พิ พ าทให แ ก ก องทั พ เรื อ ตั้ ง แต พ .ศ.
สาธารณะประจํ า ตํ า บล และหมู บ า นตามหนั ง สื อ ของ 2465 และตอมาไดมีการออกพระราชกฤษฎีกากําหนด
กระทรวงมหาดไทยถึงคณะกรรมการจังหวัดทุกจังหวัด เปนเขตหวงหามสําหรับใชในราชการทหารพรอมดวย
นั้น จะตองปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ดังกลาวกลาวคือ ตอง แผนที่ซึ่งไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหประชาชน
ออกเป น พระราชกฤษฎี ก าและประกาศในราชกิจ จา ทราบแลวทั้งตอมากรมธนารักษไดขึ้นทะเบียนเปนที่ราช
นุเบกษาเมื่อไมปรากฏวา ไดมีการดําเนินการตาม พ.ร.บ. พัสดุโดยมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาอีก ถือวา
วาดวยการหวงหามที่ดินรกรางวางเปลาอันเปนสาธารณ ประชาชนทุกคนทราบแลววาที่ดินพิพาทเปนที่ดินหวง
สมบัติของแผนดินฯ ซึ่งมีผลบังคับอยูในขณะนั้นแมจะ หามมิใหผูหนึ่งผูใดเขาไปยึดถือครอบครอง เวนแตจะ
ได มี ก ารขึ้ น ทะเบี ย นที่ พิ พ าทเป น ที่ ส าธารณะประจํ า ไดรับอนุญ าตจากพนักงานเจาหนาที่แมมี การแจงการ
หมู บ า น ก็ ไ ม มี ผ ลให ที่ พิ พ าทเป น ที่ ส าธารณะประจํ า ครอบครองที่ดินพิพาทก็ตามแตแบบแจงการครอบครอง
หมู บ า นไปได โจทก เ ข า ครอบครองที่ พิ พ าทก อ น ส.ค.1มิ ใ ช คํ า อนุ ญ าตจากพนั ก งานเจ า หน า ที่ ย อ มอ า ง
ประกาศใชประมวลกฎหมายที่ดิน ทางราชการไดออก ไมไดวาผูเขาไปยึดถือครอบครองในที่ดินไมมีเจตนาเขา
ใบเหยียบย่ําให เมื่อประกาศใช ป.ที่ดินโจทกไดแจงการ ไปในที่ดินพิพาทจําเลยซื้อที่ดินพิพาทภายหลังที่พระราช
ครอบครองไวแลว ทั้งยังครอบครองตลอดมา ที่พิพาทจึง กฤษฎีกาดังกลาวใชบังคับแลวถือวาจําเลยรูอยูวาเปนที่
เปนสิทธิของโจทก หวงหามเมื่อเขาไปยึดถือครอบครองยอมมีความผิดจะ
อางวามีแบบแจงการครอบครองที่ดินพิพาทตามเอกสาร

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


244
ส.ค.1 มายกเวนความผิดโดยอางวาไมมีเจตนากระทําผิด พิพาท ทั้งจําเลยก็มิไดออกจากที่ดินที่พิพาทและกลับ
ไม ไ ด การที่ จํ า เลยเข า ไปในที่ ดิ น พิ พ าทก็ เ พื่ อ ยึ ด ถื อ เขาไปยึดถือครอบครองใหม แตครอบครองที่ดินพิพาท
ครอบครองและปลูกสรางอาคารในที่ดินพิพาทจึงเปน ดวยเจตนาเดียวกันตลอดมาโดยจําเลยเขาใจมาแตตนวา
กรรมเดียวแตผิดกฎหมายหลายบท ตนมีสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทซึ่งไมอาจถือไดวา
จําเลยมีเจตนาบุกรุกที่ดินพิพาท การที่จําเลยอยูในที่ดิน
คําพิพากษาฎีกาที่ 8277/2544 พิพาทตลอดมาดวยเจตนาเดิมและดวยการกระทําที่ไม
เมื่อ ที่ดินพิพาทไดมีการออกพระราชกฤษฎีกากําหนด เป น ความผิ ด มาตั้ ง แต แ รก จึ ง ไม อ าจถือ ว า จํ าเลยเกิ ด
เปนเขตหวงหามสําหรับใชในราชการทหารพรอมดวย เจตนาบุกรุกขึ้นมาใหมหลังจากทราบจากนายอําเภอทา
แผนที่ ท า ยพระราชกฤษฎี ก า ประกาศในราชกิ จ จา ยางวาที่ดินพิพาทเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
นุเบกษาใหประชาชนทราบแลว ทั้งตอมากรมธนารักษ
ไดขึ้นทะเบียนที่ดินพิพาทเปนที่ราชพัสดุดวย ดังนั้น ประมวลกฎหมายที่ดิน
ยอมถือวาประชาชนทุกคนไดทราบแลววาที่ดินพิพาท
เป นที่ ดิ น ห ว ง ห า ม มิ ให ผู หนึ่ งผู ใ ด เ ข า ไ ป ยึ ด ถื อ มาตรา 1
ครอบครอง เว น แต จ ะได รั บ อนุ ญ าตจากพนั ก งาน คําพิพากษาฎีกาที่ 920/2526
เจาหนาที่ จําเลยทั้งสองจะอางวาไมมีเจตนาเขาไปยึดถือ หนังสือรับรองการทําประโยชนมิใชหลักฐาน
ครอบครองในที่ดินพิพาทอันเปนที่หวงหามได จําเลยทั้ง ที่แ สดงวาผูมีชื่อในหนังสือ เปนเจา ของกรรมสิท ธิ์ใ น
สองจึงมีความผิดฐานเขาไปยึดถือครอบครองที่ดินของ ที่ดินนั้นในทางทะเบียนเชนเดียวกับโฉนดที่ดิน ฉะนั้น
รัฐตามฟอง โจทกผูซื้อที่ดินจึงไมอาจอาง ประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย มาตรา1299 มาใชยันกับ สิท ธิข องจํ าเลยผู
คําพิพากษาฎีกาที่ 8033/2553 ครอบครองที่ดินนั้นได
นายอําเภอทายางออกหนังสือรับรองการทํา
ประโยชน (น.ส.3 ก.) สําหรับที่ดินพิพาทใหแก ม. และ คําพิพากษาฎีกาที่ 148/2539
ย. ในป 2520 ในที่ดินพิพาทมีโรงสีและบานของ ม. ใบไตสวนเปนหนังสือซึ่งเจาพนักงานออกให
ปลูกสรางอยูโดยไมมีชาวบานเขาไปใชประโยชนใด ๆ เพื่อแสดงวาเจาของที่ดินไดนํารังวัดเพื่อออกโฉนดไมใช
ในที่ดินพิพาทในลักษณะที่เปนสาธารณะมานานแลว เอกสารสํ า คั ญ ที่ แ สดงว า ผู มี ชื่ อ ในใบไต ส วนเป น ผู มี
ยอมเปนเหตุใหจําเลยเชื่อโดยสุจริตวา ม. และ ย. มีสิทธิ กรรมสิทธิ์ในที่ดินเมื่อโจทกครอบครองที่พิพาทซึ่งมีใบ
ครอบครองที่ดินพิพาทและจําเลยยอมเสียคาตอบแทน ไต ส วนโดยเจตนายึ ด ถื อ เพื่ อ ตนเป น เวลาเกิ น กว า 1ป
เปนเงินถึง 120,000 บาท ในการซื้อที่ดินพิพาทจาก ม. โจทกยอมไดไปซึ่งสิทธิครอบครองจากเจาของเดิมโดย
และ ย. ขอเท็จจริงจึงรับฟงไดวา จําเลยเขาครอบครอง เด็ดขาดแลว
ที่ ดิ น พิ พ าทโดยไม มี เ จตนาที่ จ ะบุ ก รุ ก ที่ ดิ น อั น เป น
สาธารณประโยชนแตอยางใด ถึงแมตอมาจําเลยจะได
คําพิพากษาฎีกาที่ 4343/2539
ทราบจากหนังสือของนายอําเภอทายางวาที่ดินพิพาท
การที่ โ จทก มี ชื่ อ ในหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า
เปนสวนหนึ่งของศาลาสระน้ําหนองขานางสาธารณ
ประโยชน (น.ส.3) นั้น ประมวลกฎหมายแพงและ
ประโยชน ซึ่ง เป นสาธารณสมบั ติข องแผ นดิ นก็ เป น
พาณิชยมาตรา 1373 ใหสันนิษฐานไวกอนวาบุคคลผูมี
เพียงหลักฐานที่ยังยันกันอยูกับหนังสือรับรองการทํา
รายชื่อในทะเบียนเปนผูมีสิทธิครอบครองจําเลยกลาว
ประโยชน (น.ส.3 ก.) ที่เปนเอกสารสิทธิของที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


245
อ า งว า จํ า เลยซื้ อ ที่ ดิ น มาจาก ถ. เจ า ของที่ ดิ น เดิ ม และ สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนําไปปฏิรูป
ครอบครองทําประโยชนในที่ดินพิพาทตลอดมาจําเลย ที่ดินได และตอมาไดมีการออกพระราชกฤษฎีกา
จึงมีภาระการพิสูจน กําหนดใหที่ดินพิพาทเปนเขตปฏิรูปที่ดินมีผลเปนการ
เพิกถอนปาสงวนแหงชาติในที่ดินแปลงนั้น และ
คําพิพากษาฎีกาที่ 5132/2539 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมมีอํานาจนํา
โจทกกลาวอางวาบานและที่ดินพิพาทเปนของ ที่ดินนั้นมาใชในการปฏิ รูปที่ ดินเพื่อ เกษตรกรรมได
โจทกที่1กึ่งหนึ่งอีกกึ่งหนึ่งเปนมรดกของ จ. สามีโจทกที่ โดยไมตองดําเนินการเพิกถอนตามกฎหมายปาสงวน
1ซึ่งตกไดแกโจทกทั้งเจ็ดและจําเลยในฐานะทายาทสวน แหงชาติตาม พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ฯ
ละเทาๆกันจําเลยตอสูวาบานและที่ดินพิพาทจําเลยเปน มาตรา 26 (4) โจทกมีอํานาจนําที่ดินพิพาทมาใชในการ
เจ า ของแต ผู เ ดี ย วตามข อ ตกลงของทายาทจํ า เลย ปฏิรูปที่ดินได
ครอบครองโดยสงบเปดเผยดวยเจตนาเปนเจาของมากวา จําเลยมีที่ดินเปนของตนเองกวา 100 ไร
10 ปแลว จึงไดสิทธิครอบครองเปนเรื่องที่จําเลยกลาว ดังนั้น จําเลยจึงมิใชเกษตรกรตามความหมายแหง
อางวาบานและที่ดินพิพาทมีการแบงปนตกมาเปนของ พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ฯ มาตรา 4 จึง
จํ า เลยแม จํ า เลยเป น ผู มี ชื่ อ ในหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า เป น ผู ข าดคุ ณ สมบั ติ ใ นการเข า ทํ า ประโยชน ใ นเขต
ประโยชนและไดรับประโยชนจากขอสันนิษฐานตาม ปฏิรูปที่ดิน โจทกจึงมีสิทธิที่จะเพิกถอนหนังสือ
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา1373จําเลยยัง อนุญาตใหเขาทําประโยชนในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.
ตองพิสูจนใหเห็นวาจําเลยไดรับสวนแบงในทรัพยสิน 4-01 ก.) ของจําเลยได
ตามขอตกลงของทายาทโดยชอบและไดครอบครองเพื่อ การที่ จ ะต อ งเวนคื น ที่ ดิ น เพื่ อ นํ า มาปฏิ รู ป
ตนและโดยสุจริตอันเปนขอเท็จจริงที่จําเลยยกขึ้นใหม ที่ดินนั้น ที่ดินพิพาทตองเปนของประชาชนไมใชของรัฐ
อีก ดว ย หนัง สือ รั บ รองการทํา ประโยชนเ ปน เอกสาร คดีนี้เมื่อฟงขอเท็จจริงวาที่ดินเปนของรัฐแลว โจทกก็
สิทธิอันเปนเอกสารราชการซึ่งเจาพนักงานไดออกให ไมจําตองเวนคืนที่ดิน
เพื่อแสดงวาผูมีชื่อในหนังสือรับรองการทําประโยชนได
ครอบครองและไดทําประโยชนในที่ดินดังกลาวถือไดวา คําพิพากษาฎีกาที่ 8371/2551
เปนอสังหาริมทรัพยที่ไดจดไวในทะเบียนที่ดิน พ.ร.บ.การปฏิ รู ป ที่ ดิ น เพื่ อ เกษตรกรรมฯ
มาตรา 36 ทวิ วรรรคหนึ่ง ที่กําหนดให ส.ป.ก. เปนผู
มาตรา 2 ถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินหรืออสังหาริมทรัพยใด ๆ ที่
คําพิพากษาฎีกาที่ 6492/2550 ไดมาก็เพื่อนําไปใชในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
เจาของเดิมครอบครองที่ดินพิพาทมาตั้งแตป มิไดมุงหมายให ส.ป.ก. มีกรรมสิทธิ์ เชนเดียวกับ
2498 ภายหลัง ป.ที่ดิน ใชบังคับแลว เจาของเดิมและ เจาของทรัพยสินทั่วไปที่มีสิทธิใชสอย จําหนาย ตาม
จําเลยซึ่งรับโอนการครอบครองมายอมไมไดรับความ ป.พ.พ. มาตรา 1336 เมื่อที่ดินพิพาทเดิมเปนปาสงวน
คุมครองสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทตาม ป.ที่ดิน แหงชาติเปนที่ดินของรัฐ แมถูกเพิกถอนสภาพจากการ
มาตรา 4 และตองถือวาที่ดินเปนของรัฐตาม ป.ที่ดิน เปนปาสงวนแหงชาติอันเนื่องจากการดําเนินการตาม
มาตรา 2 ที่บัญญัติวาที่ดินซึ่งไมไดตกเปนกรรมสิทธิ์ พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมฯ มาตรา 26 (4)
ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดใหถือวาเปนของรัฐ เมื่อทาง ก็ ต าม ก็ ยั ง คงเป น ที่ ดิ น ของรั ฐ อยู เ พี ย งแต เ ปลี่ ย น
ราชการออกกฎกระทรวงกําหนดใหที่ดินพิพาทเปนปา ประเภทของที่ดิน วัตถุประสงคและการใชประโยชน
สงวนแห งชาติ และคณะรัฐมนตรี ม อบหมายให ในที่ ดิ น และเปลี่ ย นหน ว ยงานของรั ฐ ผู ดู แ ลและใช

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


246
ประโยชนในที่ดินจากกรมปาไมเปน ส.ป.ก. โดยให เปนกรรมสิทธิ์ของโจทกแมเจาพนักงานที่ดินจะยกเลิก
ส.ป.ก. เปนผูถือกรรมสิทธิ์เพื่อ ใชในการปฏิรูปที่ดิน โฉนดที่ดินและออกใบแทนโฉนดที่ดินใหจําเลยที่1ใหม
เพื่อเกษตรกรรม ตามมาตรา 36 ทวิ ที่ดินพิพาทยังคง แตโฉนดที่ดินเปนเพียงเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในตัว
เปนที่ดินของรัฐตาม ป.ที่ดิน มาตรา 2 ไมอาจถือไดวา ทรัพยเทานั้นการที่เจาพนักงานที่ดินออกใบแทนโฉนด
ส.ป.ก. เปนบุคคลผูไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาท ที่ ดิ น ให ใ หม ก็ เ ป น ไปตามคํ า สั่ ง ศาลไม มี ผ ลกระทบ
ตามกฎหมายอื่นตามความหมายของ ป.ที่ดิน มาตรา 3 กระเทื อ นหรื อ เปลี่ ย นแปลงกรรมสิ ท ธิ์ ข องโจทก แ ม
(2) ที่ดินพิพาทยังเปนที่ดินที่มิไดมีบุคคลใดไดมาตาม จําเลยที่2จะอางวาซื้อที่ดินพิพาทมาโดยเสียคาตอบแทน
กฎหมายที่ดิน การที่ ส.ป.ก. ออกเอกสาร ส.ป.ก. 4-01 ก. และจดทะเบีย นโดยสุจ ริต จําเลยที่ 2ก็ไมไดก รรมสิท ธิ์
จัดสรรในที่ดินของรัฐใหแกเกษตรกร จึงเปนเพียง เพราะผูรับโอนยอมไมมีสิทธิดีกวาผูโอน
หนังสืออนุญาตใหเขาทําประโยชนในที่ดินที่อยูในเขต
ปฏิ รู ป ที่ ดิ น เพื่ อ เกษตรกรรมเท า นั้ น ไม มี ผ ล คําพิพากษาฎีกาที่ 1022/2544
เปลี่ยนแปลงสถานะทางกฎหมายของที่ดินนั้น ดังนั้นที่ ที่ดินที่ ส.ป.ก. ไดมาตามพระราชบัญญัติการ
ส. ไดที่ดินที่มีเอกสาร ส.ป.ก. 4-01 ก. ยังไมอาจถือได ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมพ.ศ. 2518 ส.ป.ก. เปนผูถือ
วาเปนการไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ในที่ดินตามกฎหมายอื่น กรรมสิทธิ์โดยไมตกเปนที่ราชพัสดุตามพระราชบัญญัติ
ตามที่บัญญัติในมาตรา 3 (2) แหง ป.ที่ดิน ที่ดิน การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 มาตรา 36
ดังกลาวจึงยังมิไดมีบุคคลไดมาตาม ป.ที่ดิน และยังคง ทวิ ซึ่งเปนการไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินมาตามกฎหมายอื่น
เปนปาตามมาตรา 4 (1) แหง พ.ร.บ.ปาไมฯ การที่จําเลย ตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 3(2) จึงไมใชปาตาม
ที่ 1 ตัดฟนโคนไมประดูอันเปนไมหวงหามประเภท ก. พระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. 2484 มาตรา 4(1)การตัดและ
ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 ก. ของ ส. โดยไมไดรับอนุญาต ทอนต น มะม ว งป า อั น เป น ไม ห วงห า มประเภท ก. ใน
จากพนักงานเจาหนาที่ จึงเปนความผิดฐานทําไมหวง ที่ดิน ส.ป.ก. ยอมไมเปนการทําไมตามความหมายของ
หามโดยไมไดรับอนุญาตตาม พ.ร.บ.ปาไมฯ มาตรา 4(5) แหงพระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. 2484 ไมเปน
ความผิดตามพระราชบัญญัติปาไมพ.ศ. 2484 เปนผลให
มาตรา 3 การไดไมมะมวงปาที่ยังไมไดแปรรูปเปนการไดมาโดย
คําพิพากษาฎีกาที่ 3016/2525 ชอบดวยกฎหมาย เมื่อจําเลยสําคัญผิดในขอเท็จจริงวา
ที่ดินที่มีแตหนังสือรับรองการทําประโยชน ยัง ตนมะมวงปาขึ้นอยูในที่ดินที่ ส.ป.ก. อนุญาตใหจําเลย
ไมมีโฉนดหรือยังไมเคยมีผูใดมีกรรมสิทธิ์ ไมอาจขอให เขาทําประโยชน ซึ่งขอเท็จจริงในสวนนี้ถามีอยูจริงจะทํา
ศาลสั่งวาผูใดมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินนั้นได ใหการกระทําไมเปนความผิดดังกลาวขางตนการที่จําเลย
มี ไ ม ม ะม ว งป า ซึ่ ง ยั ง ไม ไ ด แ ปรรู ป ดั ง กล า ว จึ ง ไม มี
ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 62 วรรคหนึ่ง
คําพิพากษาฎีกาที่ 1238/2538
จําเลยที่ 1 อยูในที่ดินพิพาทมากอนโจทกรับ
โอนแตก็อยูในฐานะผูอาศัยและไดรับอนุญาตจากโจทก มาตรา 4
ใหอยูตอเทานั้นแมศาลชั้นตนในคดีอื่นจะไดมีคําสั่งให คําพิพากษาฎีกาที่ 318-329/2525
ที่ ดิ น พิ พ าทเป น กรรมสิ ท ธิ์ ข องจํ า เลยที่ 1โดยการ พิ พ าทเป น ที่ ดิ น ไม มี ห นั ง สื อ สํ า คั ญ แสดง
ครอบครองปรปกษแตคําสั่งศาลก็ไมผูกพันโจทกซึ่งเปน กรรมสิทธิ์โจทกและจําเลยจึงอาจมีไดแตสิทธิครอบครอง
บุ ค คลภายนอกเมื่ อ โจทก พิ สู จ น ไ ด ว า ไม ไ ด ล ะทิ้ ง การ ที่ดินเมื่อโจทกไดเขาครอบครองที่พิพาทภายหลังประมวล
ครอบครองและมีสิทธิดีกวาจําเลยที่1ที่ดินพิพาทจึงยัง กฎหมายที่ดินใชบังคับแลว จึงไมไดรับความคุมครอง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


247
ตามประมวลกฎหมายที่ดิ น มาตรา 4 สวนจําเลยแมจ ะ บทบัญญัติดังกลาว โจทกจึงไมมีสิทธินํายึดที่พิพาทออก
ครอบครองที่พิ พ าทมากอ นประมวลกฎหมายที่ดิน ใช ขายทอดตลาดเพื่อชําระหนี้อันเปนการบังคับจํานองเอา
บั ง คั บ แต จํ า เลยก็ ห าได แ จ ง การครอบครองภายใน กับที่พิพาทได
กํ า หนดเวลาตามที่ พ ระราชบั ญ ญั ติ ใ ห ใ ช ป ระมวล
กฎหมายที่ดินฯ มาตรา 5 บัญญัติไวไม โจทกและจําเลย คําพิพากษาฎีกาที่ 2434/2528
จึงตางไมมีกรรมสิทธิ์และ สิทธิครอบครองในที่พิพาท การโอนสิทธิครอบครองเนื่องจากมีการซื้อขาย
โดยชอบดังนั้น แมโจทกจะแยงการครอบครองที่พิพาท ที่ดินที่มีหนังสือรับรองการทําประโยชนแลวนั้นยอมทํา
จากจํ าเลยเกิน กว าหนึ่ง ป แ ล ว ก็ เป น การเขา ยึ ด ถื อ ไดโดยสมบูรณ ดวยการทําเปนหนังสือและจดทะเบียน
ครอบครองที่ดินของรัฐโดยมิไดรับ อนุญาต โจทกจึงไม ตอพนักงานเจาหนาที่ตาม ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา
มีอํานาจฟองขอใหศาลพิพากษาวา ที่ดินเปนของโจทก 4 ทวิ ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ขอ 2 ซึ่งเปน
คงมีอํานาจฟองขอใหปลดเปลื้องการรบกวนเทานั้น การกระทํ า ตามแบบของกฎหมายประการ หนึ่ ง กั บ
กระทํา การโอนโดยข อ เท็จ จริง ตามประมวลกฎหมาย
คําพิพากษาฎีกาที่ 2055/2527 แพงและพาณิชย มาตรา 1377, 1378 อีกประการหนึ่งซึ่ง
บิดาโจทกครอบครองที่ดินที่พิพาทกอน ป.ที่ดิน ไมตองมีแบบการที่โจทกขายที่พิพาทอันเปนที่มี น.ส.3
ใชบังคับ เมื่อถึงแกกราม สิทธิครอบครองที่พิพาทก็ตก ใหจําเลยโดยทําหนังสือสัญญาซื้อขายกันเองและจําเลย
ทอดมาเปนของโจทกในฐานะบุตรผูรับโอนทางมรดก ไดเขาครอบครองยึดถือที่พิพาทหลังจากทําการซื้อจาก
การที่บุคคลจะมีสิทธิครอบครองในที่ดินรายใด อาจ โจทก แ ล ว โดยปลู ก บ า น ปลู ก ต น ไม แ ละสร า งยุ ง ข า ว
เกิดขึ้นโดยบุคคลนั้นเขายึดถือที่ดินโดยเจตนายึดถือเพื่อ จําเลยจึงไดมาซึ่งสิทธิครอบครองโดยประการหลังหา
ตนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1367 จําตองทําตามแบบของนิติกรรมไม และกรณีเชนนี้ไม
หรือโดยผูอื่นยึดถือไวใหตามมาตรา 1368 กรณีที่จะมอบ เป น โมฆะตามประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย
ใหผูอื่นยึดถือไว ใหหรือมอบใหครอบครองแทน มาตรา มาตรา 115
1368 มิไดกําหนดแบบไวแตอยางใด การที่โจทกให
จําเลยเชาที่พิพาทโจทกก็ยังเปนผูมีสิท ธิค รอบครองที่ คําพิพากษาฎีกาที่ 2959/2536
พิพาทอยูโดยจําเลยเปนผูยึดถือไวให จําเลยซึ่งเปนผูเชา การยกให ที่ ดิ น ที่ มี ห นั ง สื อ รั บ รองการทํ า
จะอางวาเปนผูมีสิทธิครอบครอง ที่พิพาทขึ้นใชตอสูกับ ประโยชน (น.ส.3 ก) โดยผูใหประสงคจะยกใหโดยการ
โจทกโดยมิไดบอกกลาวเปลี่ยนลักษณะแหงการยึดถือ ทํานิติกรรมและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ มิใช
ตามมาตรา 1381 หาไดไม เจตนาสละการครอบครอง การใหจะสมบูรณตอเมื่อได
ทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ตาม
คําพิพากษาฎีกาที่ 2069/2527 ประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย มาตรา 525 และ
จํ า เลยจดทะเบี ย นจํ า นองที่ ดิ น ที่ มี ห นั ง สื อ ประมวลกฎหมายที่ ดิ น ฯมาตรา 4 ทวิ เมื่ อ ป. เจ า ของ
รับ รองการทําประโยชนไ ว ตอ โจทก ตอมาจํา เลยขาย ที่ดิน น.ส.3 ก ยกที่ดินพิพาทใหแ ก จ. แตไมไดจ ด
ที่ดินดังกลาวใหแกผูรองโดย สงมอบการครอบครองซึ่ง ทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ นิติกรรมใหจึงไมสมบูรณ
มีผลบังคับไดตามกฎหมาย ผูรองยอมอยูในฐานะเปน ตามกฎหมาย การที่ จ. เขาครอบครองที่ดินจึงเปนการ
ผูรับโอนที่พิพาทซึ่งเปนทรัพยสินจํานองตามบทบัญญัติ ครอบครองแทนเจาของ มิใชยึดถือครอบครองในฐานะ
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 735 เมื่อ เจาของ จึงไมมีสิทธิครอบครอง ตอมา ป. ยกเลิกการให
โจทก ยั ง มิ ไ ด บ อกกล า วบั ง คั บ จํ า นองแก ผู ร อ งตาม ที่ ดิ น พิ พ าทแก จ. และได ทํ า พิ นั ย กรรมยกที่ ดิ น พิ พาท

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


248
ใหแก ล. แทน เมื่อ ป. ถึงแกกรรมล. ไดจดทะเบียนรับ โดยไมตองดําเนินการเพิกถอนตามกฎหมายปาสงวน
โอนมรดกที่ดินพิพาทตามพินัยกรรมของ ป.แลว จ. จึง แหงชาติตาม พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ฯ
ไมมีสิทธิฟองเรียกรองที่ดินพิพาทจาก ล. มาตรา 26 (4) โจทกมีอํานาจนําที่ดินพิพาทมาใชในการ
ปฏิรูปที่ดินได
คําพิพากษาฎีกาที่ 4243/2550 จําเลยมีที่ดินเปนของตนเองกวา 100 ไร
จําเลยมิไดครอบครองที่ดินมากอนประมวล ดังนั้น จําเลยจึงมิใชเกษตรกรตามความหมายแหง
กฎหมายที่ดินใชบังคับ จําเลยจึงไมไดสิทธิครอบครอง พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ฯ มาตรา 4 จึง
ในที่ดินตาม ป.ที่ดิน พ.ศ.2497 มาตรา 4 เป น ผู ข าดคุ ณ สมบั ติ ใ นการเข า ทํ า ประโยชน ใ นเขต
พนั ก งานอั ย การมี คํ า สั่ ง ไม ฟ อ งในคดี แ รก ปฏิรูปที่ดิน โจทกจึงมีสิทธิที่จะเพิกถอนหนังสือ
เนื่องจากมีการแจงใหจําเลยออกจากที่ดินพิพาทไมครบ อนุญาตใหเขาทําประโยชนในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.
ตามระเบี ย บของคณะกรรมการจั ด ที่ ดิ น แห ง ชาติ 4-01 ก.) ของจําเลยได
พนักงานอัยการยังมิไดวินิจฉัยเนื้อหาสาระสําคัญแหง การที่ จ ะต อ งเวนคื น ที่ ดิ น เพื่ อ นํ า มาปฏิ รู ป
คดี อีกทั้งการที่จําเลยยังคงยึดถือครอบครองอยูในที่ดิน ที่ดินนั้น ที่ดินพิพาทตองเปนของประชาชนไมใชของ
พิพาทเปนความผิดใหมที่ตอเนื่องกันมา ทางอําเภอจึง รัฐ คดีนี้เมื่อฟงขอเท็จจริงวาที่ดินเปนของรัฐแลว โจทก
ได แ จ ง ความร อ งทุ ก ข แ ละมี ก ารสอบสวนดํ า เนิ น คดี ก็ไมจําตองเวนคืนที่ดิน
ใหมและแจงใหจําเลยออกจากที่ดินพิพาทใหครบถวน
ตามระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ การ คําพิพากษาฎีกาที่ 652/2551
ฟ อ งคดี นี้ จึ ง ไม ขั ด ต อ ประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณา ที่ดินพิพาทเปนที่ดินไมมีหนังสือสําคัญแสดง
ความอาญา มาตรา 147 กรรมสิทธิ์ โจทกจึงไมมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาท แต
อาจมีสิทธิครอบครองโดยการครอบครองที่ดินมากอน
คําพิพากษาฎีกาที่ 6492/2550 วันที่ ป.ที่ดินใชบังคับ เมื่อโจทกยอมรับวาโจทกเขา
เจาของเดิมครอบครองที่ดินพิพาทมาตั้งแตป ยึดถือที่ดินพิพาทภายหลัง ป.ที่ดินใชบังคับแลว โจทก
2498 ภายหลัง ป.ที่ดิน ใชบังคับแลว เจาของเดิมและ จึงมีหนาที่นําสืบแสดงใหเห็นวาผูขายที่ดินพิพาทใหแก
จําเลยซึ่งรับโอนการครอบครองมายอมไมไดรับความ โจทกมีสิทธิครอบครองมากอน ป.ที่ดินใชบังคับ จึงจะ
คุมครองสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทตาม ป.ที่ดิน ไดรับความคุมครองตาม ป.ที่ดิน มาตรา 4 พยานหลักฐาน
มาตรา 4 และตองถือวาที่ดินเปนของรัฐตาม ป.ที่ดิน ที่โจทกนําสืบรับฟงไมไดวาผูซึ่งขายที่ดินพิพาทใหแก
มาตรา 2 ที่บัญญัติวาที่ดินซึ่งไมไดตกเปนกรรมสิทธิ์ โจทกเปนผูมีสิทธิครอบครองมากอน ป.ที่ดินใชบังคับ
ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดใหถือวาเปนของรัฐ เมื่อทาง จึงตองถือวาที่ดินพิพาทเปนที่ดินของรัฐ แมโจทกจะ
ราชการออกกฎกระทรวงกําหนดใหที่ดินพิพาทเปนปา เขายึดถือเปนเวลาเกิน 1 ป และคงอยูในที่ดินพิพาท
สงวนแห งชาติ และคณะรัฐมนตรี ม อบหมายให ตลอดมาก็ เ ป น การยึ ด ถื อ ที่ ดิ น ของรั ฐ โดยไม มี สิ ท ธิ
สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนําไปปฏิรูป ครอบครองและโดยไม ไ ด รั บ อนุ ญ าตจากพนั ก งาน
ที่ดินได และตอมาไดมีการออกพระราชกฤษฎีกา เจาหนาที่ โจทกไมอาจอางสิทธิใดๆ ใชยันรัฐได
กําหนดใหที่ดินพิพาทเปนเขตปฏิรูปที่ดินมีผลเปนการ
เพิกถอนปาสงวนแหงชาติ ในที่ดินแปลงนั้น และ
สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมมีอํานาจนํา
ที่ดินนั้นมาใชในการปฏิ รูปที่ ดินเพื่อ เกษตรกรรมได

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


249

มาตรา 4 ทวิ ตองบังคับตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา


525และประมวลกฎหมายที่ดินฯมาตรา4ทวิคือตองทํา
คําพิพากษาฎีกาที่ 2626/2525 เปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่เมื่อยัง
การโอนสิทธิครอบครองในที่ดินซึ่งมีหนังสือ ไมไดจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่การใหจึงยังไม
รั บ รองการทํ า ประโยชน (น.ส.3) นั้ น อาจทํ า ได โ ดย สมบูรณโจทกจะฟองขอใหบังคับจําเลยในฐานะทายาท
สมบู ร ณ ด ว ยการทํ า เป น หนั ง สื อ และจดทะเบี ย นต อ โดยธรรม และในฐานะ ผูจัดการมรดกของ ท.จด
พนักงานเจาหนาที่ตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 4 ทะเบียนการใหแกโจทกหาไดไม
ทวิ ซึ่งเปนการทําตามแบบของกฎหมายประการหนึ่ง
กับกระทําการโอนโดยขอเท็จจริงตามประมวลกฎหมาย
คําพิพากษาฎีกาที่ 5479/2543
แพงและพาณิชย มาตรา 1377, 1378 ซึ่งไมตองมีแบบอีก
โจทก เ ป น เจ า ของที่ ดิ น พิ พ าท แปลงหนึ่ ง มี
ประการหนึ่ง แมโจทกจะมีหนังสือสัญญาซื้อขายที่พิพาท
น.ส.3 อีกแปลงหนึ่งไมมีหนังสือเอกสารสิทธิ โดยไดมา
และผูขายทําหนังสือมอบอํานาจใหไปจดทะเบียนโอน
จากการใหตางตอบแทนจาก ป. และจําเลยที่ 1 เพื่อชําระ
กั บ มอบหลั ก ฐานเกี่ ย วกั บ ภาษี บํ า รุ ง ท องที่ ทุ กฉบั บให
หนี้เงินยืม โจทกครอบครองที่ดินดังกลาวตลอดมา เมื่อ
โจทก ไวก็ ตามเมื่อโจทก ยังมิได จดทะเบี ยนต อ พนั ก งาน
จําเลยที่ 1 สงมอบที่ดินใหโจทกเขาครอบครอง โจทก
เจาหนาที่ และยังมิไดเขาครอบครองยึดถือที่พิพาท
ยอมไดสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายแพงและ
โจทกจึงยังไมไดมาซึ่งสิทธิครอบครอง ยอมไมมีอํานาจ
พาณิ ช ย มาตรา 1367 ส ว นจํ า เลยที่ 1 ก็ ห มดสิ ท ธิ
ฟองขับไลจําเลยซึ่งอยูในที่พิพาทนั้น
ครอบครองในที่ดินดังกลาวตามมาตรา 1378 การที่
จําเลยที่ 1 ยังคงมีชื่อใน น.ส.3 มีผลใหจําเลยที่ 1 ยังได
คําพิพากษาฎีกาที่ 8/2527 รับคํารับรองของทางราชการโดยพนักงานเจาหนาที่วา
จําเลยยื่นเรื่องราวขอจดทะเบียนสิทธิและนิติ จํ า เลยที่ 1 เป น ผู ทํ า ประโยชน ใ นที่ ดิ น ดั ง กล า วตาม
กรรมขายที่ดินมีหนังสือรับรองการทําประโยชนใหแก ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 4 ทวิ และจําเลยที่ 1 ยัง
ส. บุตรผูรอง โดยจําเลยมอบอํานาจให ส. เปนผูยื่นคํา ไดรับประโยชนจากขอสันนิษฐานของกฎหมายในฐานะ
ร อ ง แสดงว า มี เ จตนาที่ จ ะซื้ อ ขายหรื อ โอนสิ ท ธิ ที่มีชื่อในทะเบียนที่ดินวาเปนผูมีสิทธิครอบครองตาม
ครอบครองในที่พิพาทโดยทํานิติกรรมและจดทะเบียน ประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย มาตรา 1373 สิ ท ธิ
ตอพนักงานเจาหนาที่ใหถูกตองตาม ประมวลกฎหมาย ของจํ า เลยที่ 1 ที่ ไ ด รั บ ตามกฎหมายจึ ง ไม ถู ก ต อ งตาม
ที่ดินมาตรา 4 ทวิหาไดมีเ จตนาที่จะโอนหรือสละการ ความเปนจริงเปนการโตแยงสิทธิครอบครองของโจทก
ครอบครองให ส. ทันทีไม ส. มอบที่ดินใหผูรองจัดให ตามความเปน จริ ง โดยตรง โจทก ย อ มมีสิ ท ธิ ที่จ ะฟ อ ง
ผูอื่นเชา เมื่อ ส. ถึงแกกรรม จําเลยก็มายื่นขอถอน คําขอ ขอใหเพิกถอนชื่อของจําเลยที่ 1 ออกจาก น.ส.3 ได กรณี
ขายที่ดิน ซึ่งเจาพนักงานก็อนุญาตใหถอนได แสดงวา เชนนี้มิใชเปนการโตแยงตัวทรัพย คือ ที่ดินที่ครอบครอง
สิทธิครอบครองที่พิพาทยังคงเปนของจําเลยอยู แมใน เมื่อจําเลยที่ 1 จดทะเบียนโอนสิทธิครอบครองตาม น.ส.3
ระหวางดําเนินการนี้ ส. หรือผูรองจะเปนผูยึดถือที่พิพาท ดั ง กล า วให แ ก จํ า เลยที่ 2 โดยกระทํ า ต อ พนั ก งาน
ก็ตองถือวาเปนการยึดถือแทน จําเลยผูจะขายเทานั้น เจาหนาที่ และจําเลยที่ 2 ได ไ ปซึ่งสิท ธิค รอบครองใน
ที่ดินดังกลาวตาม น.ส.3 ซึ่งไมถูกตองตามความเปนจริง
คําพิพากษาฎีกาที่ 663/2538 เปนการกระทบกระเทือนตอสิทธิครอบครองของโจทก
ท. ประสงคจะยกที่ดินน.ส.3ใหแกโจทกโดย โดยตรง โจทกจึงมีอํานาจฟองที่ศาลลางทั้งสองไมรับ
การทํานิติกรรมและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่จึง ฟองของโจทกจึงเปนการไมชอบ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


250

คําพิพากษาฎีกาที่ 8551/2550 ประโยชนสําหรับที่พิพาท (คูขวาง) ก็ตาม เอกสาร


โจทกเปนผูครอบครองทําประโยชนในที่ดิน ดังกลาวก็หามีผลผูกพันทางราชการไม
พิพาทตลอดมา จําเลยไมเคยเขาครอบครองที่ดินพิพาท แมจะเคยมีคําพิพากษาศาลฎีกาในคดีระหวาง
โจทกจึงเปนผูมีสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาท การที่ โจทกกับ จ.วินิจฉัยวาที่พิพาท (คูขวาง) เปนของโจทก
หนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส.3 ก.) ของจําเลย และไม ใ ช ที่ สาธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ก็ ต ามคํ า
บางสวนออกทับที่ดินพิพาทสวนที่โจทกครอบครองอยู พิพากษาดังกลาวยอมไมผูกพัน จําเลยในคดีนี้เนื่องจาก
ก็มีผลใหจําเลยยังไดรับคํารับรองของทางราชการโดย จํ า เลยในคดี นี้ มิ ไ ด เ ป น คู ค วามในคดี ดั ง กล า ว และคดี
พนักงานเจาหนาที่วาจําเลยเปนผูทําประโยชนในที่ดิน ดังกลาวพิพาทกันระหวางเอกชนมิไดพิพาทกันระหวาง
พิพาทตาม ป.ที่ดิน มาตรา 4 ทวิ และไดรับประโยชน เอกชนกับเทศบาล ซึ่งมีหนาที่ดูแลสาธารณสมบัติของ
จากข อ สั น นิ ษ ฐานของกฎหมายในฐานที่ มี ชื่ อ ใน แผนดิน ในเขตเทศบาลโดยตรง ประมวลกฎหมายที่ดิน
ทะเบียนวาเปนผูมีสิทธิครอบครองตาม ป.พ.พ มาตรา มาตรา 8 วรรคแรก บัญญัติวาบรรดา ที่ดินทั้งหลายอัน
1373 ดังนั้น สิทธิของจําเลยที่ไดรับตามกฎหมายจึงไม เปนสาธารณสมบัติของแผนดิน หรือเปนทรัพยสิน ของ
ถูกตองตามความเปนจริง การที่โจทกมีคําขอใหจําเลย แผนดินนั้น ถาไมมีกฎหมายกําหนดไวเปนอยางอื่นให
ไปยื่นคําขอรังวัดแบงแยกที่ดิน (น.ส.3 ก.) ดังกลาว อธิบดี มีอํานาจหนาที่ดูแลรักษา และดําเนินการคุมครอง
เฉพาะสวนที่ดินพิพาทที่โจทกครอบครองใหแกโจทก ปองกันได ตามควรแกกรณีอาํ นาจหนาที่ดังวานี้รัฐมนตรี
มาดวยนั้น พอแปลไดวาเปนคําขอใหเพิกถอนชื่อของ จะมอบหมายให ทบวงการเมืองอื่นเปนผูใชก็ได ดังนั้น
จําเลยออกจากหนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส.3 ก.) เมื่อรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ไดมอบหมายให
เฉพาะสวนที่ดินที่ทับที่ดินพิพาทของโจทก ศาลจึงมี เทศบาลมีอํานาจดูแลรักษาและคุมครองปองกันที่ดินอัน
อํ า นาจพิ พ ากษาเพิ ก ถอนชื่ อ ของจํ า เลยในหนั ง สื อ เปนสาธารณสมบัติของแผนดินในเขตเทศบาลจําเลยที่ 1
รับรองการทําประโยชน (น.ส.3 ก.) ในสวนที่ทับที่ดิน และจําเลยที่ 2 ในฐานะที่ดํารงตําแหนงนายกเทศมนตรี
พิพาทได ยอมมีอํานาจ คัดคานการขายที่พิพาท

มาตรา 8 คําพิพากษาฎีกาที่ 2265/2528


ตัวเมืองนครศรีธรรมราชเกาเปนรูปสี่เหลี่ยม
คําพิพากษาฎีกาที่ 1483-1487/2528
ผืนผา มีกําแพงเมืองลอมรอบทั้งสี่ดาน นอกกําแพงเมือง
คู ข วางเป น ที่ ส าธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น
มีคูลอมรอบเชนเดียวกันคูเมืองกวางประมาณ 10 วาโดย
สํ า หรั บ พลเมื อ งใช ร ว มกั น แม จ ะตื้ น เขิ น ขึ้ น ตาม
ตลอดตัวเมืองนครศรีธรรมราชเกาเปนของทางราชการ
ธรรมชาติ ก็ ต าม เมื่ อ ทางราชการยั ง มิ ไ ด ต ราพระราช
และสถานที่ร าชการใช บริหารราชการแผนดินในเขต
กฤษฎี ก าเพิ ก ถอนสภาพการเป น สาธารณสมบั ติ ข อง
เมืองนครศรีธรรมราช ฉะนั้น เมืองนครศรีธรรมราชเกา
แผนดินสําหรับพลเมืองใชรวมกันตามประมวลกฎหมาย
จึง เป น ของหลวงหรื อ ทรั พ ย สิ น ใช เพื่ อ ประโยชน ข อง
ที่ดิน มาตรา 8 วรรค 2(1) แลวคูขวางยอมยังคงเปนสา
แผ น ดิ น โดยเฉพาะผู ใ ดจะถื อ เอาครอบครองเป น
ธารณสมบัติของแผนดินโจทกจะเขาครอบครองนานกี่ป
กรรมสิทธิ์สวนตัวหาไดไมแมตอมาจะปรากฏวาไดมีการ
ก็ หาได กรรมสิ ท ธิ์ ไม จ ะโอนแก กั นมิ ได และจะยกอายุ
รื้อกําแพงเมืองลงบางสวนเหลือแตฐานกําแพงเมืองแลว
ความขึ้นตอสูแผนดินก็มิไดเชนกันเพราะตกอยูในบังคับ
ใช ฐานกําแพงทําเปนถนน และคูเมืองไดตื้นเขินขึ้นเปน
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1305,
ที่ราบ แลวมีราษฎรไปครอบครองปลูกเรือนอยูอาศัยและ
1306 ดั งนั้ น แม โ จทก จะมี ห นั ง สื อ รั บ รองการทํ า
ใชเปนที่ทํากินรวมถึงที่ดินพิพาทที่จําเลยครอบครองอยู

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


251
ดวย ก็หาไดทําใหฐานะของเมืองนครศรีธรรมราชเกาพน และมีหนาที่บํารุงทางบกทางน้ํา ตามพระราชบัญญัติ
สภาพจากการเปนของหลวงหรือแผนดินไมโดยเฉพาะคู เทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 50(2),53 มีอํานาจหนาที่ดูแล
เมืองแตเดิมทางราชการสมัยกอนใชเปนที่ปองกันขาศึก รักษาคุมครองปองกันที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของ
ศัตรูจึงเปนสาธารณสมบัติของแผนดินตามอนุมาตรา (3) แผนดินหรือเปนทรัพยสินของแผนดินที่อยูในเขตเทศบาล
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1304 ตามคําสั่งกระทรวงมหาดไทย และดูแลรักษาลําน้ําใน
และเปนที่ราชพัสดุ ตามมาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติท่ี เขตเทศบาลตามที่ อ ธิ บ ดี ก รมเจ า ท า มอบหมาย ตาม
ราชพัสดุ พ.ศ.2518 ดวยแมที่พิพาทจะมีสภาพเปนที่นา พระราชบั ญ ญั ติก ารเดิน เรื อ ในน า นน้ํ า ไทย พ.ศ. 2456
แตก็ยังเปนสาธารณสมบัติของแผนดินอันเปนที่ราชพัสดุ โจทก ก็ ไ ม ใ ช ผู เ สี ย หายไม มี อํ า นาจฟ อ งขอให ล งโทษ
จําเลยจึงหาไดสิทธิครอบครองไม โจทกรวมเปนผูถือ จําเลยที่ 1 ในความผิดดังกลาว
กรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาทซึ่งเปนที่ราชพัสดุ ตามพระราช
บัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ.2518 มาตรา 5 โจทกรวมยอมมี คําพิพากษาฎีกาที่ 6432-6436/2540
สิทธิใหโจทกเชาที่ดินพิพาทไดเมื่อจําเลยเขาครอบครอง ที่ดินที่ทางราชการกําหนดเปนเขตหวงหามไว
ที่ดินพิพาทอยูไมยอมออกไปโจทกและโจทกรวม ยอมมี ใชในราชการทหารตามประกาศมณฑลนครราชสีมานั้น
อํานาจฟองขับไลจําเลยได แมจะกําหนดแนวอาณาเขตไวทั้งสี่ทิศแตก็มีเนื้อที่มากถึง
ประมาณ 11,011 ไรเศษ หลักไมแกนที่อางวาปกไวใน
คําพิพากษาฎีกาที่ 3205/2534 ระหวางหลักมุมหักทุกระยะนั้นก็ไมปรากฏวามีผูใดยัง
ที่ พิ พ าทเคยเป น ทางเรื อ ที่ ป ระชาชนเคยใช เห็นปกอยูในบริเวณที่ดินพิพาท การกําหนดบริเวณเขต
ประโยชนรวมกันอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินมา ปลอดภัยในราชการทหารก็ไมปรากฏวามีหลักแนวเขต
กอน แมจําเลยจะถมที่พิพาทจนเปนที่วางและน้ําทวมไม ปกไว ทั้งการนําที่ ดินดังกลาวบางส วนไปจดทะเบีย น
ถึง เมื่อยังไมมีการเพิกถอนสภาพที่ดินดังกลาวตาม ป. เปนที่ราชพัสดุก็ระบุอาณาเขตคราว ๆ การที่จะทราบวา
ที่ดิน และทางราชการยังสงวนไวเพื่อประโยชนรวมกันที่ ที่ดินสวนใดเปนพื้นที่ของมณฑลทหารบกที่ 21 ตองมา
พิ พ าทจึ ง ยั ง คงเป น สาธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ดั ง นี้ จากการตรวจสอบรั ง วั ด ของเจ า พนั ก งานที่ ดิ น ทาง
โจทกครอบครองมานานเทาใด ก็ไมไดสิทธิครอบครอง ราชการเองก็ไมทราบวาที่ดินพิพาทเปนสวนหนึ่งของ
และโจทกตองหามมิใหยกอายุความขึ้นตอสูกับแผนดิน ที่ดินของรัฐซึ่งเปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ใชเพื่อ
ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1306 ประโยชนของแผนดินโดยเฉพาะหรือไม ดังนี้ แมจะฟง
วาที่ดินพิพาทเปนที่ส าธารณสมบัติข องแผนดิน อยูใน
คําพิพากษาฎีกาที่ 3521/2536 ความครอบครองดู แ ลของมณฑลทหารบกที่ 21เมื่ อ
ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา จําเลยทั้งหาเขาครอบครองทํากินในที่พิพาทโดยสุจริต
229,360 พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พ.ศ. ดวยเขาใจวาตนเองมีสิทธิจําเลยทั้งหาจึงขาดเจตนาใน
2456 มาตรา 117,118,120 และประมวลกฎหมาย ความผิดฐานบุกรุก
ที่ดิน มาตรา 9,108 ทวิ เปนความผิดที่กระทําตอรัฐเปน
อํา นาจหน า ที่ ข องพนั ก งานอั ย การที่จ ะฟ อ งร อ งขอให คําพิพากษาฎีกาที่ 7216/2542
ลงโทษผูกระทําความผิด ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา การโอนที่ดินที่ยังไมมีใบจองกอนเวลาที่ทาง
ความอาญา มาตรา 28(1) และพระราชบัญญัติพนักงาน ราชการจะออกใบจองโดยการสงมอบการครอบครองไม
อัยการ พ.ศ. 2498 มาตรา 11(1) เอกชนจะฟองไดก็ตอเมื่อ เปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย คือ พระราชบัญญัติ
ไดรับความเสียหายเปนพิเศษ แมโจทกจะเปนเทศบาล ใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 8 วรรคสอง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


252
จึ ง ไม ต กเป น โมฆะตามประมวลกฎหมายแพ ง และ คําพิพากษาฎีกาที่ 6634/2545
พาณิชยมาตรา 150 ที่ ดิ น พิ พ าทเดิ ม เป น หาดทรายชายทะเล
การโอนที่ ดิ น ที่ ยั ง ไม ไ ด รั บ คํ า รั บ รองจาก ชาวบานใชตากกุงและตากปลาอันเปนการใชทรัพยสิน
นายอําเภอวาไดทําประโยชนแลวโดยการสงมอบการ ของแผ นดิ น เพื่ อ สาธารณประโยชน ห รือ สงวนไวเ พื่ อ
ครอบครองมิ ไ ด เ ป น การโอนสิ ท ธิ ค รอบครองตาม ประโยชนรวมกัน แมตอมาจะเปลี่ยนแปลงสภาพโดย
ความหมายแหงพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมาย ธรรมชาติ ท ะเลตื้ น เขิ น ขึ้ น แต ก็ เ ป น ทรั พ ย สิ น ของ
ที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 9 จึงไมตกเปนโมฆะปญหานี้ แผนดินที่ประชาชนใชรวมกัน จึงเปน สาธารณสมบัติ
จํ า เลยมิ ไ ด ฎี ก า แต เ ป น ป ญ หาอั น เกี่ ย วด ว ยความสงบ ของแผ น ดิ น ตามประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย
เรีย บร อยของประชาชนศาลฎีกายกขึ้นวินิจ ฉัยไดตาม มาตรา 1304(2) ตราบใดที่ทางราชการยังมิไดตราพระ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 142(5) ราชกฤษฎีกาเพิกถอนสภาพตามประมวลกฎหมายที่ดิน
ประกอบดวยมาตรา 246 และ 247 มาตรา 8 วรรคสอง ก็ ยั ง คงเป น สาธารณสมบั ติ ข อง
กอนที่ทางราชการจะออกใบจอง น. โอนที่ดิน แผนดินอยู ผูใดหามีสิทธิครอบครองหรือมีกรรมสิทธิ์ไม
ที ่ย ัง ไมม ีใ บจองให ส. เขา ครอบครองทํ า ประโยชน เมื่อโจทกมิใช ผูยึดถือ ที่ดินพิพาท โจทกจึงไมมีอํานาจ
ตลอดมา ถือวา น. แสดงเจตนาสละการยึดถือครอบครอง ฟองขับไลจําเลยผูครอบครองที่ดินพิพาทอยู
อยูเดิมใหแก ส. การครอบครองของ น. ยอมสิ้นสุดลง
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1377 คําพิพากษาฎีกาที่ 258/2547
วรรคแรก ส. จึงไดซึ่งสิทธิครอบครองที่ดิน เมื่อ ม. เขา
ที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน ถาไม
มาปลูกสรางบานอยูอาศัยในที่ดินที่ยังไมมีใบจองที่ ส. มี มีกฎหมายกําหนดไวเปนอยางอื่น อํานาจหนาที่ในการ
สิทธิครอบครองโดยมิไดรับความยินยอมจาก ส. จึงเปน ดูแลรักษาตกเปนของอธิบดีกรมที่ดิน ตาม ป. ที่ดิน
การละเมิดตอ ส. ส. มีสิทธิขับ ไล ม. และบริวารใหรื้อ มาตรา 8 แตสําหรับทางสาธารณประโยชนตาม ป.พ.พ.
ถอนบานเรือนสิ่งปลูกสรางใด ๆ ออกไปจากที่ดินพิพาท มาตรา 1304 (2) พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองที่ พ.ศ.
ได
2457 มาตรา 122 ไดบัญญัติใหกรมการอําเภอเปนผูมี
หน า ที่ ต รวจตรารั ก ษา ซึ่ ง ต อ มาได โ อนมาเป น อํ า นาจ
คําพิพากษาฎีกาที่ 5541/2545 หน า ที่ ข องนายอํ า เภอ ตาม พ.ร.บ. ระเบี ย บบริ ห าร
คณะกรรมการหมูบานซื้อที่ดินพิพาทเพื่อให ราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 62 วรรคสาม ดังนั้น
ราษฎรในหมูบานใชป ระโยชนรวมกั นที่ดินพิพาทตก อํานาจในการกําหนดแนวเขตทางสาธารณะจึงมิใชเปน
เปนสาธารณสมบัติของแผนดิน คณะกรรมการหมูบาน อํานาจหนาที่ของจําเลย การที่เจาพนักงานที่ดินในสังกัด
จึงไมสามารถนําออกขายใหโจทกได โจทกจึงไมมีสิทธิ ส ว นราชการของจํ า เลยได รั ง วั ด ที่ ดิ น และระบุ ว า ทาง
ครอบครองที่ดินพิพาท พิพ าทเปน ทางสาธารณะตามที่ ผูได รับ มอบหมายจาก
พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหาร นายอําเภอนําชี้และระวังแนวเขตที่ดิน จึงถือไมไดวาเปน
สวนตําบล พ.ศ. 2537 ไมไดบัญญัติใหอํานาจสภาตําบล การกระทําละเมิดตอโจทก โจทกจึงไมมีอํานาจฟอง
เปนผูดูแลและรักษาทรัพยสินอันเปนสาธารณสมบัติของ
แผนดิน สภาตําบล ผูรองสอดจึงไมมีอํานาจขอใหขับไล คําพิพากษาฎีกาที่ 7590/2543
โจทก ออกจากที่ดินพิพ าทซึ่งเปนที่ดินสาธารณสมบัติ
ความในมาตรา 8 แหง ป.ที่ดิน หมายถึง ที่ดิน
ของแผนดิน
อันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินหรือทรัพยสินของ
แผนดินโดยทั่ว ๆ ไป ซึ่งถาไมมีกฎหมายกําหนดไวเปน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


253
อยางอื่น จึงใหเปนอํานาจของอธิบดีกรมที่ดินที่จะดูแล ไมมีผลบังคับตามกฎหมาย จําเลยไมอาจอางสิท ธิ
รักษาและดําเนินการคุมครองปองกันและใหรัฐมนตรี ครอบครองเหนือที่พิพาทตามสัญญาเชาได
วาการกระทรวงมหาดไทยมีอํานาจมอบหมายใหทบวง การที่จําเลยสรางเพิงบนไหลทางหลวงพิพาท
การเมืองอื่นเปนผูใชอํานาจดังกลาวนั้นได แตในเรื่องที่ ซึ่งเปน สาธารณสมบัติข องแผนดินประเภททรั พยสิน
สาธารณประโยชนอันเปนของกลางสําหรับพลเมืองใช สําหรับพลเมืองใชรวมกัน ลอมรั้วสังกะสีปดกั้นระหวาง
รวมกันนั้น ไดมี พ.ร.บ.ลักษณะปกครองทองที่ พ.ศ. ทางหลวงกับที่ดินของโจทก ยอมกระทบสิทธิของโจทก
2457 มาตรา 122บัญญัติไวใหเปนหนาที่ของกรมการ ในอันที่จะใชทางหลวงนั้น โจทกจึงมีอํานาจฟองให
อํ า เภอ ซึ่ ง ต อ มาได โ อนมาเป น อํ า นาจหน า ที่ ข อง จํ า เลยรื้ อ ถอนขนย า ยเพิ ง และทรั พ ย สิ น ออกไปจากที่
นายอําเภอตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พิพาทและใชคาเสียหายแกโจทกได
พ.ศ. 2534 มาตรา 62วรรคสาม เห็นไดวา ป.ที่ดินมิได
ยกเลิกเพิกถอนอํานาจหนาที่ของนายอําเภอซึ่งมีอยูตาม มาตรา 9
มาตรา 122 แห ง พ.ร.บ.ลั ก ษณะปกครองท อ งที่ พ.ศ. คําพิพากษาฎีกาที่ 318-329/2525
2457 ดังนั้น การสอบสวนและแจงความรองทุกขตอ ที่ พิ พ าทเป น ที่ ดิ น ไม มี ห นั ง สื อ สํ า คั ญ แสดง
พนักงานสอบสวนของนายอําเภอจึงชอบดวยกฎหมาย กรรมสิ ท ธิ์ โจทก แ ละจํ า เลยจึ ง อาจมี ไ ด แ ต สิ ท ธิ
ครอบครองที่ดิน เมื่อโจทกไดเขาครอบครองที่พิพาท
คําพิพากษาฎีกาที่ 4840/2552 ภายหลังประมวลกฎหมายที่ดินใชบังคับแลวจึงไมไดรับ
ที่พิพาทเปนไหลทางของทางหลวงอันเปนสา ความคุมครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 4 สวน
ธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ประเภททรั พ ย สิ น สํ า หรั บ จําเลยแมจะครอบครองที่พิพาทมากอนประมวลกฎหมาย
พลเมืองใชรวมกันตาม ป.พ.พ. มาตรา 1304 (2) ที่ ดิ น ใช บั ง คั บ แต จํ า เลยก็ ห าได แ จ ง การครอบครอง
กรมธนารักษซึ่งรับมอบที่พิพาทคืนจากกรมทางหลวง ภายในกําหนดเวลาตามที่พระราชบัญญัติใหใชประมวล
และจังหวัดฉะเชิงเทราผูรับมอบชวงจากกรมธนารักษ กฎหมายที่ดิน ฯ มาตรา 5 บัญญัติไวไม โจทกและจําเลย
เพื่อดูแลรักษาไมมีอํานาจนําที่พิพาทไปใหเอกชนรายใด จึงตางไมมีกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองในที่พิพาท
ใชประโยชนเปนการเฉพาะตัว แมกรมทางหลวงจะหมด โดยชอบ ดังนั้น แมโจทกจะแยงการครอบครองที่พิพาท
ความจําเปนในการใชสอยและสงคืนแลว แตที่พิพาทอยู จากจําเลยเกินกวาหนึ่งปแลว ก็เปนการเขายึดถือครอบครอง
ในเขตทางหลวงมิใชที่ราชพัสดุตามประกาศของคณะ ที่ดินของรัฐโดยมิไดรับอนุญาต โจทกจึงไมมีอํานาจฟอง
ปฏิวัติฉบับที่ 295 ขอ 2 ประกอบขอยกเวนตาม พ.ร.บ.ที่ ขอใหศ าลพิพ ากษาว าที่ดิ น เปนของโจทก คงมีอํา นาจ
ราชพัสดุ พ.ศ.2518 มาตรา 4 และแมตอมาจะมี พ.ร.บ. ฟองขอใหปลดเปลื้องการรบกวนเทานั้น
ทางหลวง พ.ศ.2535 มาตรา 3 ใหยกเลิกประกาศของ
คณะปฏิวัติฉบับที่ 295 ก็ตาม ที่พิพาทก็ยังเปนไหลทาง คําพิพากษาฎีกาที่ 2634/2526
ซึ่งเปนสวนหนึ่งของทางหลวงอยูและยังคงสภาพเดิม แมขอ เท็จ จริงจะฟงไดตามฟอ งของโจทกวา
เวนแตทางราชการจะเพิกถอนสภาพการเปนสาธารณ ที่ดินที่จําเลยเขาไปยึดถือครอบครองเปนสาธารณสมบัติ
สมบัติของแผนดินตาม ป.ที่ดิน มาตรา 8 วรรคสอง (1) ของแผนดินที่ประชาชนใชรวมกัน และจําเลยมิไดมีสิทธิ
แลวเทานั้น ดังนั้น เมื่อไมปรากฏวาไดมีการเพิกถอน ครอบครองหรือมิไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่
สภาพการเปนสาธารณสมบัติของแผนดินในที่พิพาท แตเมื่อจําเลยเขาไปยึดถือครอบครองกอนวันที่ 4 มีนาคม
การที่จังหวัดฉะเชิงเทราอนุญาตใหจําเลยเชาที่พิพาทจึง 2515 ซึ่งเปนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ใช
เปนการใหเชาโดยปราศจากอํานาจ สัญญาเชาดังกลาว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


254
บังคับ จําเลยจึงไมมีความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน กฎหมายที่ดิน มาตรา 9, 108 ทวิ เมื่อขอเท็จจริงไดความ
มาตรา 9,108 ทวิ วาจําเลยเขายึดถือครอบครองที่ดินตามวันเวลาดังกลาว
โจทกไมไดบรรยายฟองดวยวาพนักงานเจาหนาที่ ในฟอง โจทกหาจําตองบรรยายฟองวา จําเลยเพิกเฉยไม
หรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากพนักงานเจาหนาที่ไดแจง ปฏิ บั ติ ใ ห ถู ก ระเบี ย บและไม ป ฏิ บั ติ ต ามคํ า สั่ ง ของ
เปนหนังสือใหจําเลยปฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการ พนักงานเจาหนาที่ ตามความในมาตรา108 ไม เพราะ
กําหนด แลวจําเลยเพิกเฉยหรือไมปฏิบัติใหถูกตองตาม จําเลยเขายึดถือ ครอบครอง ที่ดินภายหลังที่ประกาศของ
ระเบียบ และพนักงานเจาหนาที่มีคําสั่งเปนหนังสือให คณะปฏิวัตฉิ บับที่ 96 ใชบังคับแลว
จําเลยออกจากที่ดินภายในระยะเวลาที่กําหนด แลวจําเลย
ไมปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ ฟองโจทกจึง คําพิพากษาฎีกาที่ 375/2532
ขาดสาระสําคัญไมครบองคความผิด จะลงโทษจําเลย บ า นของจํ า เลยบางส ว นปลู ก รุ ก ล้ํ า เข า ไปใน
ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9, 108 ไมได ที่ ดิ น ชายทะเลอั น เป น สาธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ที่
ประชาชนใชรวมกันเปนเนื้อที่ประมาณ60 ตารางเมตร
คําพิพากษาฎีกาที่ 2554/2528 อยูแตเดิม จําเลยมิไดเปนผูปลูกสราง เมื่อบิดามารดา
จําเลยขุดตักและขนดินลูกรังในที่ดินหวงหาม จําเลยถึงแกกรรมบานและที่ดินดังกลาวตกเปนสิทธิแก
ของรัฐ อันเปนการทําลาย ทําใหเสื่อมสภาพที่ดิน ที่หิน จําเลยโดยจําเลยอาศัยอยูที่บานหลังนี้มาตั้งแตเกิด การที่
ที่กรวด ที่ทราย และเปนอันตรายแกทรัพยากร ในที่ดิน จํ า เลยสร า งรั้ ว สั ง กะสี ป ด กั้ น ทางเดิ น ซึ่ ง เป น ทาง
ตามมาตรา 9 (2), (3) แหงประมวลกฎหมายที่ดิน รถยนต สาธารณะที่ใชเดินสูชายทะเล เปนพฤติการณที่แสดงวา
บรรทุกที่ จําเลย ใชขนดินลูกรังที่ถูกขุดตักไปถือวาเปน จําเลยเขาใจวาที่ดินที่ปลูกบานและที่จําเลยลอมรั้วปดกั้น
ยานพาหนะที่ ไ ด ใ ช เ ป น อุ ป กรณ ใ ห ไ ด รั บ ผลในการ ทางเดิ น นั้ น เป น ของตนโดยสุ จ ริ ต จํ า เลยไม ไ ด เ ข า ไป
กระทําความผิดดังกลาว จึงตองริบตามประมวลกฎหมาย ยึดถือครอบครองที่ดินชายทะเลโดยมีเจตนาที่จะฝาฝน
ที่ดิน มาตรา 108 ทวิ ตอกฎหมาย จําเลยจึงไมมีความผิดตามประมวลกฎหมาย
ที่ดิน มาตรา 9,108 ทวิ
คําพิพากษาฎีกาที่ 2356/2530
จําเลยขุดทรายในแมน้ําซึ่งเปนสาธารณสมบัติ คําพิพากษาฎีกาที่ 1692/2532
ของแผนดินโดยไมไดรับอนุญาต เปนการทําลายหรือทํา จําเลยเขาไปไถพูนดินและปลูกตนมะพราวใน
ให เ สื่ อ มสภาพที่ ท รายอั น เป น ความผิ ด ตามประมวล บริเวณที่น้ําทวมถึงอันเปนหนองน้ําสาธารณะซึ่งเปนสา
กฎหมายที่ดิน และรถยนตที่จําเลยใชบรรทุกทรายซึ่งขุด ธารณสมบัติ ข องแผน ดิ น และยัง คงอยู ใ นที่ไ มย อมรื้ อ
ไดจากแมน้ํา ถือวาเปนยานพาหนะที่ไดใชเปนอุปกรณ ถอนตนมะพราวเมื่อนายอําเภอแจงใหออก เปนความผิด
ให ไ ด รั บ ผลในการกระทํ า ความผิ ด ตามประมวล ตามประมวลกฎหมายที่ดิ น มาตรา 108 ทวิ วรรคสอง
กฎหมายที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคทาย จึงตองริบ ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ขอ 11 แตจะลงโทษ
จําเลยในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
คําพิพากษาฎีกาที่ 3947/2530 362, 365 หาไดไม เพราะบทบัญญัติดังกลาวมุงประสงค
โจทก ฟ อ งว า จํ า เลยบุ ก รุ ก เข า ไปยึ ด ถื อ ลงโทษผูบุกรุกอสังหาริมทรัพยของผูอื่น ไมใชลงโทษผู
ครอบครองที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ บุกรุกที่สาธารณสมบัติของแผนดิน ทั้งการกระทําของ
ประชาชนใชรวมกันเมื่อระหวางวันที่ 1 มกราคม 2518 จํ า เลยเป น เพี ย งเข า ไปถื อ เอาประโยชน ใ นที่ ส าธารณ
ถึงวันที่ 24 ตุลาคม 2527 ขอใหลงโทษตามประมวล ประโยชนไมไดประสงคจ ะเขาไปทําใหที่นั้นเสื่อมคา

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


255
หรื อ ไร ป ระโยชน จึ ง ลงโทษจํ า เลยในความผิ ด ตาม ตาม ป.อ. มาตรา 362,365 กฎหมายมุงประสงคจ ะ
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 360 ไมไดอีกเชนกัน ลงโทษผูที่บุกรุกอสังหาริมทรัพยของผูอื่นเทานั้นไมใช
บทบั ญ ญั ติ ที่ จ ะลงโทษผู บุ ก รุ ก ที่ ส าธารณสมบั ติ ข อง
คําพิพากษาฎีกาที่ 2431/2532 แผนดิน
การที่ ศ าลจะมี อํ านาจสั่ง ให บุ ค คลใดออกไป
จากที่ดินของรัฐนั้นตองเปนกรณีที่ศาลพิพากษาวาบุคคล คําพิพากษาฎีกาที่ 2672/2534
ดังกลาวไดกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน กรมศิลปากรอนุญาตใหสํานักหุบผาสวรรคใช
มาตรา 9, 108 ทวิ แลว เมื่อที่พิพาทยังไมอาจฟงไดแนชัด ประโยชน เ นื้ อ ที่ ภู เ ขาและรั ศ มี เ ขาถ้ํ า พระอั น เป น
วาเปนที่สาธารณประโยชนและจําเลยยึดถือครอบครอง โบราณสถานได จําเลยในฐานะเจาสํานักหุบผาสวรรค
อยูโดยเชื่อวาตนมีสิทธิครอบครองตอจากบิดา จึงไมเปน ยอ มไดรับ ประโยชนจากการอนุญาตนั้นดวยจําเลยจึง
ความผิดตามบทบัญญัติดังกลาว ศาลไมอาจสั่งใหจําเลย เปนผูหนึ่งที่มีสิทธิครอบครองที่ดินดังกลาว แมตอมา
และบริวารออกไปจากที่พิพาทได รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยประกาศในราชกิจจา
การที่จําเลยไมยอมออกจากที่พิพาทตามคําสั่ง นุเบกษาใหที่เขาหรือภูเขาและปริมณฑลรอบที่เขาหรือ
ของนายอําเภอเพราะเชื่อวาจําเลยมีสิทธิครอบครองซึ่ง ภูเขา 40 เมตรทุ กแหง ทุก จัง หวั ด เปน ที่ห วงหา มซึ่ งกิ น
เปนขอเท็จจริงอันเดียวเกี่ยวพันกันกับที่วินิจฉัยมาแลววา ความถึงบริเวณที่กรมศิลปากรอนุญาตเชนวานั้นดวย ก็
การกระทําของจําเลยไมเปนความผิดฐานบุกรุก จําเลยจึง หามีผลเปนการหามมิใหจําเลยเขาไปปลูกสรางในที่ดิน
ไม มี ค วามผิ ด ฐานขั ด คํ า สั่ ง เจ า พนั ก งานตามประมวล บริเวณนั้นไมการปลูกสรางของจําเลยจึงไมเปนความผิด
กฎหมายอาญา มาตรา 368 แมปญหานี้ยุติแลวในศาล ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9, 108, 108 ทวิ
อุทธรณศาลฎีกาก็มีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยไดตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 185 ประกอบ คําพิพากษาฎีกาที่ 4793/2534
มาตรา 215 และ 225 การดํ า เนิ น การตามวั ต ถุ ป ระสงค ข องห า ง
หุนสวนจํากัดตองดําเนินการโดยหุนสวนผูจัดการ เมื่อ
คําพิพากษาฎีกาที่ 3458-3461/2532 จําเลยเปนหุนสว นผูจัด การของ หา งหุนสวนจํากัด ห.
แมที่ดินที่จําเลยเขาไปยึดถือครอบครองเปนสา และจําเลยเขายึดถือครอบครองที่เกิดเหตุซึ่งเปนที่ดินของ
ธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ที่ ป ระชาชนใช ร ว มกั น และ รัฐ โดยมิไดมีสิทธิครอบครองและมิไดรับอนุญาตจาก
จํ า เลยมิ ไ ด รั บ อนุ ญ าตจากพนั ก งานเจ า หน า ที่ แต เ มื่ อ พนั ก งานเจ า หน า ที่ แม จํ า เลยเข า ยึ ด ถื อ ครอบครองใน
จําเลยเขาไปยึดถือครอบครองกอนวันที่ 4 มีนาคม 2515 ฐานะจําเลย เปนหุนสวนผูจัดการหางดังกลาว ก็ถือวา
ซึ่งเปนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 96 ใชบังคับ จําเลยเปน ตัวการรวมกระทําความผิดดวย
จําเลยจึงไมมีความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา
9, 108 ทวิ คําพิพากษาฎีกาที่ 1273/2535
จําเลยเขา ครอบครองที่ส าธารณประโยชน ที่
คําพิพากษาฎีกาที่ 1932/2533 ประชาชนใชรวมกันโดยเชื่อโดยสุจริตวาจําเลยมีสิทธิ
จํ า เลยบุ ก รุ ก เข า ครอบครองที่ พิ พ าทโดยรู ว า ครอบครอง ตอมาทางราชการไดมีหนังสือแจงใหจําเลย
เปนที่สาธารณสมบัติของแผนดินที่พลเมืองใชรวมกัน มี ทราบว า เป น ที่ ดิ น สาธารณประโยชน แ ละให จํ า เลย
ความผิดตาม ป.ที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคสอง ประกาศ ออกไป แตจําเลยไมยอมออก ถือวาจําเลยมีเจตนายึดถือ
ของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96ขอ 11 สวนความผิดฐานบุกรุก ครอบครองที่เกิดเหตุซึ่งเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


256
จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 108 ทวิ อันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน พ.ศ. 2478 มาตรา 4,
วรรคสอง 5 อีก โจทกฟองวา จําเลยทั้งสองเขาไปยึดถือครอบครอง
ที่ดินของรัฐอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับ
คําพิพากษาฎีกาที่ 2079/2535 พลเมืองใชรวมกัน อันเปนการฝาฝนประมวลกฎหมาย
ตามระเบี ย บของคณะกรรมการจั ด ที่ ดิ น ที่ดินฯ มาตรา 9, 108 ทวิ ศาลที่มีอํานาจชําระคดีอาญา
แหงชาติ ฉบับที่ 3(พ.ศ. 2515) วาดวยวิธีปฏิบัติในการ ยอมมีอํานาจที่จะวินิจฉัยวา ที่ดินตามฟองเปนที่ดินของ
แจ ง และออกคํ า สั่ ง แก ผู ฝ า ฝ น มาตรา 9 แห ง ประมวล รัฐอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับพลเมืองใช
กฎหมายที่ดินอยูกอนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับ รวมกันหรือไม เพราะเปนองคความผิดตามบทมาตราที่
ที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ พุทธศักราช 2515 ใชบังคับ โจทกอาง ไมจําตองเสนอเปนคดีแพงใหศาลวินิจฉัย ชี้
กําหนดใหเจาหนาที่ผูนําสงหนังสือแจงบันทึกเหตุการณ ขาดเสียกอน จึงไมเปนการพิพากษาเกินไปจากที่โจทก
และเหตุผลในการไมย อมรับ หนังสื อ แจงไว และให มี กล า วในฟ อ ง ส ว นการที่ จ ะได มี ก ารดํ า เนิ น การตาม
พยานอย า งน อ ย2 คน ลงชื่ อ รั บ รองไว ใ นบั น ทึ ก นั้ น กฎกระทรวงฉบับที่ 26 (พ.ศ.2516) ซึ่งออกตามความใน
ดวย เมื่อผูนําสงหนังสือแจงไดปฏิบัติการดังกลาวแลว พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดินหรือไม ไม
นั้นใหถือวาผูฝาฝนไดรับหนังสือแจงแลว แตตามบันทึก เกี่ ย วข อ งหรื อ กระทบต อ อํ า นาจฟ อ งของโจทก แม
ขอความของเจาหนาที่ผูนําหนังสือแจงและคําสั่งใหออก ระหว า งการพิ จ ารณาของศาลชั้ น ต น จะมี พ ระราช
จากที่ดินไปสงแกจําเลย นอกจากจะไมปรากฏเหตุผลที่ กฤษฎี ก าถอนสภาพที่ ดิ น อั น เป น สาธารณสมบั ติ ข อง
ผู ฝ า ฝ น ไม ย อมรั บ หนั ง สื อ แจ ง แล ว ยั ง ไม ป รากฏว า แผนดินสําหรับพลเมืองใชรวมกันในทองที่ตามฟองก็
เจาหนาที่ผูนําสงไดสอบถามเหตุผลเอาจากผูฝาฝนแลว ตาม ก็ เ พี ย งแต มี ผ ลทํ า ให ที่ ดิ น ที่ จํ า เลยเข า ไปยึ ด ถื อ
บันทึกไวและไมปรากฏวาบันทึกดังกลาวเปนเอกสารที่ ครอบครองนั้ น ไม มี ส ภาพเป น สาธารณสมบั ติ ข อง
อางอิงเกี่ยวกับจําเลยวาเปนผูเขาไปยึดถือครอบครองกน แผนดินสําหรับประชาชนใชร วมกันต อ ไปตั้งแตวัน ที่
สร า งที่ ดิ น ของรั ฐ อั น เป น การฝ า ฝ น มาตรา 9 แห ง พระราชกฤษฎี ก าดั ง กล า วใช บั ง คั บ เท า นั้ น มิ ใ ช เ ป น
ประมวลกฎหมายที่ดิน บันทึกขอความนั้นจึงไมถูกตอง กฎหมายที่บัญญัติใหการเขาไปยึดถือ ครอบครองที่ดิน
ครบถ ว นตามที่ ร ะเบี ย บกํ า หนด จะถื อ ว า จํ า เลยได รั บ ของรั ฐ ซึ่ ง เป น สาธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น สํ า หรั บ
หนั ง สื อ แจ ง อั น เป น คํ า สั่ ง เจ า พนั ก งานซึ่ ง สั่ ง การตาม ประชาชนใชรวมกันไมเปนความผิดตอไปตามประมวล
อํานาจที่กฎหมายใหไวและทราบคําสั่งนั้นแลวหาไดไม กฎหมายอาญา มาตรา 2
จําเลยไมมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
368 และประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 108 คําพิพากษาฎีกาที่ 2366/2536
คดี ค วามผิ ด ในข อ หาที่ ต อ งห า มอุ ท ธรณ ใ น
คําพิพากษาฎีกาที่ 2311/2536 ปญหาขอเท็จจริงตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและ
ที่ดินซึ่งเปนที่สําหรับพลเมืองใชเปนทุงเลี้ยง วิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงพ.ศ. 2499 มาตรา 22
สั ต ว ร ว มกั น มาก อ น ย อ มมี ส ภาพเป น ที่ ดิ น อั น เป น แต คู ค วามอุ ท ธรณ ร วมมากั บ ความผิ ด ฐานอื่ น ที่ ไ ม
สาธารณประโยชน ข องแผ น ดิ น สํ า หรั บ พลเมื อ งใช ตองหามอุทธรณในปญหาขอเท็จจริง ศาลอุทธรณมีอํานาจ
รวมกันตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยม าตรา วินิจฉัยขอหานั้นไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
1304(2) โดยไม จํ า ต อ งออกเป น พระราชกฤษฎี ก า ความอาญา มาตรา 185เมื่อศาลอุทธรณพิพากษากลับให
ประกาศเขตที่ดินเพื่อสงวนไวเปนที่ดินสาธารณะ ตาม ยกฟองโจทกในขอหานี้ โจทกจึงมีสิทธิฎีกาในความผิด
พระราชบัญญัติวาดวยการหวงหามที่ดินรกรางวางเปลา ฐานนี้ตอมาได เดิมที่ดินพิพาทเปนที่สาธารณสมบัติของ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


257
แผ น ดิ น สํ า หรั บ พลเมื อ งใช ร ว มกั น ต อ มาระหว า งการ โจทก ก็ ไ ม ใ ช ผู เ สี ย หายไม มี อํ า นาจฟ อ งขอให ล งโทษ
พิจารณาคดีของศาลชั้นตน ไดมีพระราชกฤษฎีกา ถอน จําเลยที่ 1 ในความผิดดังกลาว
สภาพที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับ
พลเมื อ งใช ร ว มกั น ในท อ งที่ ที่ ดิ น พิ พ าท ทํ า ให ที่ ดิ น คําพิพากษาฎีกาที่ 2741/2538
พิ พ าทไม เ ป น ที่ ส าธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น สํ า หรั บ การครอบครองที่ ดิ น ที่ เกิ ด เหตุ ข องจํ า เลยทั้ ง
พลเมืองใชรวมกันอีกตอไปแตที่ดินพิพาทก็ยังคงมีสภาพ สามเกิดขึ้นหลังวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่96
เปนที่ดินอันเปนทรัพยสินของแผนดินอยูจําเลยซึ่งเขาบุก พ.ศ.2515ใชบังคับตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมาย
รุกเขายึดถือครอบครองที่ดินพิ พาทจึงยังคงมีความผิด ที่ ดิ น มาตรา9(1)ประกอบมาตรา108วรรคแรก การ
ตามประมวลที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคหนึ่ง เพราะ กระทําของจําเลยทั้งสามยอมเปนความผิดตามประมวล
พระราชกฤษฎีกา ดังกลาวหาไดบัญญัติใหการกระทํา กฎหมายที่ดินมาตรา9(1),108ทวิในทันทีที่จําเลยเขาไป
เชนนั้นไมเปนความผิดตอไปไม จําเลยจึงไมพนจากการ ยึดถือครอบครองที่ดินในที่เกิดเหตุซึ่งเปน ที่ดินของรัฐ
เปนผูกระทําผิด แตเปนกรณีที่กฎหมายที่ใชขณะกระทํา หาจําตองใหพนักงานเจาหนาที่หรือผูซื้อไดรับมอบหมาย
ผิดแตกตางกับกฎหมายที่ใชภายหลังกระทําความผิดตอง จากพนักงานเจาหนาที่แจงเปนหนังสือใหจําเลยทั้งสาม
ใชกฎหมายในสวนที่เปนคุณแกผูกระทําผิดไมวาในทางใด ปฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดเสียกอนไม
จําเลยจึงไมตองรับโทษตามมาตรา 108 ทวิ วรรคสอง ความผิดที่โจทกฟองเกิดขึ้นตั้งแตขณะจําเลยทั้งสามเขา
แตรับโทษตามมาตรา 108 ทวิ วรรคหนึ่ง ซึ่งมีอัตราโทษ ไปยึดถือครอบครองที่ดินในที่เกิดเหตุซึ่งเปนที่ดินของ
เบากวา รัฐและจะคงเปน ความผิดเชนนั้นตลอดไปจนกวาจําเลย
ทั้งสามจะออกไปจากที่ดินเกิดเหตุแมศาลอุทธรณภาค3
คําพิพากษาฎีกาที่ 3521/2536 จะฟ ง ข อ เท็ จ จริ ง ด ว ยว า ก อ นหน า วั น เกิ ด เหตุ ต ามฟ อ ง
ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา จําเลยทั้งสามไดเขาไปยึ ดถื อ ครอบครองที่ดินเกิด เหตุ
229, 360 พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พ.ศ. ตั้งแตปลายป2532ตอเนื่องกันมาจนถึงวันเวลาเกิดเหตุ
2456 มาตรา 117,118,120 และประมวลกฎหมายที่ดิน ตามฟองก็เปนการฟงขอเท็จจริงประกอบกันวาจําเลยทั้ง
มาตรา 9,108 ทวิ เปนความผิดที่กระทําตอรัฐเปนอํานาจ สามกระทําผิดตามวันเวลาที่โจทกฟองจริงหาใชเปนการ
หนาที่ของพนักงานอัย การที่จ ะฟองรองขอใหล งโทษ ฟงขอเท็จจริงแตกตางกันในฟองไม
ผู ก ระทํ า ความผิ ด ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณา
ความอาญา มาตรา 28(1) และพระราชบัญญัติพนักงาน คําพิพากษาฎีกาที่ 3107/2539
อัยการ พ.ศ.2498 มาตรา 11(1) เอกชนจะฟองไดก็ตอเมื่อ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู หั ว
ไดรับความเสียหายเปนพิเศษ แมโจทกจะเปนเทศบาล พระราชทานที่ ดิ น พิ พ าทให แ ก ก องทั พ เรื อ ตั้ ง แต พ .ศ.
และมีหนาที่บํารุงทางบกทางน้ํา ตามพระราชบัญญัติ 2465 และตอมาไดมีการออกพระราชกฤษฎีกากําหนด
เทศบาล พ.ศ. 2496มาตรา 50(2), 53 มีอํานาจหนาที่ดูแล เปนเขตหวงหามสําหรับใชในราชการทหารพรอมดวย
รักษา คุมครองปองกันที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของ แผนที่ซึ่งไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหประชาชน
แผ น ดิ น หรื อ เป น ทรั พ ย สิ น ของแผ น ดิ น ที่ อ ยู ใ นเขต ทราบแลวทั้งตอมากรมธนารักษไดขึ้นทะเบียนเปนที่ราช
เทศบาลตามคําสั่งกระทรวงมหาดไทย และดูแลรักษาลํา พัส ดุโ ดยมี ก ารประกาศในราชกิจ จานุ เ บกษาอีก ถือ ว า
น้ําในเขตเทศบาลตามที่อธิบดีกรมเจาทามอบหมาย ตาม ประชาชนทุกคนทราบแลววาที่ดินพิพาทเปนที่ดินหวง
พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พ.ศ. 2456 หามมิใหผูห นึ่งผูใดเขาไปยึดถือครอบครองเวน แตจ ะ
ไดรับอนุญ าตจากพนักงานเจาหนาที่แมมี การแจงการ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


258
ครอบครองที่ดินพิพาทก็ตามแตแบบแจงการครอบครอง ออกจากที่ ดิ น พิ พ าทตามคํ า สั่ ง ของอํ า เภอแต อ ย า งใด
ส.ค.1 มิใชคําอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ยอมอาง ตอมาเมื่อมีการสรางวัดในที่ดินพิพาทอีก ภริยาจําเลยซึ่ง
ไมไดวาผูเขาไปยึดถือครอบครองในที่ดินไมมีเจตนาเขา เปนบุตร ส.ทําการคัดคานจนไมสามารถสรางวัดได ดังนี้
ไปในที่ดินพิพาทจําเลยซื้อที่ดินพิพาทภายหลังที่พระราช เห็นไดวานับแต ท.ไดประกาศจะใหที่ดินพิพาทเปนที่
กฤษฎีกาดังกลาวใชบังคับแลวถือวาจําเลยรูอยูวาเปนที่ สาธารณะฝายจําเลยก็ไดทําการคัดคานมาโดยตลอด และ
หวงหามเมื่อเขาไปยึดถือครอบครองยอมมีความผิดจะ ยั ง ไม ไ ด มี ก ารดํ า เนิ น คดี ท างแพ ง พิ สู จ น สิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น
อางวามีแบบแจงการครอบครองที่ดินพิพาทตามเอกสาร พิ พ าทกั น ให เ สร็ จ เด็ ด ขาดแต อ ย า งใด เมื่ อ ข อ เท็ จ จริ ง
ส.ค.1 มายกเวนความผิดโดยอางวาไมมีเจตนากระทําผิด เกี่ ย วกั บ ที่ ดิ น พิ พ าทฟ ง ไม ไ ด ว า เป น ที่ ส าธารณะการ
ไมได การที่จําเลยเขาไปในที่ดินพิพาทก็เพื่อยึดถือ กระทํ า ของจํ า เลยจึ ง ไม เ ป น ความผิ ด ตามประมวล
ครอบครองและปลูกสรางอาคารในที่ดินพิพาทจึงเปน กฎหมายที่ดินมาตรา 9,108 ทวิ วรรคสอง
กรรมเดียวแตผิดกฎหมายหลายบท
คําพิพากษาฎีกาที่ 4911/2541
คําพิพากษาฎีกาที่ 5616/2539 ความผิ ด ฐานบุ ก รุ ก ตาม ประมวลกฎหมาย
ความผิดฐานบุกรุกตามประมวลกฎหมายอาญา อาญา มาตรา 365(2)(3) ประกอบมาตรา 362 กฎหมายมุง
มาตรา 362, 365 กฎหมายมุงประสงคลงโทษผูบุกรุก ลงโทษผู ที่ บุ ก รุ ก เข า ไปใน อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ข องผู อื่ น
อสังหาริมทรัพยของผูอื่นเทานั้นไมใชบทบัญ ญัติที่จ ะ ไม ใ ช เ ป น บทบั ญ ญั ติ ที่ จ ะลงโทษผู บุ ก รุ ก ที่ ส าธารณ
ลงโทษผูบุกรุกที่สาธารณสมบัติของแผนดินซึ่งมีบัญญัติ สมบัติของแผนดินแตอยางใด สวนการกระทําอันเปน
ไวโดยเฉพาะตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 9, 108 การฝาฝนประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 9(1) และมีโทษ
ทวิ วรรคสอง และแมไมมีฝายใดฎีกาศาลฎีกาก็มีอํานาจ ตามมาตรา 108 ทวิ วรรคสอง นั้นจะตองเปนการฝาฝน
ปรับ บทกฎหมายให ถูกต อ งได ความผิ ด ฐานก อ สรา ง นับแตวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 96ใชบังคับ
อาคารโดยไมไดรับอนุญาตเปนความผิดตางกรรมกับ คือวันที่ 4 มีนาคม 2515 เปนตนไป เมื่อพยานหลักฐาน
ความผิดฐานบุกรุกเขาไปยึดถือครอบครองที่ดินของรัฐ โจทกไมมีน้ําหนักเพียงพอที่จะฟงวา จําเลยที่ 1 ไดเขาไป
เพราะตางมีสภาพและลักษณะของการกระทําที่แตกตาง ยึดถือครอบครองที่ดินสาธารณประโยชนภายหลังวันที่
กันสามารถแยกเปนคนละสวนตางหากจากกันได การยึด ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 มีผลใชบังคับ จึงไม
ทรั พ ย สิ น ใช ค า ปรั บ และการกั ก ขั ง แทนค า ปรั บ ตาม อาจลงโทษจําเลยที่ 1 ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 29, 30 เปนวิธีที่จะกระทํา 9(1) ประกอบมาตรา 108 ทวิ วรรคสอง ได โจทกไมได
เพื่อเปนการชดใชคาปรับเปนการบังคับคดีไมจําที่ศาล บรรยายฟองดวยว าพนักงานเจาหนาที่ห รือ ผูซึ่งไดรับ
จะตองกลาวไวในคําพิพากษา มอบหมายไดแจงเปนหนังสือใหจําเลยที่ 1 ปฏิบัติตาม
ระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดแลวจําเลยที่ 1 เพิกเฉย
คําพิพากษาฎีกาที่ 3750/2540 หรือไมปฏิบัติใหถูกตองตามระเบียบ และพนักงาน
ที่ดินพิพาทไมไดเปนที่สาธารณประโยชนมา เจาหนาที่มีคําสั่งเปนหนังสือใหจําเลยที่ 1 ออกจากที่ดิน
แตเดิม แตกรณีเปนเรื่องที่ ท. ผูใหญบานกับคณะกรรมการ ภายในระยะเวลาที่กําหนดแลวจําเลยที่ 1 ไมปฏิบัติตาม
หมูบานตองการจะใหเปนที่สาธารณะเมื่อป 2525 และ คํ า สั่ ง ฟ อ งของโจทก จึ ง ขาดสาระสํ า คั ญ ไม ค รบ
ทางราชการยังไมไดมีการสอบเขตที่แนนอน หลังจาก ท. องคประกอบความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดินตาม
ไดประกาศใหเปนที่ดินสาธารณะแลว ก็ถูก ส.คัดคานแม มาตรา 9(1),108 ที่จะลงโทษจําเลยที่ 1 ได
จะมีการไกลเกลี่ยกัน ส. ก็ไมยินยอมและไมปรากฏวา ส.

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


259

คําพิพากษาฎีกาที่ 5029/2542 ที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 9 จึงไมตกเปนโมฆะปญหานี้


การยกที่ ดิ น ให เ ป น ที่ ส าธารณประโยชน จํ า เลยมิ ไ ด ฎี ก า แต เ ป น ป ญ หาอั น เกี่ ย วด ว ยความสงบ
สําหรับแผนดินนั้น หากไมไดทําเปนหนังสือแลวตองมี เรี ย บรอยของประชาชนศาลฎีกายกขึ้นวินิจ ฉัยไดตาม
การแสดงเจตนาตอบรับการยกให จากรัฐโดยอยางนอย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 142(5)
ต อ งทํ า เป น หนั ง สือ ตอบรั บ หรื อ เข าไปครอบครองใช ประกอบดวยมาตรา 246 และ 247
สอยทํ า ประโยชน ใ นที่ ดิ น ที่ ไ ด รั บ การยกให เมื่ อ ไม กอนที่ทางราชการจะออกใบจอง น. โอนที่ดิน
ปรากฏวา ก.ไดทําเปนหนังสือยกที่ดินพิพาทใหแกสวน ที่ยังไมมีใบจองให ส. เขาครอบครองทําประโยชนตลอด
ราชการของรัฐหนวยใดเมื่อใดหรือสวนราชการของรัฐ มา ถือวา น. แสดงเจตนาสละการยึดถือครอบครองอยู
หนวยใดไดเขาครอบครองทําประโยชนใชที่ดินพิพาท เดิมใหแก ส. การครอบครองของ น. ยอมสิ้นสุดลงตาม
คงไดความวาพ.ศ. 2533 จําเลยขอเลขที่บานซึ่งปลูกอยู ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1377 วรรคแรก
ในที่ดินพิพาทไมไดจึงไดรองเรียนตอทางราชการ ทาง ส. จึงไดซึ่งสิทธิครอบครองที่ดิน เมื่อ ม. เขามาปลูกสราง
ราชการจึ ง ดํ า เนิ น การตรวจสอบที่ ดิ น พิ พ าทซึ่ ง มี บ า น บ า นอยู อ าศั ย ในที่ ดิ น ที่ ยั ง ไม มี ใ บจองที่ ส. มี สิ ท ธิ
จําเลยปลูกอาศัยและขอออกเลขที่บานหลังดังกลาว จึงมี ครอบครองโดยมิไดรับความยินยอมจาก ส. จึงเปนการ
การอางวา ก. ยกที่ดินพิพาทใหเปนที่สาธารณประโยชน ละเมิดตอ ส. ส. มีสิทธิขับไล ม. และบริวารใหรื้อถอน
แลว ทั้ง ล. ซึ่งเคยเปนผูใหญบานและเปนกํานันตําบล บานเรือน สิ่งปลูกสรางใด ๆ ออกไปจากที่ดินพิพาทได
หนองอิ รุ ณ เป น เจ า หน า ที่ ข องรั ฐ ผู ป กครองดู แ ลที่ ดิ น
พิพาท ยอมตองรูวาที่ดินใดเปนที่สาธารณประโยชน แต คําพิพากษาฎีกาที่ 2565/2543
ล. ก็มิไดดําเนินการอยางใดเพื่อใหเห็นวาที่ดินพิพาทเปน ที่ ดิ น ที่ จํ า เลยซื้ อ จาก พ. เป น ที่ ดิ น มี ห นั ง สื อ
ที่สาธารณประโยชนดังอางเลย จึงรับฟงไมไดวาที่ดิน รับรองการทําประโยชนซึ่งมีรูปแผนที่แสดงอาณาเขต
พิพาทเปนที่สาธารณประโยชนเมื่อจําเลยไดครอบครอง และเขตติ ด ต อ ไว อ ย า งชั ด แจ ง การซื้ อ ขายได มี ก ารจด
และทํา ประโยชน ใ นที่ ดิน พิ พ าทโดยปลู ก ตน มะพร า ว ทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ จําเลยยอมทราบเปนอยาง
และมะขามเทศมาตั้งแต พ.ศ. 2495 และปลูกบานอยู ดีวาที่ดินที่ซื้อดานทิศตะวันตกติดทางสาธารณประโยชน
อาศัยในที่ดินพิพาทเมื่อ พ.ศ. 2530 จึงเปนการที่จําเลยเขา มิใชที่รกรางวางเปลาเมื่อจําเลยปลูกสรางบานและอาคาร
ครอบครองทําประโยชนและอยูอาศัยในที่ดินพิพาทไม โรงงานล้ําเขาไปในทางสาธารณประโยชนจึงเปนการกระทํา
เปนการบุกรุก โดยเจตนาเพื่อจะยึดถือครอบครองทางสาธารณประโยชน
คําพิพากษาฎีกาที่ 7216/2542 เปนของตนเอง จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดินฯ
การโอนที่ดินที่ยังไมมีใบจองกอนเวลาที่ทาง ขอเท็จจริงตามที่ปรากฏในทางพิจารณารับฟง
ราชการจะออกใบจองโดยการสงมอบการครอบครองไม ไดวาตามวันเวลาเกิดเหตุในฟองจําเลยยังยึดถือครอบครอง
เปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมายคือพระราชบัญญัติ ที่พิพาทอันเปนความผิดอยู ยอมเปนขอเท็จจริงที่ตรงกับ
ใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 8 วรรคสอง ข อ เท็ จ จริ ง ที่ ก ล า วในฟ อ ง ศาลย อ มมี อํ า นาจพิ พ ากษา
จึ ง ไม ต กเป น โมฆะตามประมวลกฎหมายแพ ง และ ลงโทษจําเลยไดหาใชขอเท็จจริงในทางพิจารณาแตกตาง
พาณิชย มาตรา 150 จากขอ เท็จจริงดังที่กลาวในฟอ งอันเปนสาระสําคัญ ที่
การโอนที่ ดิ น ที่ ยั ง ไม ไ ด รั บ คํ า รั บ รองจาก จะตองพิพากษายกฟอง
นายอําเภอวาไดทําประโยชนแลวโดยการสงมอบการ จํ า เลยเข า ไปยึ ด ถื อ ครอบครองที่ ดิ น ของรั ฐ
ครอบครองมิ ไ ด เ ป น การโอนสิ ท ธิ ค รอบครองตาม หลังจากประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 96 มีผลใชบังคับ
ความหมายแหงพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมาย แล ว ซึ่ง ตามประมวลกฎหมายที่ดิ นฯ มาตรา 9(1)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


260
ประกอบมาตรา 108 ทวิ บั ญ ญั ติ ใ ห ก ารเข า ไปยึ ด ถื อ เพราะในการพิจารณา คดีอาญาโจทกมีหนาที่นําสืบให
ครอบครองที่ ดินของรั ฐเป น ความผิ ด ในทันที ที่เข าไป ฟงไดวาจําเลยกระทําความผิด
ยึดถือครอบครองโดยไม จําตองใหพนักงานเจาหนาที่
แจงและมีคําสั่งใหจําเลยปฏิบัติตามเสียกอน โจทกไมได คําพิพากษาฎีกาที่ 2107/2553
บรรยายขอ ความดั ง กลา วไว ก็ไ ม ทํ า ให ฟอ งโจทกข าด โจทกบรรยายฟองวา เมื่อวันที่ 1 มกราคม
องคประกอบความผิด 2510 ถึงวันที่ 15 กรกฎาคม 2545 จําเลยเขายึดถือที่ดิน
จําเลยเริ่มเขายึดถือครอบครองที่พิพาทตั้งแตป สาธารณประโยชน อันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
2523 เปนตนมาอันถือเปนวันเริ่มตนกระทําความผิดก็ตาม ซึ่งประชาชนใชรวมกัน ตามคําฟอง จําเลยเขายึดถือ
แตเมื่อปรากฏวาหลังจากนั้นจําเลยยังคงยึดถือครอบครอง ครอบครองที่พิพาทกอนวันที่ 4 มีนาคม 2515 อันเปน
ที่ พิ พ าทตลอดมา จึ ง เป น ความผิ ด ต อ เนื่ อ งอยู ทุ ก ขณะ วันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29
ตราบเทาที่จําเลยยังคงยึดถือครอบครองที่พิพาทอยู เมื่อ กุมภาพันธ 2515 ที่แกไขเพิ่มเติม ป.ที่ดิน มาตรา 108 ทวิ
โจทกฟองยังไมเกิน 10 ปนับแตวันกระทําความผิด คดี ใชบังคับ การครอบครองที่ดินพิพาทของจําเลยนับแต
จึงไมขาดอายุความ วันที่ 1 มกราคม 2510 ตลอดมาเปนการครอบครองสืบ
เนื่องมาจากการเขายึดครอบครองในครั้งแรก เมื่อ ป.
คําพิพากษาฎีกาที่ 3597/2543 ที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา นับตั้งแต
พยานหลักฐานของโจทกยังฟงไดไมแนชัดวา วันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ใชบังคับผูกระทํา
จําเลยรูวาที่ดินพิพาทเปนสวนหนึ่งของที่ดินของรัฐซึ่ง การฝาฝน มาตรา 9 ตองระวางโทษจําคุก ฯลฯ เชนนี้
เปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ใชเพื่อประโยชนของ การกระทํ า ของจํ า เลยจึ ง ไม อ าจมี ค วามผิ ด ฐานเข า ไป
แผนดินโดยเฉพาะหรือไม เมื่อจําเลยเขาครอบครองที่ดิน ยึ ด ถื อ ครอบครองที่ ดิ น อั น เป น สาธารณสมบั ติ ข อง
พิพาทโดยสุจริต เขาใจวาตนเองมีสิทธิจะทําได จําเลยจึง แผนดินตาม ป.ที่ดิน มาตรา 9, 108 ทวิ ได
ขาดเจตนา ในการกระทําความผิดฐานบุกรุกที่ดินของรัฐ สวนความผิดฐานขัดคําสั่งเจาพนักงานตาม ป.
พ. รองอธิ บ ดีก รมปา ไม ปฏิบั ติร าชการแทน ที่ดิน มาตรา 9, 108 นั้น แมโจทกบรรยายฟองและนําสืบ
อธิบดีกรมปาไมทําขึ้นสําเนาเอกสารที่ พ. ซึ่งเปนอธิบดี วา วันที่ 27 ธันวาคม 2544 พนักงานเจาหนาที่มีหนังสือ
กรมปาไมในภายหลังไดสงมาตามหมายเรียกของศาล แจงใหจําเลยออกจากที่ดินพิพาทภายใน 90 วัน จําเลยซึ่ง
โดยมีนั ก วิช าการป า ไม 6 กองอุ ท ยานแห ง ชาติ รับ รอง รับหนังสือดังกลาวแลวไมปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงาน
สําเนาถูกตองจึงอางเปนพยานหลักฐานไดตามประมวล เจาหนาที่ แตตามฎีกาของโจทกกลับไมไดระบุขอเท็จจริง
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 238 วรรคสอง โดยยอหรือขอกฎหมายที่เกี่ยวกับความผิดฐานนี้ขึ้นอาง
แม พ. มิไดมาเบิกความก็ตาม เพื่อคัดคานคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 3 ที่ยกฟอง
จํา เลยเชื่อ โดยสุ จ ริ ต ว า พ. ซึ่ ง เป น รองอธิ บ ดี โจทกวาไมชอบอยางไร ฎีกาของโจทกที่ขอใหลงโทษ
กรมปาไมขณะนั้นมีอํานาจโดยชอบในการที่จะอนุญาต ตามฟอง อันหมายถึงขอใหลงโทษจําเลยฐานขัดคําสั่งเจา
ให ส ร า งบั ง กะโลบนเกาะเสม็ ด ได จํ า เลยจึ ง เข า ใจโดย พนักงานตาม ป.ที่ดิน มาตรา 9, 108 ดวยนั้น จึงเปนฎีกา
สุจริตวาตนเองมีสิทธิจะทําไดตามที่ไดรับอนุญาตจําเลย ที่ไมชอบดวย ป.วิ.อ. มาตรา 193 วรรคสอง ประกอบดวย
จึ ง ไม มี เ จตนากระทํ า ผิ ด ฐานยึ ด ถื อ ครอบครองที่ ดิ น มาตรา 225 และมาตรา 216
ภายในเขตอุทยานแหงชาติตามฟอง
ขอเท็จจริงที่ไดจากการที่จําเลยตอบคําถามคาน
ของโจทก ถือไมไดวาโจทกนําสืบถึงขอเท็จจริงดังกลาว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


261

คําพิพากษาฎีกาที่ 3597/2543 ฟองซ้ํา ตองหามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ


พยานหลักฐานโจทกฟงไดไมแนชัดวา จําเลยรู แพง มาตรา 148
วาที่ดินพิพาทเปนสวนหนึ่งของที่ดินของรัฐซึ่งเปนสา
ธารณสมบัติของแผนดินที่ใชเพื่อประโยชนของแผนดิน คําพิพากษาฎีกาที่ 3314/2545
โดยเฉพาะหรือไม เมื่อจําเลยเขาครอบครองที่ดินพิพาท การที่จําเลยเขาไปยึดถือครอบครองคลองควาย
โดยสุจริต เขาใจวาตนเองมีสิทธิที่จะทําได จึงขาดเจตนา ซึ่งเปนคลองสาธารณะโดยใชเสาคอนกรีตปกปดขวาง
ในการกระทําความผิดฐานบุกรุกที่ดินของรัฐ ช ว งปากคลอง ทํ า ให ป ระชาชนทั่ ว ไปไม ส ามารถใช
คํ า สั่ ง อนุ ญ าตให จํา เลยสร า งบัง กะโลไดเ ป น ประโยชนสัญจรผานไปมาในคลองเพื่อออกสูแมน้ําไดนั้น
คําสั่งที่ชอบดวยกฎหมายหรือไมยังมีขอโตเถียงกันจน การกระทําของจําเลยเปนความผิดฐานยึดถือครอบครอง
ตองสงใหคณะกรรมการกฤษฎีกาตีความ เมื่อจําเลยเชื่อ ที่ ดิ น ของรั ฐ ซึ่ ง เป น สาธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ที่
วาตนมีสิทธิทําไดตามที่ไดรับอนุญาตจากรองอธิบดีกรม ประชาชนใชรวมกัน และฐานทําใหเสียทรัพยที่ใชหรือมี
ปาไม จึงนาเชื่อวาจําเลยไมมีเจตนากระทําผิดฐานยึดถือ ไวเพื่อสาธารณประโยชน เปนการกระทํากรรมเดียวเปน
ครอบครองที่ดินภายในเขตอุทยานแหงชาติ ความผิดตอกฎหมายหลายบท ตองลงโทษฐานทําใหเสีย
ในการพิจารณาคดีอาญา โจทกมีหนาที่นําสืบ ทรัพยที่ใชหรือมีไวเพื่อสาธารณประโยชน ตาม ป.อ.
ใหฟงไดวา จําเลยกระทําความผิด ขอเท็จจริงที่ไดจาก มาตรา 360 ซึ่งเปนบทที่มีโทษหนักที่สุด จึงไมอาจอาศัย
การที่จําเลยตอบคําถามคานของโจทกถือไมไดวาโจทก บทเบาตาม ป. ที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคสอง มาบังคับ
นําสืบถึงขอเท็จจริงนั้นแลว นํามาฟงลงโทษจําเลยไมได ใหจําเลยและบริวารออกจากที่ดินซึ่งจําเลยเขาไปยึดถือ
ครอบครองตามที่โจทกขอได
คําพิพากษาฎีกาที่ 2751/2545
ในคดีกอ น ย. มารดาโจทก ฟอ งจําเลยอางวา คําพิพากษาฎีกาที่ 548/2546
นายอํ า เภอประกาศหวงห า มที่ ดิ น ซึ่ ง ไม ช อบด ว ย การได รั บ อนุ ญ าตให ใ ช ที่ ดิ น ของรั ฐ ตาม
พระราชบัญญัติวาดวยการหวงหามที่ดินรกรางวางเปลา ประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 9 ไมไดบัญญัติใหโอน
อั น เป น สาธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ฯ ทํ า ให ก ารออก กันได และไมมีบทกฎหมายหรือกฎกระทรวงฉบับใด
หนังสือสําคัญสําหรับที่หลวงไมชอบและขอใหเพิกถอน กําหนดใหผูไดรับอนุญาตโอนสิทธิหรืออํานาจตลอดจน
ประกาศและหนั ง สื อ สํ า คั ญ ดั ง กล า ว โดยจํ า เลยในคดี วิธีดําเนินการตาง ๆ เพื่อเปนการหาประโยชนในที่ดิน
กอนใหการวา ย. ไมเคยครอบครองทําประโยชนในที่ดิน ของรัฐใหแกบุคคลอื่นได การอนุญาตใหใชที่ดินของรัฐ
พิ พ าท และที่ ดิ น ดั ง กล า วเป น ที่ ดิ น หวงห า มที่ ไ ด ขึ้ น ในกรณี ดั ง กล า วกํ า หนดขึ้ น เพื่ อ อนุ ญ าตให ผู ที่ ไ ด รั บ
ทะเบียนเปนที่ราชพัสดุแลว ศาลฎีกาพิพากษาถึงที่สุดวา ใบอนุ ญ าตเป น การเฉพาะตั ว เท า นั้ น การที่ ผู ไ ด รั บ
ย. ยึดถือครอบครองที่ดินพิพาทหลังจาก ป.ที่ดินฯ ใช อนุญาตโอนสิท ธิดังกลาวยอ มเปนการฝาฝนประมวล
บังคับ ย. จึ งไม ไดสิ ท ธิค รอบครองทั้ง การครอบครอง กฎหมายที่ดินฯ มาตรา 9 อาจถูกเพิกถอนใบอนุญาตได
ของ ย. มิไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่จึงเปนการ เนื่องจากตามเงื่อนไขการอนุญาตใหระเบิดและยอยหิน
ยึดถือครอบครองที่ดินของรัฐโดยไมชอบดวยกฎหมาย ระบุใหผูไดรับอนุญาตตองดําเนินการดวยตนเอง จะให
ตองหามตามประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 9 ย. ไมมี ผูอื่น ดํา เนิ น การหรื อ โอนสิ ท ธิ ให ผูอื่ น ไมไ ด หากผูรั บ
อํานาจฟอง ฉะนั้น การที่โจทกซึ่งเปนผูสืบสิทธิจาก ย. โอนเขาไปทําประโยชนหรือใชที่ดินของรัฐโดยระเบิด
มาฟองจําเลยเปนคดีนี้อีก จึงเปนการรื้อรองฟองกันอีก และยอยหินเองโดยไมไดรับอนุญาตตามที่บัญญัติไวใน
ในประเด็นที่ไดวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกัน เปน มาตรา 9 อาจมีความผิดตามมาตรา 108 ทวิ ดังนั้น การที่

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


262
จํ า เลยทั้ ง สองทํ า สั ญ ญาซื้ อ ขายหิ น กั บ โจทก ใ นสภาพ มาตรา 108 ทวิมีองคประกอบแตกตางกัน ฟองของโจทก
สังหาริมทรัพย แตใหโจทกเปนผูระเบิดและยอยหินเอง คดีนี้จึงไมเปนฟองซ้ํา
ได นั้ น เป น การทํ า สั ญ ญาเพื่ อ หลี ก เลี่ ย งกฎหมายและ
ขอกําหนดหามโอนสิทธิตามใบอนุญาตระเบิดหินและ คําพิพากษาฎีกาที่ 1399/2548
ยอยหิน ในเมื่อโจทกกับจําเลยทั้งสองมีเจตนาที่แทจริง ความผิ ด ฐานเข า ไปยึ ด ถื อ ครอบครองที่ ดิ น
จะโอนสิ ท ธิ ต ามใบอนุ ญ าตระเบิ ด และย อ ยหิ น แก กั น สาธารณประโยชนของแผนดินโดยไมไดรับอนุญาต ยอม
สัญญาดังกลาวจึงมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจง มีขึ้น ตั้งแตจําเลยเขายึดถือครอบครองและยังคงมีอยู
โดยกฎหมาย ย อ มตกเป น โมฆะ ทั้ ง กรณี ห าใช ก ารให ตลอดเวลาที่จําเลยครอบครองที่ดินสาธารณประโยชน
สัมปทานตามประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 12 ไม อยู เมื่อขอเท็จจริงไดความวา ขณะที่โจทกฟอง จําเลย
ยังคงยึดถือครอบครองที่ดินอยู แมจําเลยจะครอบครอง
คําพิพากษาฎีกาที่ 6986/2546 มานานเกิน 10 ป คดีของโจทกก็ไมขาดอายุความ
คดีกอนโจทกฟองวา เมื่อระหวางวันที่ 1
มกราคม 2512 ถึงวันที่ 18 กรกฎาคม2512 จําเลยบุกรุก คําพิพากษาฎีกาที่ 3971/2548
เข า ยึ ด ถื อ ครอบครองที่ ดิ น หนองกก ซึ่ ง เป น สาธารณ จําเลยที่ 1 และที่ 2 ใชรถแบกโฮขุดตักดินในที่
สมบัติของแผนดินที่ประชาชนใชรวมกันเนื้อที่ 9 ไร 2 สาธารณประโยชน อันเปนการทําใหเสื่อมสภาพที่ดิน ที่
งาน 80 ตารางวา ปลูกบานอยูอาศัยและปลูกตนไมคดีนี้ หิน ที่กรวด หรือที่ทรายในบริเวณที่รัฐมนตรีประกาศ
โจทกฟองวา เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2541 จําเลยไดเขาไป หวงหามในราชกิจจานุเบกษา ตอมาจําเลยที่ 3 ซึ่งเปน
ยึดถือ ครอบครอง กนสรางที่ดินเลี้ยงสัตวหนองกก ประธาน สภาตําบลไดจัดทําบันทึกการประชุมสภาตําบล
สาธารณประโยชน ซึ่งเปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ อันเปนเท็จวา ที่ประชุมเห็นชอบใหจําเลยที่ 1 และที่ 2
ประชาชนใชรวมกัน รวมเนื้อที่ประมาณ 2 ไร โดยใชรถ ดําเนินการขุด ตักดินได การกระทําของจําเลยที่ 3 มิใช
ไถเขาไปไถปรับที่ดินเพื่อทําประโยชน แมคดีกอนศาล เป น การเตรี ย มทํ า เอกสารไว ก อ นมี ก ารขุ ด ตั ก ดิ น ในที่
ฎีกาจะพิพากษายกคําขอใหจําเลยออกจากที่ดินพิพาทแต สาธารณประโยชนหรือนําไปใชอางอิงในการขุดตักดิน
ก็ฟงขอเท็จจริงวา ที่ดินพิพาทเปนที่สาธารณประโยชน ดังกลาว อันจะเปนการแสดงเจตนาในการมีสวนรวมเขา
ซึ่งจําเลยเขายึดถือครอบครองหลังจากประมวลกฎหมาย ไปขุดตักดินในที่ สาธารณประโยชนของจําเลยที่ 1 และ
ที่ดินใชบังคับแลว เปนการครอบครองสืบเนื่องมากอน ที่ 2 ในลักษณะแบงหนาที่กันทํา จําเลยที่ 3 ไมเปน
วันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 ตัวการรวมกระทําความผิด กับจําเลยที่ 1 และที่ 2 ตาม ป.
กุมภาพันธ 2514 ใชบังคับ จึงเปนความผิดตามประมวล ที่ดิน มาตรา 9 (2) ประกอบมาตรา 108 ทวิ
กฎหมายที่ดิน มาตรา 9, 108 สวนคดีนี้จําเลยใชรถไถเขา
ไปไถปรับที่ดินพิพาทเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2541 โดยไม คําพิพากษาฎีกาที่ 5165/2549
มี สิ ท ธิ ค รอบครองและมิ ไ ด รั บ อนุ ญ าตจากพนั ก งาน ความผิดตาม ป.ที่ดินฯ มาตรา 9 (1), 108 ทวิ
เจาหนาที่ จึงเปนความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน
เปนความผิดที่กระทําต อรัฐ ไมใชความผิดตอ สวนตัว
มาตรา 9(1),108 ทวิ วรรคสองซึ่งเปนการกระทําหลังจาก พนักงานสอบสวนมีอํา นาจสอบสวนไดแ มจ ะไมมีคํ า
วันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 รองทุกขตาม ป.วิ.อ. มาตรา 121 ดังนั้น เมื่อพนักงาน
กุมภาพันธ 2514 มีผลใชบังคับ การกระทําจึงตางกรรม สอบสวนทําการสอบสวนคดีนี้แลว พนักงานอัยการยอม
ต า งวาระแยกต า งหากจากการกระทํ า ในคดี ก อ น และ มีอํานาจฟองคดีตอศาลไดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 28 (1), 120
ความผิ ด ตามประมวลกฎหมายที่ ดิ น มาตรา 108 กั บ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


263
และ พ.ร.บ.พนักงานอัยการฯ มาตรา 11 (1) โดยมิตอง ใชมีกฎหมายออกใชภายหลังยกเลิกความผิดตาม ป.อ.
คํานึงวาผูรองทุกขใหดําเนินคดีจะเปนผูใด หรือไดรับ มาตรา 2 วรรคสอง แลวดังที่จําเลยฎีกาไม การกระทํา
มอบอํ า นาจจากผู เ สี ย หายที่ แ ท จ ริ ง หรื อ ไม โจทก จึ ง มี ของจําเลยจึงเปนความผิดตาม ป.ที่ดิน มาตรา 9, 108 ทวิ
อํานาจฟอง
คําพิพากษาฎีกาที่ 2978/2553
คําพิพากษาฎีกาที่ 681/2550 เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา ที่ดินพิพาทอยูในเขต
การกระทําของจําเลยนอกจากจะเปนความผิด คลองน้ํ า ดํ า อั น เป น สาธารณะสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ที่
ฐานรวมกันบุกรุกที่ดินราชพัสดุตาม ป.อ. มาตรา 365 (2) ประชาชนใชรวมกัน ซึ่งแมปจจุบันคลองน้ําดํามีสภาพ
แลว ยังเปนความผิ ดฐานเขาไปยึดถือ ครอบครอง กน ตื้นเขินโดยการเปลี่ยนแปลงสภาพตามธรรมชาติแตเมื่อ
สรางและทําดวยประการใดใหเปนการทําลายหรือทําให ไมมีการเพิกถอนก็ยังเปนทรัพยสินของแผนดินสําหรับ
เสื่อ มสภาพที่ดิ น ของรัฐ อัน เปนความผิ ด ตาม ป.ที่ดิ น พลเมืองใชรวมกัน จึงเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
มาตรา 9 (1) (2), 108 ทวิ วรรคหนึ่ง ดวย ซึ่งตาม ป.ที่ดิน ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1304 (2) และเปนที่ดินของรัฐ จึง
มาตรา 108 ทวิ วรรคสี่ บัญญัติใหศาลมีอํานาจสั่งในคํา ตองหามมิใหบุคคลใดเขาไปยึดถือครอบครองตาม ป.
พิ พ ากษาให ผู ก ระทํ า ความผิ ด คนงาน ผู รั บ จ า งและ ที่ดิน มาตรา 9 (1) การที่จําเลยเขาไปยึดถือครอบครอง
บริวารของผูกระทําความผิดออกจากที่ดินนั้นได อันมิใช ที่ ดิ น พิ พ าทโดยการถมที่ ดิ น ในคลองน้ํ า ดํ า เป น การ
โทษตาม ป.อ. มาตรา 18 แตเปนมาตรการที่มุงประสงค กระทํ าแกที่ ดิน ซึ่ งเปน สาธารณสมบั ติข องแผ นดิ น ที่
ใหรัฐสามารถเขาใชประโยชนในที่ดินไดโดยไมจําตอง ประชาชนใชรวมกันจึงเปนความผิดตามมาตรา 108 ทวิ
ฟองขับไลจําเลยเปนคดีแพงอีกตางหาก ดังนั้น แมศาล วรรคสอง
จะลงโทษจํ าเลยตาม ป.อ. มาตรา 365 (2) ซึ่ง เป นบท
กฎหมายที่ มี โ ทษหนั ก ที่ สุ ด เพี ย งบทเดี ย วตาม ป.อ.
มาตรา 12
มาตรา 90 แตเมื่อเปนความผิดตาม ป.ที่ดิน มาตรา 108
ทวิ วรรคหนึ่ง ดวย ศาลก็มีอํานาจสั่งใหจําเลยและบริวาร
คําพิพากษาฎีกาที่ 548/2546
รื้อถอนสิ่งปลูกสรางและออกไปจากที่ดินของรัฐได การได รั บ อนุ ญ าตให ใ ช ที่ ดิ น ของรั ฐ ตาม
ประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 9 ไมไดบัญญัติใหโอน
กันได และไมมีบทกฎหมายหรือกฎกระทรวงฉบับใด
คําพิพากษาฎีกาที่ 10325/2550 กําหนดใหผูไดรับอนุญาตโอนสิทธิหรืออํานาจตลอดจน
แมเดิ ม ที่ ดิ นพิพ าทเป นที่ส าธารณสมบั ติข อง วิธีดําเนินการตาง ๆ เพื่อเปนการหาประโยชนในที่ดิน
แผนดินสําหรับพลเรือนใชรวมกัน แตตอมามีคําสั่ง ของรัฐใหแกบุคคลอื่นได การอนุญาตใหใชที่ดินของรัฐ
จังหวัดสุรินทรที่ 3007/2544 ใหเพิกถอนหนังสือสําคัญ ในกรณี ดั ง กล า วกํ า หนดขึ้ น เพื่ อ อนุ ญ าตให ผู ที่ ไ ด รั บ
สําหรับที่หลวงเลขที่ 36490 บางสวนซึ่งรวมทั้งที่ดิน ใบอนุ ญ าตเป น การเฉพาะตั ว เท า นั้ น การที่ ผู ไ ด รั บ
พิพาทดังกลาว ดังนั้น ที่ดินพิพาทยอมไมเปนที่สาธารณ อนุญาตโอนสิท ธิดังกลาวยอ มเปนการฝาฝนประมวล
สมบัติของแผนดินสําหรับพลเมืองใชรวมกันอีกตอไป กฎหมายที่ดินฯ มาตรา 9 อาจถูกเพิกถอนใบอนุญาตได
นับแตวันที่คําสั่งจังหวัดสุรินทรมีผลใชบังคับ แตที่ดิน เนื่องจากตามเงื่อนไขการอนุญาตใหระเบิดและยอยหิน
พิ พ าทยั ง คงมี ส ภาพเป น ที่ ดิ น อั น เป น ทรั พ ย สิ น ของ ระบุใหผูไดรับอนุญาตตองดําเนินการดวยตนเอง จะให
แผ น ดิ น อยู ต อ ไป หาได เ ปลี่ ย นแปลงตกไปเป น ผูอื่น ดํา เนิ น การหรื อ โอนสิ ท ธิ ให ผูอื่ น ไมไ ด หากผูรั บ
กรรมสิทธิ์ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดไม และคําสั่งจังหวัด โอนเขาไปทําประโยชนหรือใชที่ดินของรัฐโดยระเบิด
สุรินทรดังกลาวมิใชบทบัญญัติของกฎหมาย กรณีจึงหา

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


264
และยอยหินเองโดยไมไดรับอนุญาตตามที่บัญญัติไวใน พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.
มาตรา 9 อาจมีความผิดตามมาตรา 108 ทวิ ดังนั้น การที่ 2518 ไมไดยกเลิกสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมาย
จํ า เลยทั้ ง สองทํ า สั ญ ญาซื้ อ ขายหิ น กั บ โจทก ใ นสภาพ ที่ดิน แตอยางใด เมื่อปรากฏวาโจทกดําเนินการขอออก
สังหาริมทรัพย แตใหโจทกเปนผูระเบิดและยอยหินเอง โฉนดที่ดินตามหลักเกณฑและวิธีการที่กฎหมายกําหนด
ได นั้ น เป น การทํ า สั ญ ญาเพื่ อ หลี ก เลี่ ย งกฎหมายและ โดยจําเลยที่ 2 ไดมีหนังสือแจงตอผูวาราชการจังหวัดวา
ขอกําหนดหามโอนสิทธิตามใบอนุญาตระเบิดหินและ ที่ดินพิพาทอยูในหลักเกณฑที่จะออกโฉนดที่ดินได เห็น
ยอยหิน ในเมื่อโจทกกับจําเลยทั้งสองมีเจตนาที่แทจริง ควรออกโฉนดที่ดินใหแกโจทกได โดยพนักงานเจาหนาที่
จะโอนสิ ท ธิ ต ามใบอนุ ญ าตระเบิ ด และย อ ยหิ น แก กั น ไดทําการรังวัดตรวจสอบรายละเอียดและดําเนินการตาม
สัญญาดังกลาวจึงมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจง ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติแลว จึงไมมี
โดยกฎหมาย ย อ มตกเป น โมฆะ ทั้ ง กรณี ห าใช ก ารให เหตุที่จําเลยทั้งสองจะปฏิเสธไมยอมออกโฉนดในที่ดิน
สัมปทานตามประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 12 ไม พิพาทเพียงเพื่อใหโจทกไปดําเนินการขอเอกสารสิทธิใน
ที่ดินพิพาทตาม พ.ร.บ. การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
มาตรา 27 ตรี พ.ศ. 2518 อีก เพราะโจทกมีสิทธิดําเนินการตามประมวล
กฎหมายที่ดินไดอยูแลว
คําพิพากษาฎีกาที่ 2127/2542
โจทก ซื้ อ ที่ ดิ น พิ พ าทจาก พ. ซึ่ ง พ. ยั ง ไม ไ ด
มาตรา 30
แจงการครอบครองที่ดินพิพาทตามมาตรา 5 แหง พ.ร.บ.
ให ใ ช ป ระมวลกฎหมายที่ ดิ น พ.ศ. 2497 โจทก เ ข า คําพิพากษาฎีกาที่ 5709/2533
ครอบครองทําประโยชนในที่ดินพิพาทตอเนื่องตลอดมา ศาลพิพากษาวาที่พิพาทเปนของโจทก โจทก
เมื่อมีการประกาศกําหนดทองที่และวันเริ่มตนของการ ไดยื่นคํารองขอผอนผันแจงการครอบครองเพื่อขอออก
เดิ น สํ า รวจเพื่ อ ออกโฉนดที่ ดิ น โจทก ไ ม ไ ด แ จ ง การ หนั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน ต อ ที่ ดิ น อํ า เภอในที่
ครอบครองที่ดินพิพาทตอเจาหนาที่ตาม ป.ที่ดิน มาตรา พิพาทตอมาจําเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ซึ่งดํารงตําแหนงนายอําเภอ
27 ตรี เนื่องจากโจทกเดินทางไปประกอบอาชีพที่อื่น แต ที่ดินอําเภอ และปลัดอําเภอตามลําดับเปนผูรับผิดชอบ
โจทกไดไปพบพนักงานเจาหนาที่เพื่อ นําสํารวจรังวัด และมีอํานาจออกเอกสารใบจอง หนังสือรับรองการทํา
ออกโฉนดที่ดินเมื่อมีการเดินสํารวจแลว แตเจาหนาที่ให ประโยชน แ ละทํ า นิ ติ ก รรมซื้ อ ขายที่ ดิ น ในเขตอํ า นาจ
รออยูกอน ครั้นเมื่อไปพบตามกําหนดก็ไดรับแจงวาหมด ย อ มทราบดี ว า ที่ ดิ น แปลงใดเป น ที่ ดิ น รกร า งว า งเปล า
โครงการเดินสํารวจแลว แสดงวาเหตุขัดของซึ่งทําใหไม หรือไม ไดรวมกันดําเนินการจัดสรรออกใบจอง และ
มี ก ารสํ า รวจรั ง วั ด ที่ ดิ น พิ พ าทตามวั น เวลาที่ พ นั ก งาน หนังสือรับรองการทําประโยชนทับที่พิพาทใหจําเลยที่ 4
เจ า หน า ที่ ป ด ประกาศมิ ใ ช เ ป น ความผิ ด ของโจทก ทั้ ง กับทํานิติกรรมโอนขายที่ดินระหวางจําเลยที่ 4 กับที่ 6
โจทกไดนําเจาพนักงานที่ดินไปทําการรังวัดที่ดินเพื่อ ถื อ ได ว า เป น การโต แ ย ง สิ ท ธิ ข องโจทก ตามประมวล
ออกโฉนดแลว ถือไดวา โจทกยังประสงคจะไดสิทธิใน กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 55 แลว โจทกจึงมี
ที่ดินพิพาทและเปนผูปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี แหง ป. อํานาจฟองจําเลยโดยไมจําตองฟงผลคําพิพากษาอีกคดี
ที่ดิน ซึ่งยังไมพนระยะเวลาตามที่กฎหมายกําหนด หนึ่งวาใครเปนผูมีสิทธิครอบครองที่พิพาท ปญหาวา
ดังนั้น การขอออกโฉนดที่ดินของโจทกจึงเปนกรณีผู ฟอ งโจทก ค ดี นี้ เป นฟ อ งซ อ นหรือ ไม ศาลไดมี คํ า
ตกคางการแจงการครอบครองสามารถขอออกโฉนดเปน พิพากษาในประเด็นขอนี้แลววาไมเปนฟองซอน ปญหา
การเฉพาะรายไดตาม ป.ที่ดิน มาตรา 59 ทวิ วรรคหนึ่ง ขอนี้จึงยุติ ศาลฎีกาไมรับวินิจฉัย การที่หนังสือรับรอง
การทําประโยชนของจําเลยที่ 4 บางสวนไดออกทับที่ดิน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


265
ของโจทก เปนการออกหนังสือรับรองการทําประโยชน อั น มี ผ ลเป น การโอนสิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น โดยส ง มอบการ
คลาดเคลื่อนอันกระทบกระเทือนสิทธิของโจทกในสวน ครอบครองใหแกกันภายในกําหนดระยะเวลาหามโอน
ที่ไมถูกตองเทานั้น ซึ่งสามารถแกไขใหถูกตองตามความ แมจะเรียกวาสัญญาจะซื้อขายและระบุในสัญญาวาจะมี
เป น จริ ง ได โจทก จ ะขอให เ พิ ก ถอนทั้ ง หมดหาได ไ ม การโอนกรรมสิทธิ์เมื่อพนกําหนดหามโอนแลว ก็เปน
ปญหาวา ที่พิพาทคดีนี้เปนคนละแปลงกับที่ดินซึ่งศาล นิติกรรมที่มีวัตถุประสงคตองหาม ชัดแจงโดยกฎหมาย
พิพากษาวาเปนที่ของโจทกในอีกคดีหนึ่งนั้น เปนขอที่ สัญญานี้จึงเปนโมฆะ และถึงแมตอมา จะมีการยกเลิก
มิไดยกขึ้นวากันมาแลวในศาลชั้นตนและศาลอุทธรณ ความในมาตรา 31 มิใหใชบังคับกับที่ดินในคดีนี้ก็ตาม
ทั้งมิไดเปนปญหาอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของ ก็ไมทําใหนิติกรรมที่เปนโมฆะแลวนั้นกลับสมบูรณไดอีก
ประชาชนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
มาตรา 249 ศาลฎีกาไมรับวินิจฉัย คําพิพากษาฎีกาที่ 3444/2533
ที่ดินพิพาทเปนที่ดินที่มีหนังสือรับรองการทํา
คําพิพากษาฎีกาที่ 1282/2537 ประโยชน (น.ส.3) ซึ่งมีขอกําหนดหามผูมีสิทธิในที่ดิน
ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ที่ ดิ น ของรั ฐ ซึ่ ง โจทก ไ ด ข อ โอนที่ดินไปยังผูอื่น ภายใน 10 ป นับแตวันที่ทางราชการ
อนุญ าตจับ จองตามที่ กฎหมายกํา หนดจนทางราชการ ออกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน ใ ห เ ป น ต น ไป
อนุญาตใหโจทกเขาทําประโยชนในที่ดินพิพาทไดเปน นอกจากตกทอดทางมรดกตามประมวลกฎหมายที่ดิน
การชั่วคราวโดยออกใบจอง (น.ส.2) ใหเปนหลักฐาน พ.ศ. 2497 มาตรา 31 การที่จําเลยไดที่ดินพิพาทมาโดย
โจทก จึ ง เป น ผู มี สิ ท ธิ ทํ า ประโยชน ใ นที่ ดิ น พิ พ าทโดย ทางมรดก และทําสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทใหแกโจทก
ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายที่ดินฯ แมจําเลยจะไดเขา ในระหวางระยะเวลาหามโอนดังกลาว โดยไดรับเงินกับ
ยึ ด ถื อ ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทอั น เป น การแย ง การ มอบที่ดินพิพาทใหโจทกครอบครองแลว แมมีขอตกลง
ครอบครองของโจทกเกินกวา 1 ปก็ตาม ก็เปนการเขา วาจําเลยจะจดทะเบียนโอนที่ดินดังกลาวใหแกโจทก เมื่อ
ยึดถือครอบครองที่ดินของรัฐโดยมิไดรับอนุญาตจําเลย จําเลยประกาศรับมรดกเสร็จแลวก็ตาม ก็ถือไดวาเปน
จึงอางเอาระยะเวลาการฟองเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครอง สัญญาที่มีวัตถุประสงคตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย ตก
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1375 เปนโมฆะ โจทกจึงไมมีอํานาจฟองใหจําเลยปฏิบัติตาม
วรรคสอง มาเปนขอตอสูโจทกไมได โจทกบรรยายฟอง สัญญาดังกลาว
ถึงที่ตั้งของที่ดินพิพาทและเวลาที่เขาครอบครองที่ดิน
พิพาท ตั้งแตเริ่มตนจนถึงปจจุบัน แมไมไดระบุอาณาเขต คําพิพากษาฎีกาที่ 5596/2536
กวา งยาวไว แต มี แ ผนที่สัง เขปทายฟอ งระบุ อ าณาเขต จํ า เลยได ข ายและมอบการครอบครองที่ ดิ น
กวางยาวไว ซึ่งเปนสวนหนึ่งของฟองฟองโจทกจึงชอบ พิ พ าทให ฉ. และได ข ายและมอบการครอบครองที่
ดวยกฎหมายสวนรายละเอียดนอกจากนี้โจทกสามารถ พิ พ าทให โ จทก แต ก ารซื้ อ ขายที่ พิ พ าททั้ ง สองครั้ ง
นําสืบไดในชั้นพิจารณา ดั ง กล า วไม ไ ด ทํ า เป น หนั ง สื อ และจดทะเบี ย นต อ
พนักงานเจาหนาที่ และที่พิพาทเปนที่ดินที่ทางราชการ
มาตรา 31 หามโอนภายในสิบปการซื้อขายที่พิพาทระหวางจําเลย
คําพิพากษาฎีกาที่ 3393/2525 กับ ฉ.และระหวาง ฉ. กับโจทกจึงไมถูกตองตามแบบ
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 31 มีเจตนารมณ และเปนการฝาฝนขอหามชัดแจงโดยประมวลกฎหมาย
จะปกปองราษฎรใหมีที่ดินไวทํากินเปนเวลาอยางนอย ที่ดินฯ มาตรา 31 ตกเป น โมฆะตามประมวลกฎหมาย
สิบป ดังนั้น การที่โจทกกับผูมีสิทธิ ในที่ดินทําสัญญา แพงและพาณิชย มาตรา 150 แตเมื่อจําเลยไดขนยาย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


266
ออกไปจากที่พิพาทจึงถือวาจําเลยไดสละเจตนาครอบครอง การครอบครองที่ดินพิพาทใหแกผูรองได ผูรองจะเอา
โดยไมยึดถือ ที่ พิพ าทอีกต อไปตาม ประมวลกฎหมาย ระยะเวลาการครอบครองซึ่งอยูภายในขอบังคับหามโอน
แพงและพาณิชย มาตรา 1377 วรรคแรกการที่ ฉ. กับ กรรมสิ ท ธิ์ ม ารวมคํ า นวณเป น ระยะเวลาครอบครอง
โจทกไดซื้อและยึดถือที่พิพาทโดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตน ปรปกษตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา
ตอมาในระยะเวลาหามโอน ฉ. กับโจทกก็ยังไมไดสิทธิ 1382 หาไดไม
ครอบครอง เนื่ อ งจากถู ก จํ า กั ด โดยบทบั ญ ญั ติ แ ห ง
ประมวลกฎหมายที่ ดิ น ดั ง กล า วแต เ มื่ อ โจทก ยั ง คง คําพิพากษาฎีกาที่ 5083/2537
ครอบครองที่พิพาทตลอดมาจนลวงเลยระยะเวลาหาม จําเลยซื้อที่ดินพิพาทซึ่งเปนที่ดินบางสวนของ
โอนแลวโจทกยอมไดซึ่งสิทธิครอบครองตามประมวล ที่ดินที่มีขอกําหนดหามโอนไปยังผูอื่นภายใน 10 ปจาก
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1367 นับแตวันพน โจทก แมโจทกจะไดสละการครอบครองและมอบที่ดิน
กําหนดหามโอนนั้น จําเลยไมมีสิทธิเขาเกี่ยวของในที่ พิ พ าทให จํ า เลยครอบครอง ทั้ ง มี ข อ ตกลงว า จะจด
พิ พ าทอี ก และเมื่ อ สั ญ ญาซื้ อ ขายเป น โมฆะ โจทก จึ ง ทะเบียนโอนที่ดินใหจําเลยเมื่อพนกําหนดหามโอนแลว
บังคับใหจําเลยไปจดทะเบียนโอนที่พิพาทใหแกโจทก ก็เปนการซื้อมาและเขาครอบครองภายในกําหนดเวลา
ไมได หามโอน เปนนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคตองหามชัดแจง
โดยกฎหมาย ตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมายแพง
คําพิพากษาฎีกาที่ 456/2537 และพาณิชย มาตรา 113 จําเลยจึงไมมีสิทธิอยูในที่พิพาท
ประมวลกฎหมายที่ดิน ฯ มาตรา 31 วรรคทาย
บัญญัติวา ภายในกําหนดเวลาหามโอนตามวรรคหนึ่ง คําพิพากษาฎีกาที่ 6132/2537
ที่ ดิ น นั้ น ไม อ ยู ใ นข า ยการบั ง คั บ คดี ก ารที่ โ จทก นํ า เจ า ที่ดินพิพาทมีขอบังคับหามโอนภายใน 10 ป
พนักงานบังคับคดีไ ปยึดที่ดินพิพาทไวเพื่อ รอการขาย นับแตวันที่จําเลยไดรับหนังสือรับรองการทําประโยชน
ทอดตลาดเมื่อกําหนดเวลาหามโอนสิ้นสุดลง เปนสวน ตามประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 31 จําเลยจึงไมอาจ
หนึ่งของการบังคับคดี แมผลการยึดทรัพยจะมิไดทําให สละหรื อ โอนการครอบครองที่ ดิ น ตามสั ญ ญาซื้ อ ขาย
สิทธิแหงการครอบครองที่ดินพิพาทของจําเลยเปลี่ยนไป ใหแกโจทกได การที่โจทกจําเลยทําสัญญาอันมีผลเปน
ก็ตาม แตเมื่อที่ดินพิพาทไมอยูในขายแหงการบังคับคดี การโอนสิท ธิ ในที่ ดิน โดยการสง มอบการครอบครอง
แลว เจาพนักงานบังคับคดีก็ไมมีอํานาจยึดได ใหแกกันภายในกําหนดระยะเวลาหามโอนตามกฎหมาย
เปนนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจง
คําพิพากษาฎีกาที่ 619/2537 โดยกฎหมาย ตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมายแพง
แมตามสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาท ผูคัดคานได และพาณิชยมาตรา 113 เดิม (มาตรา 150 ที่แกไขใหม)
สละการครอบครองที่ดินพิพาทใหแกผูรองตั้งแตวันทํา แมพนกําหนดหามโอนสิบปแลวสัญญาซื้อขายดังกลาวก็
สัญญา แตที่ดินพิพาทมีขอบังคับหามโอนภายใน 10 ป ไมมีผลบังคับ โจทกจึงไมมีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาท
นับแตวันที่ผูคัดคานไดรับโฉนดตามประมวลกฎหมาย ดีกวาจําเลย
ที่ดินมาตรา 31 บทบัญญัติดังกลาวมีเจตนาจะปกปอง
ราษฎรใหมีที่ทํากินเปนเวลาอยางนอย 10 ป และภายใน คําพิพากษาฎีกาที่ 4850/2538
ระยะเวลาดังกลาวทางราชการไดควบคุมที่ดินนั้นอยูยัง ที่ดิ นพิ พ าทที่ โ จทกไ ดรั บ มาอยู ใ นระยะเวลา
ไมปลอยใหเปนสิทธิเด็ดขาดแกผูครอบครองจนกวาจะ หามโอนเปนที่ดินที่รัฐยังไมไดมอบสิทธิครอบครองให
พนระยะเวลาหามโอนผูคัดคานจึงไมอาจสละหรือโอน โจทกมีสิทธิเพียงทําประโยชนในที่ดินพิพาทไมอาจสละ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


267
หรือโอนสิทธิครอบครองใหแกผูอื่นไดการที่โจทกขาย ความวา ห. ตกลงแบงขายที่ดินโฉนดเลขที่ 42263 และ
ที่ดินพิพาทใหแกจําเลยทั้งสองจึงไมมีผลตามกฎหมาย 42264 ใหแกจําเลย เพื่อสรางโรงเรียน แต ห. ไมสามารถ
โจทกยอมมีอํานาจฟองขับไลจําเลยทั้งสองออกจากที่ดิน จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกลาวใหแกจําเลยตาม
พิพาทได สัญญา เพราะที่ดินโฉนดเลขที่ 42263 มีขอกําหนดหาม
โอนภายใน 10 ป ตาม ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 31
คําพิพากษาฎีกาที่ 5681/2538 ใหจําเลยไมอาจขอรับใบอนุญาตใหจัดตั้งโรงเรียนได ห.
ที่ ดิ น มี ห นั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน ที่ มี จึงทําพินัยกรรมยกที่ดินโฉนดเลขที่ 42263 และ 42264
ขอกําหนดหามโอน 10 ป ตามประมวลกฎหมายที่ดิน ใหแกจําเลยตามเนื้อที่ดินที่จะแบงขายใหแกจําเลยโดย
มาตรา 31 เปนที่ดินที่รัฐยังไมไดมอบสิทธิครอบครอง ไดรับเงินคาที่ดินจากจําเลยแลว ตอมาจําเลยกับ ห. ไปทํา
จนกวาจะพนกําหนดระยะเวลาหามโอน ผูที่ไดที่ดินยัง สัญ ญาเชาที่ดินดังกลา วกันมี กําหนด 10 ป โดยทําเป น
ไมมีสิทธิครอบครองไมวาจะตามประมวลกฎหมายที่ดิน หนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่จนจําเลย
หรือประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย จึงไมอาจโอน ได รั บ อนุ ญ าตให ตั้ ง โรงเรี ย นในที่ ดิ น ดั ง กล า วได
สิทธิครอบครองใหแกบุคคลใด จะโอนกันไดตอเมื่อพน พฤติการณดังกลาวแสดงใหเห็นไดวา ห. และจําเลยจงใจ
กําหนดเงื่อนไขหามโอนแลว เวนแตเปนการตกทอดทาง หลี ก เลี่ ย งข อ กํ า หนดห า มโอนตาม ประมวลกฎหมาย
มรดกหรือโอนใหแกทบวงการเมือง องคการของรัฐบาล ที่ดิน มาตรา 31 วรรคหนึ่ง เมื่อจําเลยรวมรูเห็นให ห.ทํา
ตามกฎหมายว า ด ว ยการจั ด ตั้ ง องค ก ารของรั ฐ บาล พินัยกรรมเพื่อหวังผลไดกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกลาวมาเปน
รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น โดยพระราชบั ญ ญั ติ ห รื อ โอน หลักฐานประกอบการขอรับใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียน
ให แ ก ส หกรณ เ พื่ อ ชํ า ระหนี้ โ ดยได รั บ อนุ มั ติ จ ากนาย อันแสดงถึงความไมสุจริตของจําเลย จึงถือไดวาการยก
ทะเบียนสหกรณการที่โจทกอางวา ย.ยกที่ดินและมอบ ที่ดินโฉนดเลขที่ 42263 ใหแกจําเลยตามพินัยกรรมมี
การครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทให ใ นระหว า งเวลาที่ มี วัตถุประสงคเปนการฝาฝนบทกฎหมายดังกลาวยอมตก
เงื่อนไขหามโอน ถือไดวา ย. ยังไมมีสิทธิครอบครอง จึง เปนโมฆะตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา
ไมอาจโอนสิทธิครอบครองใหแกโจทกได เมื่อ ย. ถึงแก 150
กรรมที่ดินพิพาทจึงตกทอดทางมรดกแกจําเลยซึ่งเปน โจทก ฟ อ งเรี ย กเอาทรั พ ย ม รดกที่ ดิ น โฉนด
ทายาท การที่ โ จทก ยั ง คงครอบครองอยู จึ ง เป น การ เลขที่ 42263 และ 42264 คืนจากจําเลย เมื่อขอกําหนด
ครอบครองแทนทายาทของ ย. โจทก จ ะต อ งเปลี่ ย น พินัยกรรมในสวนของที่ดินโฉนดเลขที่ 42263 ไมเปน
ลั ก ษณะการครอบครองโดยบอกกล า วไปยั ง ทายาท ผลเพราะตกเปนโมฆะ จําเลยยอมมิใชทายาทโดยธรรม
ของ ย. เพื่ อ เปลี่ ย นลัก ษณะแห ง การยึ ด ถือ ครอบครอง และผูรับพินัยกรรมของ ห. ผูตาย จึงอางอายุความมรดก
แทนมาเปนยึดถือครอบครองเพื่อตนเสียกอนจึงจะได ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1754 และ
สิทธิครอบครองในที่ดินพิพาท 1755 มาเปนขอตอสูโจทกซึ่งเปนทายาทโดยธรรมไมได
ทั้งโจทกมิไดฟองขอใหเพิกถอนขอกําหนดพินัยกรรม
คําพิพากษาฎีกาที่ 6855/2541 ซึ่งผูทําพินัยกรรมไดกระทําโดยสําคัญผิด ถูกกลฉอฉล
หรือ ถูก ขม ขูดัง ที่บ ัญ ญัติไ วใ นมาตรา 1708 และ 1709
บทบัญญัติมาตรา 31 แหงประมวลกฎหมาย
จึงไมอยูในบังคับของอายุความตามมาตรา 1710
ที่ดิน บัญญัติขึ้นโดยมุงหมายที่จะใหผูไดรับสิทธิในที่ดิน
จําเลยมีสิทธิขอรับโอนที่ดินโฉนดเลขที่ 42264
ไดมีที่ดินไวทํากินตลอดไปถึงลูกหลานหรือทายาทผูมี
ในฐานะผูรับพินัยกรรมโจทกซึ่งมิไดรับประโยชนจาก
สิ ท ธิ ไ ด รั บ มรดกตามกฎหมายและเพื่ อ ป อ งกั น มิ ใ ห ผู
ไดมาโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินไปใหบุคคลอื่นไดโดยงาย ได

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


268
พินัยกรรมจึงเปนผูถูกตัดมิใหรับมรดกที่ดินดังกลาวตาม แบ ง แยกได ที่ ศ าลอุ ท ธรณ วิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดให มี ผ ลไปถึ ง
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1608 วรรคทาย จําเลยที่ 2 และที่ 3 ดวย จึงชอบแลว

คําพิพากษาฎีกาที่ 3307/2543 คําพิพากษาฎีกาที่ 7011/2543


โจทก แ ละจํ า เลยที่ 1 ทํ า สั ญ ญาซื้ อ ขายที่ ดิ น ห.ไดขายและมอบการครอบครองที่ดินพิพาท
พิพ าทกั น ในกํา หนดระยะเวลาห า มโอนตามประมวล ใหโจทกถือไดวา ห. สละเจตนายึดถือการครอบครอง
กฎหมายที่ดิน การซื้อขายที่ดินพิพาทจึงเปนการตองหาม การครอบครองของ ห. ย อ มสิ้ น สุ ด ลงตาม ป.พ.พ.
ชัดแจงโดยกฎหมาย ตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมาย มาตรา 1377 วรรคแรก แม โ จทก ไ ด ซื้ อ และยึ ด ถื อ ทํ า
แพงและพาณิชย มาตรา 113(เดิม) ประโยชนเพื่อตนในระยะเวลาหามโอน โจทกก็ไมได
ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ที่ ดิ น ที่ ท างราชการจั ด ให สิทธิครอบครองเนื่องจากถูกจํากัดสิทธิโดยบทบัญญัติ
ราษฎรทํ า กิ น จึ ง ปกป อ ง ราษฎรให มี ที่ ทํ า กิ น เป น เวลา แหง ป.ที่ดิน มาตรา 31 แตเมื่อโจทกไดครอบครองมาจน
อยางนอย 10 ป ภายในกําหนดระยะเวลา ดังกลาวซึ่งทาง เลยเวลาห า มโอนแล ว โจทก ย อ มได สิ ท ธิ ค รอบครอง
ราชการได ค วบคุ ม ที่ ดิ น นั้ น อยู ยั ง ไม ป ล อ ยเป น สิ ท ธิ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1367 นับแตวันพนกําหนดระยะเวลา
เด็ดขาดแกผูครอบครองจนกวาจะพนกําหนดระยะเวลาที่ หามโอน
มีขอกําหนดหามโอน ดังนั้น โจทกจะสละหรือโอนการ
ครอบครองที่ดินพิพาทเพื่อชําระหนี้ ใหแก จําเลยที่ 1 คําพิพากษาฎีกาที่ 6532/2544
ไมได ศาลจึงยกบทบัญญัติมาตรา 411 แหง ประมวล บทบัญญัติประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 31
กฎหมายแพงและพาณิชยขึ้นปรับแกคดีนี้ไมได มีเจตนาจะปกปองราษฎรผูไดสิทธิในที่ดินใหมีที่ดินไว
นับแตโจทกและจําเลยที่ 1 ซื้อขายที่ดินพิพาท ทํ า กิ น เป น เวลาอย า งน อ ย 10 ป และภายในระยะเวลา
กั น ตั้ ง แต ป 2530จํ า เลยที่ 1 ได ค รอบครองที่ ดิ น พิ พ าท ดังกลาวทางราชการยังควบคุมที่ดินนั้นอยู มิไดปลอยให
ตลอดมาจนปจจุบัน แมจะถือวาในระหวางระยะเวลาที่มี เปนสิทธิเด็ดขาดแกผูครอบครองจนกวาจะพนระยะเวลา
ขอกําหนดหามโอน จําเลยที่ 1 ครอบครองที่ดินพิพาท ที่อยูในบังคับหามโอน ดังนั้น โจทกจึงไมอาจสละหรือ
แทนโจทก ก็ ต าม แต ใ นป 2533 ซึ่ ง เป น ระยะเวลาพ น โอนสิทธิครอบครองหรือทํานิติกรรมสัญญาประการใด
กําหนดหามโอนตามกฎหมายแลว จําเลยที่ 1 ไดฟองตอ อันมีผลหรือมีลักษณะไปในทางที่สละหรือโอนหรืออาจ
ศาลขอใหบังคับโจทกโอนที่ดินพิพาทใหจําเลย ดังนี้ ถือ ต อ งถู ก บั ง คั บ ให มี ก ารโอนสิ ท ธิ ค รอบครองดั ง กล า ว
ได ว าจํ าเลยที่ 1 ได เ ปลี่ ย นลัก ษณะแห งการยึด ถือ ที่ดิ น ได เมื่อโจทกทําสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทภายใน
พิพาทโดยบอกกลาวแสดงเจตนาไปยังโจทกวา จะไม ระยะเวลาห า มโอน แม สั ญ ญาจะซื้ อ จะขายที่ ดิ น จะ
ยึดถือ ที่ดินพิพาทแทน โจทกอีกตอ ไปอันเปนการแยง กําหนดรับโอนสิทธิครอบครองกันในวันที่พนระยะเวลา
การครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทจากโจทก นั บ ตั้ ง แต วั น ที่ หามโอนแลวก็ตาม ก็เปนการจงใจหลีกเลี่ยงขอกําหนด
จําเลยที่ 1 ยื่นฟองดังกลาว โจทกฟองคดีนี้เมื่อป 2539 จึง หา มโอนตามกฎหมาย เป น นิติ ก รรมที่มี วัต ถุป ระสงค
เป น การฟ อ งคดี เ พื่ อ เอาคื น ซึ่ ง การครอบครองเมื่ อ พ น เปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย จึงตกเปนโมฆะ
กํ า หนด 1 ป นั บ แต เ วลาถู ก แย ง การครอบครองตาม ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 150 สวน
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1375 วรรค สัญญาจํานองเปนประกันเห็นไดชัดวา โจทกและจําเลย
สอง โจทกจึงไมมีสิทธิฟองจําเลยที่ 1 เอาคืนซึ่งการ จํ า นองเป น ประกั น ในวงเงิ น เท า กั บ ราคาที่ ซื้ อ ขายกั น
ครอบครอง สวนจําเลยที่ 2และที่ 3 แมจะมิไดอุทธรณ สวนสัญญากอตั้งสิท ธิเหนือพื้นดินก็ทําในวันเดีย วกับ
ดวยแตเนื่องจากกรณีนี้เกี่ยวดวยการชําระหนี้อันไมอาจ สัญญาจะซื้อจะขาย เห็นไดวาสัญญาจํานองเปนประกัน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


269
และสัญญากอตั้งสิทธิเหนือพื้นดินเปนเพียงนิติกรรมอํา บังคับใหโอนที่ดินแปลงดังกลาวแกผูรอง และถือไมได
พรางสัญญาจะซื้อจะขายโดยคูสัญญาไมมีเจตนาผูกพัน วาผูรองเปนผูมีสวนไดเสียในอันที่จะรองขอใหต้ังผูรอง
ในเรื่องจํานองและสิทธิเหนือพื้นดิน สัญญาดังกลาวจึง เปนผูจัดการมรดกของผูตาย
เปนโมฆะตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา
155 มาตรา 54
โจทกไมมีสิทธิสละหรือโอนสิทธิครอบครอง คําพิพากษาฎีกาที่ 2162/2537
ที่ดินพิพาทใหแกจําเลยภายในระยะเวลาหามโอนรวมถึง แมการที่คนตางดาวไดที่ดินมาโดยมิชอบดวย
การเขาแยงการครอบครองที่ดินพิพาทในชวงเวลานี้ก็ทํา ประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 86 จะทําใหคนตางดาว
ไมไดดังนั้น การยึดถือครอบครองที่ดินพิพาทของจําเลย นั้ น ถื อ สิ ท ธิ ห รื อ ใช สิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น ที่ ไ ด ม าอย า งเจ า ของ
จึ ง ถื อ ได ว า จํ า เลยครอบครองไว แ ทนโจทก ไม ถื อ ว า กรรมสิทธิ์ไมไดและตองจําหนายที่ดินนั้นไปตามมาตรา
จําเลยแยงการครอบครองที่ดินพิพาทจากโจทกโจทกจึง 94 แตก็มิใชวาการไดมาซึ่งที่ดินของคนตางดาวจะไมมี
มีอํานาจฟองจําเลยได กรณีไมใชฟองรองเอาคืนซึ่งการ ผลเสียเลย เนื่องจากคนตางดาวยังคงมีสิทธิไดรับผลตาม
ครอบครองที่จะตองฟองภายในหนึ่งปนับแตเวลาถูกแยง มาตรา 94 ทั้งยังมีสิท ธิไดรับชําระราคาที่ดินซึ่งไดจาก
การครอบครองตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย การจําหนายตามมาตรา 54 ดังนั้น แมโจทกเปนคนตาง
มาตรา 1375 วรรคสอง ดาวโจทกก็มีสิทธิเรียกรองใหจําเลยที่ 1 แบงทรัพยสิน
เมื่ อ สั ญ ญาจะซื้ อ จะขายที่ ดิ น พิ พ าท สั ญ ญา ที่ ดิ น และบ า นซึ่ ง โจทก กั บ จํ า เลยที่ 1 ร ว มกั น ซื้ อ มาได
จํ า นองที่ ดิ น เป น ประกั น และสั ญ ญาก อ ตั้ ง สิ ท ธิ เ หนื อ กรณีถือวาคดีแพงที่โจทกฟองขอแบงทรัพยจากจําเลยที่
พื้นดิน เปนนิติกรรมที่เปนโมฆะตามประมวลกฎหมาย 1 โจทกมีฐานะเปนเจาหนี้ของจําเลยที่ 1 การกระทําของ
แพงและพาณิชย มาตรา 150 และมาตรา 155 โจทกซึ่ง จําเลยที่ 1 ที่โอนขายที่ดินและบานดังกลาวไปเสีย จึง
เปนผูมีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาท จึงเปนผูมีสวนได ครบองคประกอบความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
เสียชอบที่จ ะยกขอ สัญญาที่เปนโมฆะขึ้ นกลาวอางได มาตรา 350
การที่โจทกฟองขอใหศาลวินิจฉัยวาสัญญาตางๆ ดังกลาว
เปนโมฆะจึงถือไมไดวาเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต
มาตรา 56
คําพิพากษาฎีกาที่ 4195/2528
คําพิพากษาฎีกาที่ 36/2549 ดานหลังของที่ดินพิพ าทอยูติดกับ แนวเขา มี
ขณะที่ ผู ร อ งและ ป. ผู ต ายทํ า สั ญ ญาซื้ อ ขาย ลักษณะเจาะปรับพื้นที่ดินใหเสมอเขาไปในไหลเขายาว
ที่ดินกันนั้น ที่ดิ นแปลงดังกลาวเปนที่ดินมีขอกําหนด 10 วาเศษ ที่ดินพิพาทดานหนาก็มีสภาพคอย ๆ ลาดต่ําลง
หา ม ป. โอนที่ ดิ น ไปยั ง บุ ค คลอื่ น ภายในสิ บ ป ต าม ป. ไป ที่ดินพิพาทจึงมีลักษณะเปนที่เขา กฎกระทรวง ฉบับ
ที่ดิน มาตรา 31 และยังอยูภายในกําหนดเวลาหามโอน ที่ 5 (พ.ศ.2497) ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใช
นั้น สัญญาซื้อขายที่ดินแปลงดังกลาวจึงเปนนิติกรรมที่มี ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497หมวด 3 ขอ 8 หาม
วัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมายตก ไมใหออกโฉนดที่ดินสําหรับที่เขาเมื่อที่ดินพิพาทเปนที่
เป น โมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 150 ไม ว า ผู ร อ งจะ เขา โฉนดที่ดินของโจทกจึงออกทับที่เขาเปนการไมชอบ
ครอบครองนานเพียงใด ผูรองก็ไมไดสิทธิครอบครอง แมคณะกรรมการสอบสวนที่อธิบดีกรมที่ดินตั้งขึ้นจะได
และถึงแมวาผูตายตกลงจะโอนที่ดินดังกลาวใหแกผูรอง ชี้ขาดวาการออกโฉนดเปนไปโดยชอบดวยระเบียบและ
เมื่อพนกําหนดเวลาหามโอนแลว ก็ไมอาจทําไดเชนกัน ขั้ น ตอนของกฎหมายแล ว ก็ ต ามก็ อ าจเป น การรั บ ฟ ง
ผูรองจึงไมอยูในฐานะเจาหนี้กองมรดกของผูตายที่จะ ขอ เท็จจริงมาผิดพลาดและไมผูกพันใหศ าลตอ งฟงวา

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


270
ที่ดินพิพาทไมใชที่เขาดวย ที่ดินพิพาทเปนที่เขาเปนที่สา คําพิพากษาฎีกาที่ 280/2537
ธารณสมบัติของแผนดินไมใชเปนของโจทกโจทกยอม ที่ดินของโจทกทั้งหาเปนที่ดินมือเปลา ซึ่งได
ขอให ขั บ ไล จํ า เลยและบริ ว ารออกไปจากที่ ดิ น พิ พ าท ครอบครองทําประโยชนตอเนื่องจากผูครอบครองเดิม
ไมได ตลอดมาก อ น ประมวลกฎหมายที่ ดิ น ฯใช บั ง คั บ แต
โจทกทั้งหามิไดแจงการครอบครองไว แมภายหลังจะมี
คําพิพากษาฎีกาที่ 5709/2533 ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ออกมายกเลิกความ
ศาลพิพากษาวาที่พิพาทเปนของโจทก โจทก ใน มาตรา 5 วรรคสองแหง พระราชบัญ ญัติ ใหใช
ไดยื่นคํารองขอผอนผันแจงการครอบครองเพื่อขอออก ประมวลกฎหมายที่ ดิ น พ.ศ. 2497 แต ก็ ไ ม มี ผ ลบั ง คั บ
หนั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน ต อ ที่ ดิ น อํ า เภอในที่ ยอนหลัง โจทกทั้งหาจึงไมมีสิทธิครอบครองขึ้นมาใหม
พิพาทตอมาจําเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ซึ่งดํารงตําแหนง เวนแตจะเขาหลักเกณฑตาม มาตรา 58 ทวิ,59 ทวิ แหง
นายอําเภอ ที่ดินอําเภอ และปลัดอําเภอตามลําดับเปน ประมวลกฎหมายที่ดินฯ และระเบียบของคณะกรรมการ
ผูรับผิ ดชอบและมีอํ านาจออกเอกสารใบจอง หนังสือ จัดสรรที่ดินแหงชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2515) หมวด 2 ขอ 4
รับรองการทําประโยชนและทํานิติกรรมซื้อขายที่ดินใน ซึ่งเปนกรณีมีเหตุสมควรและไมมีเจตนาฝาฝน เมื่อโจทก
เขตอํานาจ ยอมทราบดีวาที่ดินแปลงใดเปนที่ดินรกราง ทั้ง หา อา งว าที่ ดิน พิพ าทเป น ของตนซึ่ ง ได ค รอบครอง
วางเปลาหรือไม ไดรวมกันดําเนินการจัดสรรออกใบจอง ตอเนื่องจากผูครอบครองเดิมตลอดมา แมมิไดแจงการ
และหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน ทั บ ที่ พิ พ าทให ครอบครองไวแตก็ยังมีสิทธิครอบครองอยูตาม ประมวล
จําเลยที่ 4 กับทํานิติกรรมโอนขายที่ดินระหวางจําเลยที่ กฎหมายที่ดินฯ มาตรา 58 ทวิและ 59 ทวิ และไดยื่นคํา
4 กับที่ 6 ถือไดวาเปนการโตแยงสิทธิของโจทก ตาม ร อ งต อ จํ า เลยเพื่ อ ขอให อ อกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 55 แลว ประโยชนและออกโฉนดที่ดินใหแกโจทกทั้งหา จําเลย
โจทก จึ ง มี อํ า นาจฟ อ งจํ า เลยโดยไม จํ า ต อ งฟ ง ผลคํ า ทั้ ง สามโต แ ย ง ว า ที่ ดิ น โจทก ทั้ ง ห า ครอบครองเป น สา
พิ พ ากษาอี ก คดี ห นึ่ ง ว า ใครเป น ผู มี สิ ท ธิ ค รอบครองที่ ธารณสมบัติของแผนดินและไมยอมออกหนังสือรับรอง
พิพาท ปญหาวา ฟองโจทกคดีนี้เปนฟองซอนหรือไม การทําประโยชนและโฉนดที่ดินใหแกโจทกทั้งหายอม
ศาลไดมีคําพิพากษาในประเด็นขอนี้แลววาไมเปนฟอง เปนการโตแยงสิทธิของโจทกทั้งหาแลวโจทกทั้งหาจึงมี
ซ อ น ป ญ หาข อ นี้ จึ ง ยุ ติ ศาลฎี ก าไม รั บ วิ นิ จ ฉั ย การที่ อํานาจฟองจําเลยทั้งสาม
หนังสือรับรองการทําประโยชนของจําเลยที่ 4 บางสวน
ไดออกทับที่ดินของโจทก เปนการออกหนังสือรับรอง คําพิพากษาฎีกาที่ 8007/2543
การทําประโยชนคลาดเคลื่อนอันกระทบกระเทือนสิทธิ โจทกฟองวาจําเลยขอออกโฉนดที่ดินเฉพาะ
ของโจทกในสวนที่ไมถูกตองเทานั้น ซึ่งสามารถแกไข รายโดยไมชอบขอใหศาลมีคําสั่งหามเจาพนักงานที่ดิน
ใหถูกตองตามความเปนจริงได โจทกจะขอใหเพิกถอน ออกโฉนดที่ดินใหแกจําเลยเปนคําฟองที่ขอใหบังคับเจา
ทั้งหมดหาไดไม ปญหาวา ที่พิพาทคดีนี้เปนคนละแปลง พนั ก งานที่ ดิ น ให ก ระทํ า การหรื อ ไม ก ระทํ า การ เมื่ อ
กับที่ดินซึ่งศาลพิพากษาวาเปนที่ของโจทกในอีกคดีหนึ่ง โจทกมิไดฟองเจาพนักงานที่ดินเปนจําเลย จึงขอให
นั้น เปนขอที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวในศาลชั้นตนและ บั ง คั บ เจ า พนั ก งานที่ ดิ น ซึ่ ง เป น บุ ค คลภายนอก
ศาลอุทธรณ ทั้งมิไดเปนปญหาอันเกี่ยวดวยความสงบ ไม ไ ด ตาม ประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความ
เรี ย บร อ ยของประชาชนตามประมวลกฎหมายวิ ธี แพง มาตรา 145 วรรคสอง คําขอของโจทกจึงไมชอบ
พิจารณาความแพง มาตรา 249 ศาลฎีกาไมรับวินิจฉัย และไมอาจบังคับได

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


271

มาตรา 57 มาตรา 58
คําพิพากษาฎีกาที่ 7543/2548 คําพิพากษาฎีกาที่ 332/2527
คําพิพากษาศาลฎี กาในคดีกอ นที่วินิจ ฉัย วาผู จํ า เลยเป น พนั ก งานพิ สู จ น มี ห น า ที่ ใ นการ
รองเปนเจาของที่ดินตามคํารองขอ เปนเพียงการวินิจฉัย พิสูจนการครอบครองที่ดินแลวกรอกขอความในแบบ
รองรับสิทธิในที่ดินใหแกผูรอง ทําใหผูรองมีสิทธิยื่นคํา บันทึกการสอบสวนสิทธิและพิสูจ นการทําประโยชน
ขอตอเจาพนักงานที่ดินใหแกชื่อเจาของกรรมสิทธิ์ใน เพื่ อ ออกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน เอกสาร
โฉนดที่ดินมาเปนชื่อของผูรองตามที่ประมวลกฎหมาย ดังกลาวจึงอยูในความดูแลครอบครองของจําเลยกอน
ที่ดิน มาตรา 57 บัญญัติไว แตเมื่อการใชสิทธิของผูรอง สงไปยังศูนยหรือผูควบคุมสาย เมื่อเอกสารนี้ถูกปลอม
ถู ก เจ าพนั ก งานที่ ดิน ปฏิ เสธโดยอ า งเหตุ ผูร อ งไม ย อม ลายมือชื่อของ จ. ผูมีหนาที่ปกครองทองที่และระวังแนว
ชําระคาธรรมเนียมการจดทะเบีย นตามมาตรา 103 จึง เขต โดยจําเลยมีโอกาสกระทําเองหรือรวมกับจําเลยอื่น
เป น กรณี ที่ เ จ า พนั ก งานที่ ดิ น โต แ ย ง สิ ท ธิ ข องผู ร อ ง กระทําขึ้น จําเลยจึงมีความผิดฐานปลอมเอกสารโดย
โดยตรง ตองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง อาศัยโอกาสที่ตนมีหนาที่นั้น
มาตรา 55 ผูรอ งตองนําคดีมาสูศ าลเปนคดีมีขอ พิพาท ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 58 บัญญัติให
โดยตองฟองเจาพนักงานที่ดินตอศาลเพื่อใหวินิจฉัยวา นายอําเภอมีอํานาจแตงตั้งใหผูซ่ึงไดรับการอบรมเปน
เจาพนักงานที่ดินมีเหตุตามกฎหมายในการไมยอมจด เจาหนาที่ออกไปพิสูจนสอบสวนการทําประโยชนแทน
ทะเบียนหรือไม ฉะนั้นการที่ผูรองนําคดีเขาสูศาลโดยทํา ตนในการเดิ น สํ า รวจเพื่ อ ออกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า
เปนคํารองขอเพราะถือวาเปนการใชสิทธิทางศาล ทั้ง ๆ ประโยชน. และในการปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย
ที่ ไ ม มี บ ทบั ญ ญั ติ ก ฎหมายรองรั บ ให ก ระทํ า ได จึ ง ไม นั้นใหเจาหนาที่เปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมาย
ถูกตอง อาญาจํ า เลยเป น ผู ไ ด รั บ คํ า สั่ ง จากนายอํ า เภอให เ ป น
พนักงานพิสูจน มีหนาที่ในการพิสูจนสอบสวนการทํา
คําพิพากษาฎีกาที่ 7543/2548 ประโยชน ใ นที่ ดิ น จึ ง เป น เจ า พนั ก งานตามประมวล
แมคําพิพากษาศาลฎีกาในคดีกอนจะวินิจฉัยวา กฎหมายอาญา
ผูรองเปนเจาของกรรมสิทธิ์ที่ดินตามคํารอง ก็เปนเพียง
การรับรองสิทธิในที่ดินแกผูรอง ทําใหผูรองมีสิทธิยื่นคํา คําพิพากษาฎีกาที่ 1329/2529
ขอตอเจาพนักงานที่ดินใหแกชื่อเจาของกรรมสิทธิ์ใน กรมที่ ดิ น จ า ง ป.เป น ลู ก จ า งชั่ ว คราว และ
โฉนดมาเปนชื่อผูรอง ตามที่ ป. ที่ดิน มาตรา 57 บัญญัติ นายอํ า เภอมี คํ า สั่ ง แต ง ตั้ ง ป.ให ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ พิ สู จ น
ไว การที่เจาพนักงานที่ดินปฏิเสธการใชสิทธิของผูรอง สอบสวนการทําประโยชนในที่ดิน ป.จึงเปนเจาพนักงาน
โดยอางเหตุวาผูรองไมยินยอมชําระคาธรรมเนียมการจด ตามประมวลกฎหมายอาญา ตามบทบั ญ ญั ติ ป ระมวล
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตาม ป. ที่ดิน มาตรา 103 เปน กฎหมายที่ดิน มาตรา 58 จําเลยซื้อที่ดินซึ่งมีหนังสือ
กรณีที่เจาพนักงานที่ดินโตแยงสิทธิของผูรองตาม ป.วิ.พ. รั บ รองการทํ า ประโยชน (น.ส.3) อยู แ ล ว จํ า เลยได ไ ป
มาตรา 55 ผูรองพึงตองนําคดีมาสูศาลในลักษณะของคดี ขอใหทางราชการออกหนังสือรับรองการทําประโยชน
มีขอพิพาท การที่ผูรองนําคดีเขาสูศาลโดยทําเปนคํารอง (น.ส.3 ก) โดยใช รู ป ถ า ยทางอากาศสํ า หรั บ ที่ ดิ น นั้ น
ขอเพราะถื อ เป น การใช สิ ท ธิ ท างศาล ไม มี ก ฎหมาย อี ก โดยแจ ง ต อ ป. เจ า หน า ที่ พิ สู จ น ส อบสวนว า ที่ ดิ น
รองรับใหกระทําได ดังกลาวยังไมเคยมีหนังสือรับรองการทําประโยชนมา
กอน จนทางราชการออก น.ส.3 ก. ใหจําเลย แตในที่สุด
ผู ว า ราชการจั ง หวั ด สั่ ง เพิ ก ถอนเพราะเหตุ จํ า เลยแจ ง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


272
ขอความอันเปนเท็จดังนี้ เกิดความเสียหายขึ้นแลว การ พิ พ าทมานานเพี ย งใดก็ ไ ม ไ ด สิ ท ธิ ค รอบครอง ที่ ดิ น
กระทําของจําเลยจึงเปนความผิดฐานแจงความเท็จตาม พิพาทยังเปนของจําเลยอยู
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 137
คําพิพากษาฎีกาที่ 1506/2536
มาตรา 58 ทวิ ที่ ดิ น มี ห นั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน
คําพิพากษาฎีกาที่ 293/2535 (น.ส. 3 ก.) ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 58 ทวิ
โจทกเขาจับจองครอบครองที่ดินซึ่งเปนที่รก วรรคหา หามมิใหผูไดสิทธิในที่ดินโอนที่ดินไปยังผูอื่น
ร า งว า งเปล า เนื้ อ ที่ 12 ไร เ ศษ หลั ง จากที่ ป ระกาศใช ภายในกําหนดสิบปนับแตวันที่ไดรับหนังสือรับรองการ
ประมวลกฎหมายที่ดินแลวจึงเปนที่ดินที่ไมอาจจะแจง ทํ า ประโยชน เว น แต ก ารตกทอดทางมรดกโจทก ทํ า
การครอบครองไดตามมาตรา 5 แหงพระราชบัญญัติให สัญญาซื้อขายที่ดินจาก ส. บิดาจําเลยเมื่อวันที่19 ตุลาคม
ใช ป ระมวลกฎหมายที่ ดิ น พ.ศ. 2497 ถึ ง แม จ ะอยู ใ น 2529 โดยระบุวา ส. ไดรับเงินคาซื้อขายที่พิพาทจาก
หลั ก เกณฑ ที่ จ ะออกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน โจทกครบถวนแลว และยินยอมมอบหนังสือรับรองการ
เฉพาะรายไดตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายที่ดิน ทําประโยชนที่พิพาทใหโจทกยึดถือไว ทั้งใหสิทธิโจทก
มาตรา 58 ทวิ ( 3) ก็ ต าม แต ก็ ต อ งได รั บ อนุ มั ติ จ ากผู ว า ทุ ก อย า งในการเข า ครอบครองปลู ก สร า งอาคารในที่
ราชการจังหวัดตามที่ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดิน พิพาทนับแตวันที่ทําสัญญา ซึ่งอยูในระยะเวลาหามโอน
แห ง ชาติ ฉบั บ ที่ 2(พ.ศ. 2515) หมวด 4ข อ 9(2)(ค) ถื อ ว า สั ญ ญาซื้ อ ขายมุ ง ประสงค โ อนสิ ท ธิ ค รอบครอง
กําหนดไวดวย จึงจะออกหนังสือรับรองการทําประโยชน ทันที แมวา ส. บิดาจําเลยได น.ส. 3 มาเมื่อวันที่ 25 และ
ให ไ ด ดั ง นั้ น เมื่ อ ผู ว า ราชการจั ง หวั ด ได มี ห นั ง สื อ ให 26 พฤษภาคม 2520 แลว ส. ทําสัญญาขายที่พิพาทให
โจทกออกจากที่พิพาทอันเปนขอแสดงใหเห็นวา ไมมีการ โจทกในวันที่ 19 ตุลาคม 2529 เมื่อครอบครองที่พิพาท
อนุมัติใหออกหนังสือรับรองการทําประโยชนเฉพาะราย มา 9 ป 5 เดื อ นแล ว และกํ า หนดโอนกั น วั น ที่ 19
สํ า หรั บ ที่ ดิ น ที่ พิ พ าทแล ว ที่ ดิ น ที่ พิ พ าทจึ ง ไม อ ยู ใ น กรกฎาคม 2531 ซึ่งเปนเวลา 11 ป 5 เดือน นับแตไดรับ
หลักเกณฑที่ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ น.ส.3 ก. มา การทําสัญญาซื้อขายในลักษณะดังกลาวก็
กํ า หนดไว ใ นอั น ที่ จ ะออกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า เพื่อ หลีก เลี่ยงข อ หา มโอนตามประมวลกฎหมายที่ดิ น
ประโยชนใหโจทกได ย อ มเป น การอั น มี วั ต ถุ ป ระสงค ต อ งห า มชั ด แจ ง โดย
กฎหมายจึงตกเปนโมฆะนั บ แตวันทําสัญ ญา ตาม
คําพิพากษาฎีกาที่ 380/2536 ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 113
แม จ ะรั บ ฟ ง ตามที่ โ จทก นํ า สื บ ว า โจทก ซื้ อ
ที่ ดิ น พิ พ าทจากจํ า เลยแต เ มื่ อ ขณะทํ า การซื้ อ ขายที่ ดิ น คําพิพากษาฎีกาที่ 280 - 284/2537
พิ พ าทยั ง อยู ใ นระยะเวลาห า มโอนที่ ดิ น พิ พ าทภายใน ที่ดินของโจทกทั้งหาเปนที่ดินมือเปลา ซึ่งได
กําหนดสิบปนับแตวันที่จําเลยไดรับหนังสือรับรองการ ครอบครองทําประโยชนตอเนื่องจากผูครอบครองเดิม
ทําประโยชนสําหรับที่ดินพิพาท ตามประมวลกฎหมาย ตลอดมาก อ น ประมวลกฎหมายที่ ดิ น ฯใช บั ง คั บ แต
ที่ดิน มาตรา 58 ทวิ การซื้อขายที่ดินพิพาทระหวาง โจทกทั้งหามิไดแจงการครอบครองไว แมภายหลังจะมี
โจทกจําเลยและการที่จําเลยสงมอบการครอบครองที่ดิน ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ออกมายกเลิกความ
พิพาทใหโจทกยอมตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมาย ในมาตรา 5 วรรคสอง แหงพระราชบัญ ญัติ ใหใช
ที่ดิน มาตรา 58 ทวิ ประกอบดวยประมวลกฎหมายแพง ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 แตก็ไมมีผลบังคับ
และพาณิ ช ย มาตรา 113 แม โ จทก จ ะครอบครองที่ ดิ น ยอนหลัง โจทกทั้งหาจึงไมมีสิทธิครอบครองขึ้นมาใหม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


273
เวนแตจะเขาหลักเกณฑตาม มาตรา 58 ทวิ,59 ทวิ แหง ทะเบียนโอนที่ดินใหจําเลยเมื่อพนกําหนดหามโอนแลว
ประมวลกฎหมายที่ดินฯ และระเบียบของคณะกรรมการ ก็เปนการซื้อมาและเขาครอบครองภายในกําหนดเวลา
จัดสรรที่ดินแหงชาติฉบับที่ 2(พ.ศ. 2515) หมวด 2 ขอ 4 หามโอน เปนนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคตองหามชัดแจง
ซึ่งเปนกรณีมีเหตุสมควรและไมมีเจตนาฝาฝน เมื่อโจทก โดยกฎหมาย ตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมายแพง
ทั้ง ห า อา งว าที่ ดิน พิพ าทเป น ของตนซึ่ง ได ค รอบครอง และพาณิชย มาตรา 113 จําเลยจึงไมมีสิทธิอยูในที่พิพาท
ตอเนื่องจากผูครอบครองเดิมตลอดมา แมมิไดแจงการ
ครอบครองไวแตก็ยังมีสิทธิครอบครองอยูตามประมวล คําพิพากษาฎีกาที่ 125/2538
กฎหมายที่ดินฯ มาตรา 58 ทวิและ 59 ทวิ และไดยื่นคํา พิ นั ย กรรมทํ า ขึ้ น เพื่ อ อํ า พรางสั ญ ญาซื้ อ ขาย
ร อ งต อ จํ า เลยเพื่ อ ขอให อ อกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า ที่ดินพิพาทพินัยกรรมซึ่งเปนนิติกรรมอันแรกยอมเปน
ประโยชนและออกโฉนดที่ดินใหแกโจทกทั้งหา จําเลย การแสดงเจตนาลวงด ว ยสมรู ร ะหว า งคู ก รณี ที่ จ ะไม
ทั้ ง สามโต แ ย ง ว า ที่ ดิ น โจทก ทั้ ง ห า ครอบครองเป น สา ผูกพันกันตามเจตนาที่แสดงออกมานั้นจึงตกเปนโมฆะ
ธารณสมบัติของแผนดินและไมยอมออกหนังสือรับรอง ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา155วรรค
การทําประโยชนและโฉนดที่ดินใหแกโจทกทั้งหายอม แรกสวนนิติกรรมอันหลังคือสัญญาซื้อขายที่ถูกอําพราง
เปนการโตแยงสิทธิของโจทกทั้งหาแลวโจทกทั้งหาจึงมี ไวโดยพินัยกรรมซึ่งเปนนิติกรรมอันแรกตองบังคับตาม
อํานาจฟองจําเลยทั้งสาม บทบัญญัติของกฎหมายอันเกี่ยวกับนิติกรรมที่ถูกอําพราง
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา155วรรคสอง
คําพิพากษาฎีกาที่ 2155/2537 ที่ ดิ น พิ พ าทมี ข อ กํ า หนดห า มโอนภายใน10ป ต าม
โจทก เป นผูค รอบครองและทําประโยชนใน ประมวลกฎหมายที่ดินฯมาตรา58ทวิและการโอนขายได
ที่ดินซึ่งมีขอกําหนดหามโอนภายใน 10 ป นับแตวันที่ 4 กระทําภายในกําหนดเวลาดังกลาวถือไดวาสัญญาซื้อขาย
เมษายน 2522 ตามมาตรา 58 ทวิแหงประมวลกฎหมาย ที่ดินพิพาทมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดย
ที่ดินไดทําสัญญาจะขายที่ดินดังกลาวใหแกจําเลยโดยตก กฎหมายตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมายแพงและ
ลงจะชําระคาที่ดินสวนที่เหลือและสงมอบที่ดินใหใน พาณิชย มาตรา 150
วันที่ 5 กันยายน 2531 ภายในกําหนดหามโอนตาม
บทบัญญัติดังกลาว จึงเปนนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคเปน คําพิพากษาฎีกาที่ 4850/2538
การตองหามชัดแจงโดยกฎหมายสัญญาจะซื้อขายที่ดิน ที่ดิ นพิ พ าทที่ โ จทกไ ดรั บ มาอยู ใ นระยะเวลา
พิ พ าทย อ มตกเป น โมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 113 หามโอนเปนที่ดินที่รัฐยังไมไดมอบ สิทธิครอบครองให
(มาตรา 150 ที่แกไขใหม) คูสัญญาจึงตองกลับคืนสูฐานะ โจทก มี สิ ท ธิ เ พี ย ง ทํ า ประโยชน ใ นที่ ดิ น พิ พ าทไม อ าจ
เดิมโดยถือเสมือนหนึ่งวาไมมีการทําสัญญาจะซื้อขาย สละหรือ โอนสิทธิครอบครองใหแกผูอื่นไดการที่โจทก
ที่ดินกัน จําเลยตองคืนหนังสือรับรองการทําประโยชน ขายที่ ดิ น พิ พ าทให แ ก จํ า เลยทั้ ง สองจึ ง ไม มี ผ ลตาม
ใหโจทก และโจทกก็ไมมีสิทธิริบเงินที่รับไว กฎหมายโจทกยอ มมี อํานาจฟอ ง ขับ ไลจําเลยทั้ง สอง
ออกจากที่ดินพิพาทได
คําพิพากษาฎีกาที่ 5083/2537
จําเลยซื้อที่ดินพิพาทซึ่งเปนที่ดินบางสวนของ คําพิพากษาฎีกาที่ 303/2539
ที่ดินที่มีขอกําหนดหามโอนไปยังผูอื่นภายใน 10 ปจาก โจทก ซื้ อ ที่ ดิ น พิ พ าทจาก พ. ซึ่ ง พ. ยั ง ไม ไ ด
โจทก แมโจทกจะไดสละการครอบครองและมอบที่ดิน แจงการครอบครองที่ดินพิพาทตามมาตรา 5 แหง พ.ร.บ.
พิ พ าทให จํ า เลยครอบครอง ทั้ ง มี ข อ ตกลงว า จะจด ใหใช ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 โจทกเขา

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


274
ครอบครองทําประโยชนในที่ดินพิพาทตอเนื่องตลอด หลีกเลี่ยงขอหามโอนยอมตกเปน โมฆะและเปนปญหา
มา เมื่อมีการประกาศกําหนดทองที่และวันเริ่มตนของ เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชนที่ศาลชั้นตนมี
การเดินสํารวจเพื่อออกโฉนดที่ดิน โจทกไมไดแจงการ อํ า นาจ งดสื บ พยานแล ว ยกขึ้ น วิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดได ต าม
ครอบครองที่ดินพิพาทตอเจาหนาที่ตาม ป.ที่ดิน มาตรา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 24
27 ตรี เนื่องจากโจทกเดินทางไปประกอบอาชีพที่อื่น แต
โจทกไดไปพบพนักงานเจาหนาที่เพื่อ นําสํารวจรังวัด คําพิพากษาฎีกาที่ 9087/2539
ออกโฉนดที่ดินเมื่อมีการเดินสํารวจแลว แตเจาหนาที่ให โจทกทํ าสั ญ ญาจะซื้อ ขายที่ พิพ าทจากจํา เลย
รออยูกอน ครั้นเมื่อไปพบตามกําหนดก็ไดรับแจงวาหมด นั้น โจทกไมทราบวามีขอกําหนดหามโอน นิติกรรม
โครงการเดินสํารวจแลว แสดงวาเหตุขัดของซึ่งทําใหไม ดังกลาว จึงเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมายยอมตก
มี ก ารสํ า รวจรั ง วั ด ที่ ดิ น พิ พ าทตามวั น เวลาที่ พ นั ก งาน เปนโมฆะ โจทกไมมีหนาที่ตองชําระหนี้ที่คางชําระและ
เจาหนาที่ปดประกาศมิใชเปนความผิดของโจทก ทั้ง จําเลยตองคืนเงินที่โจทกชําระไวโดยถือไมไดวาโจทก
โจทกไดนําเจาพนักงานที่ดินไปทําการรังวัดที่ดินเพื่อ กระทําตามอําเภอใจเหมือนหนึ่งวาเพื่อชําระหนี้โดยรูวา
ออกโฉนดแลว ถือไดวาโจทกยังประสงคจะไดสิทธิใน ตนไมมีความผูกพันที่จะตองชําระแตอยางใด
ที่ดินพิพาทและเปนผูปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี แหง ป.
ที่ดิน ซึ่งยังไมพนระยะเวลาตามที่กฎหมายกําหนด คําพิพากษาฎีกาที่ 3307/2543
ดังนั้น การขอออกโฉนดที่ดินของโจทกจึงเปนกรณีผู โจทก แ ละจํ า เลยที่ 1 ทํ า สั ญ ญาซื้ อ ขายที่ ดิ น
ตกคางการแจงการครอบครองสามารถขอออกโฉนดเปน
พิพ าทกั น ในกํา หนดระยะเวลาห า มโอนตามประมวล
การเฉพาะรายไดตาม ป.ที่ดิน มาตรา 59 ทวิ วรรคหนึ่ง กฎหมายที่ดิน การซื้อขายที่ดินพิพาทจึงเปนการตองหาม
พ.ร.บ. การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ชัดแจงโดยกฎหมาย ตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมาย
ไมไดยกเลิกสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน แต แพงและพาณิชย มาตรา 113(เดิม)
อย างใด เมื่ อ ปรากฏวา โจทก ดํา เนิ น การขอออกโฉนด ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ที่ ดิ น ที่ ท างราชการจั ด ให
ที่ดินตามหลักเกณฑและวิธีการที่กฎหมายกําหนดโดย
ราษฎรทํ า กิ น จึ ง ปกป อ ง ราษฎรให มี ที่ ทํ า กิ น เป น เวลา
จําเลยที่ 2 ไดมีหนังสือแจงตอผูวาราชการจังหวัดวาที่ดิน อยางนอย 10 ป ภายในกําหนดระยะเวลา ดังกลาวซึ่งทาง
พิพาทอยูในหลักเกณฑที่จะออกโฉนดที่ดินได เห็นควร ราชการได ค วบคุ ม ที่ ดิ น นั้ น อยู ยั ง ไม ป ล อ ยเป น สิ ท ธิ
ออกโฉนดที่ดินใหแกโจทกได โดยพนักงานเจาหนาที่ เด็ดขาดแกผูครอบครองจนกวาจะพนกําหนดระยะเวลาที่
ไดทําการรังวัดตรวจสอบรายละเอียดและดําเนินการตาม มีขอกําหนดหามโอน ดังนั้น โจทกจะสละหรือโอนการ
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติแลว จึงไมมี
ครอบครองที่ดินพิพาทเพื่อชําระหนี้ ใหแก จําเลยที่ 1
เหตุที่จําเลยทั้งสองจะปฏิเสธไมยอมออกโฉนดในที่ดิน
ไมได ศาลจึงยกบทบัญญัติมาตรา 411 แหง ประมวล
พิพาทเพียงเพื่อใหโจทกไปดําเนินการขอเอกสารสิทธิใน กฎหมายแพงและพาณิชยขึ้นปรับแกคดีนี้ไมได
ที่ดินพิพาทตาม พ.ร.บ. การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม นับแตโจทกและจําเลยที่ 1 ซื้อขายที่ดินพิพาท
พ.ศ. 2518 อีก เพราะโจทกมีสิทธิดําเนินการตาม กั น ตั้ ง แต ป 2530จํ า เลยที่ 1 ได ค รอบครองที่ ดิ น พิ พ าท
ประมวลกฎหมายที่ดินไดอยูแลว
ตลอดมาจนปจจุบัน แมจะถือวาในระหวางระยะเวลาที่มี
ขอกําหนดหามโอน จําเลยที่ 1 ครอบครองที่ดินพิพาท
คําพิพากษาฎีกาที่ 620/2539 แทนโจทก ก็ ต าม แต ใ นป 2533 ซึ่ ง เป น ระยะเวลาพ น
โจทกจําเลยทํา สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาท กําหนดหามโอนตามกฎหมายแลว จําเลยที่ 1 ไดฟองตอ
ภายในระยะเวลาตามข อ กํ า หนดห า มโอนเป น การ ศาลขอใหบังคับโจทกโอนที่ดินพิพาทใหจําเลย ดังนี้ ถือ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


275
ไดว าจํ าเลยที่ 1 ไดเ ปลี่ ย นลัก ษณะแห งการยึด ถือ ที่ดิ น ตนแตผูเดียว แตก็ตองถือวาที่ดินพิพาทเปนสินสมรสที่
พิพาทโดยบอกกลาวแสดงเจตนาไปยังโจทกวา จะไม โจทกมีสิทธิเปนเจาของรวมอยูดวย การที่ภายหลัง
ยึดถือ ที่ดินพิพาทแทน โจทกอีกตอ ไปอันเปนการแยง โจทกกับจําเลยที่ 3 ตกลงหยาขาดจากกันโดยจําเลยที่ 3
การครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทจากโจทก นั บ ตั้ ง แต วั น ที่ ตกลงยกที่ดินพิพาทใหแกโจทกเพียงฝายเดียวเพื่อการ
จําเลยที่ 1 ยื่นฟองดังกลาว โจทกฟองคดีนี้เมื่อป 2539 แบงทรัพยสินจึงยอมกระทําได หาไดขัดตอบทบัญญัติ
จึงเปนการฟองคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครองเมื่อพน แห ง พ.ร.บ.ให ใ ช ป ระมวลกฎหมายที่ ดิ น พ.ศ.2497
กํ า หนด 1 ป นั บ แต เ วลาถู ก แย ง การครอบครองตาม มาตรา 8 วรรคสอง ที่ระบุใหโอนไดเฉพาะแตทายาท
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1375 วรรคสอง ผูรับโอนทางมรดกไม ขอตกลงการแบงทรัพยที่จําเลย
โจทกจึงไมมี สิทธิฟองจําเลยที่ 1 เอาคืนซึ่งการ ที่ 3 ทําตอโจทกเกี่ยวกับที่ดินพิพาทจึงไมตกเปนโมฆะ
ครอบครอง สวนจําเลยที่ 2 และที่ 3 แมจะมิไดอุทธรณ มีผลใชบังคับได เพราะกรณีนี้เปนการตกลงแบงทรัพย
ดวยแตเนื่องจากกรณีนี้เกี่ยวดวยการชําระหนี้อันไมอาจ ในฐานะที่โจทกมีสวนเปนเจาของรวมอยูดวย และเมื่อ
แบ ง แยกได ที่ ศ าลอุ ท ธรณ วิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดให มี ผ ลไปถึ ง ข อ เท็ จ จริ ง ปรากฏจากพยานหลั ก ฐานในสํ า นวนว า
จําเลยที่ 2 และที่ 3 ดวย จึงชอบแลว โจทกเปนผูเขาทํากินในที่ดินพิพาทตลอดมา การออก
โฉนดที่ดินแกที่ดินพิพาทในนามของจําเลยที่ 3 จึงเปน
คําพิพากษาฎีกาที่ 6505/2550 การมิชอบ เพราะควรออกใหแกโจทกตามหลักเกณฑที่
โจทกฟองจําเลยที่ 1 ในฐานะสวนตัวและใน กําหนดไวใน ป.ที่ดิน มาตรา 58 ทวิ ศาลจึงมีอํานาจเพิก
ฐานะเปนเจาพนักงานที่ดินจังหวัดเปนจําเลยที่ 2 กับ ถอนโฉนดที่ดินที่ออกโดยมิชอบนี้เสียไดตาม ป.ที่ดิน
ฟองจําเลยที่ 3 ในฐานะสวนตัวและในฐานะผูวา มาตรา 61 วรรคแปด
ราชการจังหวัดเปนจําเลยที่ 4 และฟองจังหวัดเปน
จําเลยที่ 5 ใหรวมกันออกโฉนดที่ดินเนื้อที่ 62 ไร 3 งาน คําพิพากษาฎีกาที่ 1032/2554
88 ตารางวา แตการออกโฉนดที่ดินนั้นหากที่ดินมีเนื้อ โจทกซื้อที่ดินเนื้อที่ประมาณ 80 ไร เปนที่ดิน
ที่ไมเกิน 50 ไร อยูในอํานาจหนาที่ของเจาพนักงาน มือเปลาไมมีเอกสารแสดงสิทธิในที่ดิน ตอมา สํานักงาน
ที่ดินจังหวัด หากเนื้อที่เกินกวา 50 ไร จะอยูในอํานาจ ที่ดินอําเภอกันตังไดประกาศและออกสํารวจที่ดินเพื่อ
หนาที่ของเจาพนักงานที่ดินจังหวัด (จําเลยที่ 2) และ ออกหนังสือรับรองการทําประโยชนใหแกผูครอบครอง
ผูวาราชการจังหวัด (จําเลยที่ 4) ตาม ป.ที่ดิน มาตรา 59 ทําประโยชนในที่ดิน แตมีระเบียบคณะกรรมการจัด
ทวิ โจทกจึงไมมีอํานาจฟองจําเลยที่ 1 และที่ 3 ใหรับ ที่ดินแหงชาติ ซึ่งออกโดยอาศัยประมวลกฎหมายที่ดิน
ผิดในฐานะสวนตัว สําหรั บ จํา เลยที่ 5 ไม มี สว น ได กํ า หนดหลั ก เกณฑ ก ารออกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า
เกี่ยวขอ งหรื อ มีห นาที่ใ นการออกโฉนดที่ดินซึ่ งเป น ประโยชนใหแกผูครอบครองทําประโยชนไดไมเกิน 50
การกระทําในตําแหนงหนาที่ของจําเลยที่ 2 และที่ 4 ไร เวนแตจะไดรับอนุมัติจากผูวาราชการจังหวัด โจทก
จําเลยที่ 5 ไมไดโตแยงสิทธิโจทกแตอยางใด โจทกจึง จึงขอออกหนังสือรับรองการทําประโยชนเปน 2 แปลง
ไมมีอํานาจฟองจําเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 5 แปลงแรกจํานวน 50 ไร ใหสามีโจทกมีชื่อถือแทน และ
อีกแปลงหนึ่งคือที่ดินพิพาทซึ่งเปนสวนที่เกินจาก 50 ไร
คําพิพากษาฎีกาที่ 3487/2551 ใหมีชื่อบิดาสามีโจทกถือแทน ดังนี้ ขณะโจทกขอออก
โจทกกับจําเลยที่ 3 เปนสามีภริยากันโดย หนังสือ รับรองการทําประโยชนในที่ดินพิพาท โจทก
ชอบดวยกฎหมาย ดังนั้น แมตามหลักฐานจะปรากฏวา รูอยูวาโจทกไมมีสิทธิจะขอออก เวนแตจะไดรับอนุมัติ
จําเลยที่ 3 ไปขอออกใบจับจองที่ดินพิพาทในนามของ จากผูวาราชการจังหวัด การที่โจทกใหบุคคลอื่นมีชื่อถือ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


276
แทน และต อ มาโจทก ฟ อ งร อ งขอให โ อนที่ ดิ น คื น แก จํ า เลยจึ ง เป น ผู มี สิ ท ธิ ค รอบครองในที่ ดิ น พิ พ าท ตาม
โจทก จึงเปนการกระทําเพื่ อ หลีกเลี่ย งหลักเกณฑก าร ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 59 วรรคสอง
ออกหนังสือรับรองการทําประโยชนของทางราชการ ถือ โจทกจึงไมมีสิทธิในที่ดินพิพาทและไมมีอํานาจนําที่ดิน
เป น การที่ โ จทก ใ ช สิ ท ธิ โ ดยไม สุ จ ริ ต ต อ งห า มตาม ที่พิพาทมาใชในการปฏิรูปเพื่อเกษตรกรรม ตาม พ.ร.บ.
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 5 โจทกจึงไม การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 มาตรา 26 (4)
มีอํานาจฟอง
มาตรา 59 เบญจ
มาตรา 59 คําพิพากษาฎีกาที่ 2144/2537
คําพิพากษาฎีกาที่ 8007/2543 เดิ ม ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ของ ธ. มี เ อกสารสิ ท ธิ
โจทกฟองวาจําเลยขอออกโฉนดที่ดินเฉพาะ สําหรับที่ดินเปนหนังสือรับรองการทําประโยชน ตอมา
รายโดยไมชอบขอใหศาลมีคําสั่งหามเจาพนักงานที่ดิน ธ. ขอออกเปนโฉนดที่ดิน แลว ธ. นําที่ดินพิพาทไปจด
ออกโฉนดที่ดินใหแกจําเลยเปนคําฟองที่ขอใหบังคับเจา ทะเบียนจํานองเปนประกันหนี้แกธนาคาร สวนจําเลยได
พนั ก งานที่ ดิ น ให ก ระทํ า การหรื อ ไม ก ระทํ า การ เมื่ อ ฟ อ ง ธ.ให ชํ า ระหนี้ ต ามเช็ ค และธนาคารก็ ฟ อ ง ธ.ให
โจทก มิ ไ ด ฟ อ งเจ า พนั ก งานที่ ดิ น เป น จํ า เลย จึ ง ขอให ชําระหนี้กับมีคําขอใหบังคับจํานองหลังจากที่จําเลยชนะ
บั ง คั บ เจ า พนั ก งานที่ ดิ น ซึ่ ง เป น บุ ค คลภายนอก คดี แ ล ว จํ า เลยนํ า ยึ ด ที่ ดิ น พิ พ าทตามหลั ก ฐานใบแทน
ไม ไ ด ตาม ประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความ หนังสือรับรองการทําประโยชน จําเลยซื้อที่ดินพิพาท
แพง มาตรา 145 วรรคสอง คําขอของโจทกจึงไมชอบ จากการขายทอดตลาดในคดีที่จําเลยนํายึด ศาลชั้นตนมี
และไมอาจบังคับได คําสั่งใหจําเลยโอนที่ดินพิพาทใหแ กจําเลยผูซื้อทรัพย
ต อ มาโจทกซื้อ ที่ดิ นพิพาทจากการขายทอดตลาดตาม
คําสั่งศาลชั้นตนในคดีที่ธนาคารบังคับจํานองดังนี้ เมื่อ
คําพิพากษาฎีกาที่ 8113/2546
ในวันที่เจาพนักงานจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทใหแ ก
ตาม พ.ร.บ. ปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507
จําเลยผูซื้อทรัพยจากการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาล
มาตรา 12 วรรคสาม คําวา "สิทธิในที่ดินที่บุคคลมีอยู
ตามใบแทนหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน สํ า หรั บ
ตามประมวลกฎหมายที่ดิน" นั้น เมื่อพิจารณาจาก พ.ร.บ.
ที่ดินพิพาทนั้น ธ.เจาของที่ดินพิพาทตามใบแทนหนังสือ
ใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 5 ซึ่ง
รับ รองการทํ า ประโยชน นั้ น ไดไ ปขอออกโฉนดที่ ดิ น
บัญญัติรับรองถึงสิทธิของผูครอบครองและทําประโยชน
แปลงดังกลาวที่สํานักงานที่ดินจังหวัดกอนแลว ยอมมี
ในที่ ดิ น อยู ก อ นวั น ที่ ป ระมวลกฎหมายที่ ดิ น ใช บั ง คั บ
ผลใหหนังสือรับรองการทําประโยชนที่ดินพิพาทรวม
สิทธิในที่ดินที่บุคคลมีอยูตามประมวลกฎหมายที่ดินจึง
ตลอดไปถึงใบแทนหนังสือรับรองการทําประโยชนซึ่ง
หมายรวมถึ ง สิ ท ธิ ค รอบครองตามแบบแจ ง การ
เปนเอกสารสิทธิสําหรับที่ดินพิพาทเปนอันยกเลิกไป แม
ครอบครองที่ดิน (ส.ค. 1) ดวย เมื่อ พ. ไดขายที่ดินพิพาท
จําเลยจะไดจดทะเบียนรับโอนที่ดินพิพาทจากการซื้อ
ซึ่ ง เป น ที่ ดิ น ที่ มี สิ ท ธิ ค รอบครองตามแบบแจ ง การ
ทรัพยสินในการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาลโดยสุจริตก็
ครอบครองที่ดิน (ส.ค. 1) ใหแกจําเลย และจําเลยไดเขา
หามีผลบังคับแกที่ดินพิพาทไม และไมมีผลผูกพันตาม
ครอบครองทํ า ประโยชน ใ นที่ ดิ น พิ พ าทตลอดมา จึ ง
กฎหมายจําเลยจึงไมไดสิทธิในที่ดินพิพาท
แสดงใหเห็นวา พ. ไดสละสิทธิครอบครองในที่ดิน
พิ พ าทและโอนที่ ดิ น พิ พ าทโดยการส ง มอบการ
ครอบครองใหแกจําเลย เมื่อจําเลยรับโอนมาโดยชอบ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


277

มาตรา 60 ของประมวลกฎหมายที่ดินฯโดยรวบรวมพยานหลักฐาน
คําพิพากษาฎีกาที่ 4655/2534 ทั้งของฝายโจทกและฝายผูคัดคานเปรียบเทียบกันแลว
แมฟองโจทกอางวา คําสั่งของจําเลยในฐานะ เห็นวาพยานหลักฐานของฝายผูคัดคานมีเหตุผลดีกวาจึง
เจาพนักงานที่ดินที่ใหออกโฉนดที่ดินพิพาท เปนคําสั่งที่ มีคําสั่งใหงดออกโฉนดที่ดินใหโจทกโจทกจึงไมมีสิทธิ
ไมชอบดวยกฎหมาย เปนการฝาฝนตอบทกฎหมายและ ขอใหเพิกถอนคําสั่งดังกลาว แมจําเลยเปนฝายชนะคดี
ความเปนจริ ง เพราะที่ดินพิพาทเปนของโจทกเหตุผล เพราะโจทกไมมีอํานาจฟองแตการที่ศาลอุทธรณภาค 2
เพียงเทาที่อางจะถือวาจําเลยกระทําการไปโดยไมชอบ วินิจฉัยวาที่พิพาทมิไดเปนที่สาธารณสมบัติของแผนดิน
ด ว ยเหตุ ผ ลและไม สุ จ ริ ต หาได ไ ม ทั้ ง มิ ไ ด บ รรยายว า สําหรับพลเมืองใชเลี้ยงสัตวรวมกันแตเปนที่ดินรกราง
จํ า เลยรั บ ฟ ง ข อ เท็ จ จริ ง หรื อ ใช ดุ ล พิ นิ จ โดยไม มี วางเปลาอาจเปนที่เสียหายแกจําเลยจําเลยยอมมีสิทธิฎีกา
พยานหลักฐานหรือเหตุผลสนับสนุนเพียงพอหรือโดย โตแยงได สาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับพลเมือง
ไม สุ จ ริ ต โจทก จึ ง ไม มี อํ า นาจฟ อ งเพิ ก ถอนคํ า สั่ ง ของ ใชรวมกันเกิดขึ้นและเปนอยูตามสภาพของที่ดินและการ
จําเลย ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 60 ที่ระบุใหฝายที่ ใชรวมกันของประชาชนโดยไมตองมีเอกสารของทาง
ไมพอใจคําสั่งของเจาพนักงานที่ดินไปดําเนินการฟอง ราชการกําหนดใหเปนที่สาธารณ ประโยชนที่พิพาทเปน
ต อ ศาลภายในกํ า หนด 60 วั น นั บ แต วั น ทราบคํ า สั่ ง ที่ ที่ ร าษฎรใช เ ลี้ ย งสั ต ว ก อ นที่ ล. และ ค. จะเข า
หมายถึงใหคูกรณีฟองเพื่อขอใหศาลพิจารณาพิพากษา ครอบครองจึ ง เป น สาธารณประโยชน ข องแผ น ดิ น
เกี่ยวดวยเรื่องกรรมสิทธิ์วาผูใดมีสิทธิดีกวากัน โดยเจา สําหรับพลเมืองใชรวมกันโจทกจะอางวาที่พิพาทเปน
พนักงานที่ดินจะรอเรื่องการออกโฉนดไวกอน ของโจทกเพราะ ค. ผูขายใหโจทกครอบครองที่พิพาทมา
นานแลวหาไดไม
คําพิพากษาฎีกาที่ 2312/2538
โจทก ฟ อ งว า ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ของโจทก แ ละ คําพิพากษาฎีกาที่ 53-54/2540
โจทกครอบครองตลอดมาโจทกยื่นคํารองขอออกโฉนด บทบั ญ ญั ติ ใ นมาตรา 60 แห ง ประมวล
ที่ ดิ น จํ า เลยทั้ ง สองโต แ ย ง คั ด ค า นว า ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ที่ กฎหมายที่ดินเปนเพียงการกําหนดวิธีการใหเจาพนักงาน
สาธารณประโยชนเปนเหตุใหเจาพนักงานที่ดินไมยอม ที่ดินดําเนินการสอบสวนเปรียบเทียบกรณีที่มีการโตแยง
ออกโฉนดที่ดินพิพาทใหยอมเปนการโตแยงสิทธิของ สิทธิกันในการขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
โจทก โ จทก จึ ง มี อํ า นาจฟ อ งโดยหาจํ า ต อ งปฏิ บั ติ ต าม การทําประโยชนเทานั้น แมจะมีขอกําหนดไววา เมื่อเจา
ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา60ไมเพราะโจทกมิไดฟอง พนักงานที่ดินสั่งการอยางไรแลวใหฝายที่ไมพอใจไป
จําเลยทั้งสองในฐานะเจาพนักงานผูออกโฉนดที่ดิน ดําเนินการฟงรองตอศาลภายในกําหนด 60 วันนับแตวัน
ทราบคําสั่งก็ตาม แตขอกําหนดดังกลาวคงเปนเพียงการ
กํ า หนดขั้ น ตอนเพื่ อ ให เ จ า พนั ก งานที่ ดิ น ปฏิ บั ติ ภ าย
คําพิพากษาฎีกาที่ 3803/2538
หลังจากที่ไดสั่งการไปแลว คือ หากมีการฟองคดีตอศาล
ประมวลกฎหมายที่ดินฯมาตรา60ที่บัญญัติวา
ก็ใหเจาพนักงานที่ดินรอเรื่องไวจนกวาศาลจะไดมีคํา
เมื่อเจาพนักงานที่ดินสั่งประการใดแลวใหฝายที่ไมพอใจ
พิพากษาหรือคําสั่งถึงที่สุดประการใดก็ใหดําเนินการไป
ไปดําเนินการฟองตอศาลภายในกําหนดหกสิบวันนับแต
ตามนั้ น ถ า ไม ฟ อ งภายในกํ า หนดก็ ใ ห ดํ า เนิ น การไป
วันทราบคําสั่งนั้นหมายถึงใหคูกรณีฟองขอใหศาลพิจารณา
ตามที่ เ จ า พนั ก งานที่ ดิ น สั่ ง แล ว แต ก รณี หากใช เ ป น
พิพากษาวาฝายใดมีกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาทดีกวากันเมื่อ
เงื่อนไขในการฟองคดีตอศาลไม ทั้งบทบัญญัติดังกลาวก็
จําเลยในฐานะเจาพนักงานที่ดินไดปฏิบัติตามขั้นตอน
มิ ไ ด มี ข อ ห า มมิ ใ ห ฟ อ งคดี หากมิ ไ ด ดํ า เนิ น การตาม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


278
ขั้ น ตอนที่ กํ า หนดไว ใ นบทบั ญ ญั ติ ดั ง กล า วก อ นด ว ย คําพิพากษาฎีกาที่ 8793/2543
ดั ง นั้ น เมื่ อ โจทก ทั้ ง สองถู ก โต แ ย ง สิ ท ธิ ต าม ป.วิ . พ. บทบั ญ ญั ติ ม าตรา 60 แห ง ประมวลกฎหมาย
มาตรา 55 โจทกทั้งสองจึงมีอํานาจฟอง ที่ดินฯ เปนเพียงการกําหนดวิธีการใหเจาพนักงานที่ดิน
ดําเนินการสอบสวนเปรียบเทียบและสั่งการในกรณีที่มี
คําพิพากษาฎีกาที่ 1142/2541 การโต แ ย ง สิ ท ธิ กั น ในการขอออกโฉนดที่ ดิ น หรื อ
แม ที่ ดิ น พิ พ าทจะอยู ภ ายในเขตของนิ ค ม หนั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน เ ท า นั้ น แม จ ะมี
อุตสาหกรรมบานไร จําเลยที่ 4 ก็ตาม แตที่ดินพิพาทเปน ข อ กํ า หนดไว ว า เมื่ อ เจ า พนั ก งานที่ ดิ น สั่ ง การอย า งไร
ที่ ดิ น มี ห นั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน ซึ่ ง ยั ง ไม ถู ก แล ว ให ฝ า ยที่ ไ ม พ อใจไปดํ า เนิ น การฟ อ งร อ งต อ ศาล
ยกเลิกเพิกถอนหรือถูกนิคมสหกรณบานไรขอกินเปน ภายในกําหนด 60 วัน นับแตวันทราบคําสั่งก็ตาม แต
แนวเขตชานคลองมากอนที่โจทกจะยื่นคําขอรังวัดที่ดิน ข อ กํ า หนดดั ง กล า วคงเป น เพี ย งการกํ า หนดขั้ น ตอน
พิพาท ประกอบกับโจทกไดครอบครองที่ดินพิพาทมา เพื่อใหเจาพนักงานที่ดินปฏิบัติภายหลังจากที่ไดสั่งการ
กอน และโจทกไมไดเปนสมาชิกของนิคม จึงเชื่อไดวา ไปแล ว คือ หากมี ก ารฟ อ งคดี ต อ ศาลก็ ใ ห เ จ าพนั ก งาน
ที่ดินพิพาทเปนที่ดินของโจทกไมใชที่ดินของรัฐ ซึ่งรัฐ ที่ดินรอเรื่องไวจนกวาศาลจะไดมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง
ยอมไมมีอํานาจนําไปจัดตั้งเปนนิคมตาม พ.ร.บ.จัดที่ดิน ถึงที่สุดประการใดก็ใหดําเนินการไปตามนั้น ถาไมฟอง
เพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511 มาตรา6 หรือใหกรมสงเสริม ภายในกําหนดก็ใหดําเนินการไปตามที่เจาพนักงานที่ดิน
ส ห ก ร ณ จํ า เ ล ย ที่ 5 มี อํ าน าจ ป ฏิ บั ติ ก า ร เ กี่ ย ว กั บ จังหวัดสั่งหาใชเปนเงื่อนไขในการฟองคดีตอศาลไม ทั้ง
ทรั พ ยากรธรรมชาติ เ พื่ อ ให ไ ด ม าซึ่ ง ผลประโยชน บทบั ญ ญั ติ ดั ง กล า วก็ มิ ไ ด ห า มมิ ใ ห ฟ อ งคดี ห ากมิ ไ ด
สําหรับบํารุงสงเสริมกิจกรรมและการจัดทําสิ่งกอสราง ดําเนินการตามขั้นตอนที่กําหนดไวดังที่บัญญัติหามไว
อันเปนประโยชนแกสวนรวมของนิคมตามมาตรา 14 ได ในกฎหมายอื่ น ดั ง นั้ น เมื่ อ โจทก ถู ก โต แ ย ง สิ ท ธิ ต าม
การที่ เ จ า พนั ก งานที่ ดิ น จํ า เลยที่ 1 อ า งว า ไม ส ามารถ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 55 โจทก
ดําเนินการรังวัดออกโฉนดที่ดินพิพาทใหโจทกไดเพราะ จึงมีอํานาจฟอง
จะตองกันแนวเขตชานคลองสหกรณหรือคลองลัดแสม
ดํา จากกึ่ ง กลางคลองเป น รัศ มี 40 เมตรตามข อ คัด ค า น คําพิพากษาฎีกาที่ 670/2544
ของจํ า เลยที่ 4 และที่ 5 จึ ง เป น ข อ กล า วอ า งที่ ไ ม มี การรังวัดออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
กฎหมายสนับสนุน การทําประโยชนใหแกประชาชน หากมีผูโตแยงคัดคาน
บทบั ญ ญั ติ ใ น ป.ที่ ดิ น มาตรา 60 วรรคหนึ่ ง เจาพนักงานที่ดินมีอํานาจทําการสอบสวนเปรียบเทียบ
เปนการใหดุลพินิจพนักงานเจาหนาที่หรือจําเลยที่ 1 ที่ ถาตกลงกันไดก็ดําเนินการไปตามที่ตกลงหากตกลงกัน
จะทําการสอบสวนเปรียบเทียบหรือไมก็ไดมิไดบังคับวา ไมได เจาพนักงานที่ดินมีอํานาจพิจารณาสั่งการไปตามที่
จํ า เลยที่ 1 จะต อ งทํ า การสอบสวนเปรี ย บเที ย บทุ ก เห็นสมควรตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 60 วรรค
กรณี บทบัญญัติดังกลาวจึงมิใชเปนกรณีที่มีกฎหมายให แรก ซึ่งคําสั่งของเจาพนักงานที่ดินหาเปนยุติไม คูกรณี
ฝายบริหารวินิจฉัยขอพิพาทกอน ทั้งไมปรากฏวา จําเลย ฝายที่ไมพอใจคําสั่งมีสิทธิที่จะฟองคูกรณีอีกฝายหนึ่งตอ
ที่ 1 ไดดําเนินการสอบสวนเปรียบเทียบแลวโจทกไม ศาลไดภายใน 60 วัน นับแตไดทราบคําสั่งดังกลาว แตถา
ยิ น ยอมให ส อบสวนเปรี ย บเที ย บ ทั้ ง การที่ ไ ม มี ก าร เจาพนักงานที่ดินมีคําสั่งใหออกโฉนดที่ดินแกบุคคลใด
เปรี ย บเที ย บก็ เ ป น การใช ดุ ล พิ นิ จ ไม เ ปรี ย บเที ย บของ อั น เป น การใช ดุ ล พิ นิ จ สั่ ง การตามที่ ต นได ทํ า การ
จําเลยที่ 1 โจทกจึงมีอํานาจฟองคดีตอศาลโดยตรงได สอบสวนเปรีย บเที ย บไปโดยสุจ ริ ต ตามอํ า นาจหน า ที่

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


279
ชอบดวยมาตรา 60 แลวอีกฝายยอมไมมีอํานาจที่จะฟอง หากศาลพิ พ ากษาในภายหลั ง ว า ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ของ
ขอใหเพิกถอนคําสั่งดังกลาว โจทก โจทกอาจไดรับความเสียหาย กรณีมีเหตุสมควร
กําหนดวิธีการคุมครองประโยชนของโจทกในระหวาง
คําพิพากษาฎีกาที่ 4725/2545 พิ จ ารณาตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ ง
แม โ จทก จ ะบรรยายคํ า ฟ อ งโดยตั้ ง ประเด็ น มาตรา 264
กลาวหาวา จําเลยที่ 2 เปนเจาพนักงานที่ดินปฏิบัติหนาที่
ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง โดยการสั่งให คํ า พิ พากษาหรื อคํ า สั่ ง ศาลปกครองสู ง สุ ด
ออกโฉนดที่ดินแก ช. ผูคัดคานในทํานองใหรับผิดฐาน เกี่ยวกับมาตรา 60 แหงประมวลกฎหมายที่ดิน
ละเมิด แตในคําฟองของโจทกคงบรรยายฟองลอย ๆ วา
จํ า เลยที่ 2 ไม พิ จ ารณาหลั ก ฐานให ร อบคอบถู ก ต อ ง คําสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 507 /2545
ชัดเจนโดยไมไดบรรยายขอเท็จจริงโดยชัดแจงวาจําเลย ผูฟอ งคดีไดยื่น คํ า ขอออกโฉนดที่ดิน และนํ า
ที่ 2 พิจ ารณาหลักฐานไมรอบคอบอยางไรกระทําโดย เจาหนาที่ทําการเดินสํารวจรังวัดที่ดินแปลงดังกลาว ใน
ประมาทปราศจากความระมัดระวังอยางไรโดยเฉพาะ วันรังวัดนี้ผูถูกฟองคดีที่ 4 ซึ่งเปนผูปกครองทองที่ที่ผูถูก
อยางยิ่งคําขอทายคําฟองโจทกขอเพียงใหศาลพิพากษา ฟองคดีที่ 3 มอบหมายใหทําการระวังชี้และรับรองแนว
วาคําสั่งของสํานักงานที่ดินจังหวัดสมุทรปราการสาขา เขตที่สาธารณะ (คลองปากบาง) แทน ไดรับรองแนวเขต
บางพลี ไม ช อบด ว ยกฎหมายและให เ พิ ก ถอนคํ า สั่ ง ดานที่ติดตอกับคลองปากบางใหแกผูฟองคดี และกอนที่
ดังกลาว กับใหจําเลยทั้งสองออกโฉนดที่ดินเลขที่ 1020 จะมี ก ารออกโฉนดที่ ดิ น ให แ ก ผู ฟ อ งคดี ทางศู น ย
ใหแกโจทกถือไมไดวาโจทกฟองจําเลยทั้งสองใหรับผิด อํ า นวยการเดิ น สํ า รวจจั ง หวั ด สระบุ รี – นครนายกได
ฐานละเมิดแตมีลักษณะเปนการโตแยงคัดคานคําสั่งของ ขอใหผูถูกฟองคดีที่ 3 ตรวจสอบแนวเขตดังกลาวอีกครั้ง
เจาพนักงานที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา หนึ่ง ปรากฏวาในครั้งนี้ผูถูกฟองคดีที่ 4 ไมรับรองแนว
60 ซึ่ ง โจทก ช อบที่ จ ะดํ า เนิ น การตามขั้ น ตอนตามที่ เขตใหแกผูฟองคดี ผูฟองคดีจึงอุทธรณการคัดคานแนว
ประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 60 กําหนด ดวยการ เขตที่ ดิ น ต อ ผู ถู ก ฟ อ งคดี ที่ 2 และที่ 3 รวมทั้ ง ได ทํ า
ฟอง ช. ผูคัดคาน โจทกไมมีอํานาจฟองขอใหเพิกถอน หนังสือขอใหสํานักงานที่ดินจังหวัดสระบุรีชะลอการ
คําสั่งของจําเลยที่ 2 พิจารณาออกโฉนดที่ดินของผูฟองคดีไวกอน และผูฟอง
ตามประมวลกฎหมายที่ ดิ น ฯ มาตรา 60 คดี ไ ด ยื่ น ฟ อ งต อ ศาลปกครองเพื่ อ ขอให เ พิ ก ถอนการ
บั ญ ญั ติ ใ ห เ จ า พนั ก งานที่ ดิ น มี อํ า นาจทํ า การสอบสวน คั ด ค า นแนวเขตดั ง กล า ว กรณี จึ ง เป น การโต แ ย ง การ
เปรี ย บเที ย บ ถ า ตกลงกั น ไม ไ ด ใ ห เ จ า พนั ก งานที่ ดิ น มี กระทํ า ของผู ถูกฟอ งคดีที่ 4 ที่ได กระทํ าการแทนผูถู ก
อํานาจสั่งการไปตามที่เห็นสมควร จําเลยที่ 2 จึงมีอํานาจ ฟ อ งคดี ที่ 3 ในเรื่ อ งการระวั ง ชี้ แ ละรั บ รองแนวเขตที่
สั่งใหออกโฉนดที่ดินแก ช. ผูคัดคานได สาธารณะ และการกระทําดังกลาวเปนเพียงขั้นตอนหนึ่ง
ของการดํ า เนิ น การออกโฉนดที่ ดิ น เท า นั้ น ซึ่ ง ตาม
คําพิพากษาฎีกาที่ 5509/2545 ประมวลกฎหมายที่ดินถือวาการที่ผูถูกฟองคดีที่ 4 ไม
โจทก กั บ จํ าเลยทั้ ง สี่ พิ พ าทกั นเกี่ ย วกั บ รับรองแนวเขตนี้เปนการโตแยงสิทธิครอบครองที่ดิน
กรรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ ดิ น พิ พ าท เจ า พนั ก งานที่ ดิ น สอบสวน ของผูฟองคดีตามมาตรา 60 ซึ่งพนักงานเจาหนาที่หรือ
เปรียบเทียบแลวมีคําสั่งใหออกโฉนดที่ดินแกจําเลยทั้งสี่ เจาพนักงานที่ดินจะตองทําการสอบสวนเปรียบเทียบวา
ตามประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 60 เมื่อจําเลยทั้งสี่ ฝ า ยใดมี สิ ท ธิ ค รอบครองที่ ดิ น บริ เ วณนั้ น ดี ก ว า กั น
ไดรับโฉนดที่ดินแลวอาจมีการโอนที่ดินพิพาทตอไป ซึ่ง เสียกอน ถาตกลงกันไดก็ดําเนินการตามที่ตกลงกันแลว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


280
จึงจะพิจารณาออกโฉนดที่ดินใหแกผูมีสิทธิตามที่ตกลง ระยะเวลาที่กําหนดในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
กัน แตถาตกลงกันไมไดก็ใหเจาพนักงานที่ดินจังหวัด ทางปกครอง พ.ศ. 2539 เสียกอน เนื่องจากขั้นตอนตามที่
หรือเจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา มีอํานาจพิจารณาสั่ง กําหนดไวในมาตรา 60 แหงประมวลกฎหมายที่ดินเปน
การไปตามที่เห็นสมควร หากฝายใดไมพอใจในคําสั่ง วิธีการปฏิบัติราชการทางปกครองที่กฎหมายกําหนดไว
นั้นก็มีสิทธิฟองตอศาลได เนื่องจากกรณีนี้เมื่อผูถูกฟอง
โดยเฉพาะ และมีหลักเกณฑประกันความเปนธรรม หรือ
คดีที่ 4 ไมรับรองแนวเขตแลว พนักงานเจาหนาที่หรือ
มีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไมต่ํากวาหลักเกณฑที่
เจาพนักงานที่ดินยังมิไดทํ าการสอบสวนเปรียบเทีย บ
กําหนดในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
และมีคําสั่งอยางหนึ่งอยางใดเกี่ยวกับคําขอออกโฉนด
ที่ดินของผูฟองคดี ผูฟองคดีก็มีหนังสือขอใหสํานักงาน พ.ศ. 2539 อยูแลว ดังนั้น ในการสั่งสอบสวนเปรียบเทียบ
ที่ ดิ น จั ง หวั ด สระบุ รี ร ะงั บ การพิ จ ารณาเรื่ อ งดั ง กล า ว ตามมาตรา 60 แหงประมวลกฎหมายที่ดิน จึงไมมีกรณีที่
เสียกอน และไดอุทธรณไปยังผูถูกฟองคดีที่ 2 และที่ 3 จะตองระบุถงึ เหตุแหงการอุทธรณตามนัยมาตรา 40 แหง
ฉะนั้ น กรณี นี้ จึ ง เป น เรื่ อ งที่ เ จ า หน า ที่ ข องรั ฐ ยั ง มิ ไ ด มี พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
คําสั่งทางปกครองเกี่ยวกับคําขอออกโฉนดที่ดินของผู ไวในคําสั่งสอบสวนเปรียบเทียบอีกแตอยางใด
ฟ อ งคดี อั น จะเป น เหตุ ใ ห ผู ฟ อ งคดี นํ า มาฟ อ งต อ ศาล
ปกครองได เพราะผูฟองคดียังมิ ได รับความเดือดรอ น
คําสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 210 /2546
เสี ย หายจากคํ า สั่ งของเจ า หนา ที่ ข องรั ฐ ที่จ ะถื อ ว า เป น
ในขณะที่ผูฟองคดียื่นฟองคดีนี้ ผูถูกฟองคดีที่
ผู เ สี ย หายที่ มี สิ ท ธิ ฟ อ งคดี นี้ ต ามนั ย มาตรา 42 แห ง
พระราชบัญญัติจัดตั้ งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี 1 ได ดํ า เนิ น การรั ง วั ด และจั ด ทํ า แผนที่ ที่ ดิ น ที่ รั ง วั ด ไว
ปกครอง พ.ศ. 2542 ได ดังนั้น ที่ศาลปกครองชั้นตนมี เทานั้น ยังมิไดดําเนินการตามกฎหมายตอไป เพราะมี
คําสั่งไมรับคําฟองนี้ไวพิจารณา ศาลปกครองสูงสุดเห็น เจาของที่ดินขางเคียงคัดคานแนวเขต ซึ่งตามประมวล
พ อ งด ว ยในผล เมื่ อ ได วิ นิ จ ฉั ย เช น นี้ แ ล ว ก็ ไ ม จํ า ต อ ง กฎหมายที่ดิน มาตรา 60 กําหนดวา เมื่อมีผูโตแยงสิทธิ
วินิจฉัยในประเด็นอื่น กัน พนักงานเจาหนาที่หรือเจาพนักงานที่ดินจะตองทํา
จึงมีคําสั่งยืนตามคําสั่งของศาลปกครองชั้นตน การสอบสวนเปรียบเทียบวาฝายใดมีสิท ธิครอบครอง
ที่สั่งไมรับคําฟองนี้ไวพิจารณา ที่ดินพิพาทดีกวากันเสียกอน ถาตกลงกันไดก็ดําเนินการ
ตามที่ตกลงกัน แลวจึงจะพิจารณาออกโฉนดที่ดินใหแก
คําสั่งศาลปกครองสูงสุดโดยมติที่ประชุมใหญ ผู มี สิ ท ธิ ต ามที่ ต กลงกั น แต ถ า ตกลงกั น ไม ไ ด ก็ ใ ห เ จ า
ที่ 606/2545 พนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา
ศาลปกครองสู ง สุ ด โดยมติ ที่ ป ระชุ ม ใหญ มีอํานาจพิจารณาสั่งการไปตามที่เห็นสมควร หากฝายใด
วิ นิ จ ฉั ย ว า การฟ อ งคดี ต อ ศาลปกครองในประเด็ น ไม พ อใจในคํ า สั่ ง นั้ น ก็ มี สิ ท ธิ ฟ อ งต อ ศาลได และ
เกี่ ย วกั บ ความชอบด ว ยกฎหมายของคํ า สั่ ง ของเจ า เนื่องจากกรณีนี้ เมื่อเจาของที่ดินขางเคียงคัดคานแนวเขต
พนักงานที่ดินตามมาตรา 60 แหงประมวลกฎหมายที่ดิน แลว พนักงานเจาหนาที่หรือเจาพนักงานที่ดินยังมิไดทําการ
นั้ น เมื่อ เจาพนั กงานที่ดิ นมี คําสั่งตามมาตรา 60 วรรค สอบสวนเปรียบเทียบและมีคําสั่งอยางหนึ่งอยางใดเกี่ยวกับ
หนึ่งแลว ผูฟองคดีสามารถฟองเจาพนักงานที่ดินตอศาล คําขอออกโฉนดที่ดินของผูฟองคดี ผูฟองคดีก็มายื่นคํา
ปกครองไดภายในระยะเวลาตามมาตรา 60 วรรคสอง ฟองตอศาลปกครองเสียกอน ฉะนั้น กรณีนี้จึงเปนเรื่อง
โดยไม ต อ งอุ ท ธรณ คํ า สั่ ง ดั ง กล า ว ตามขั้ น ตอนและ ที่เจาหนาที่ของรัฐยังมิไดมีคําสั่งทางปกครองเกี่ยวกับคํา

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


281
ขอออกโฉนดที่ดินของผูฟองคดี อันจะเปนเหตุใหผูฟอง ออกโฉนดที่ดินเทานั้น ซึ่งตามมาตรา 60 แหงประมวลกฎหมาย
คดีนํามาฟองตอศาลปกครองได เพราะผูฟองคดียังมิได ที่ดิน ถือวาการที่ผูถูกฟองคดีที่ 2 ถึงผูถูกฟองคดีที่ 4 ไม
รับความเดือดรอนเสียหายจากคําสั่งของเจาหนาที่ของรัฐ รับรองแนวเขตที่ดินนี้ เปนการโตแยงสิทธิครอบครอง
ที่จะถือวาเปนผูเสียหายที่มีสิทธิฟองคดีนี้ตามนัยมาตรา ที่ ดิ น ของผู ฟ อ งคดี ซึ่ ง พนั ก งานเจ า หน า ที่ ห รื อ เจ า
42 วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญ ญัติจั ดตั้ง ศาลปกครอง พนักงานที่ดินจะตองทําการสอบสวนเปรียบเทียบวาฝาย
และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ไดแตเนื่องจาก ใดมีสิทธิครอบครองที่ดินบริเวณนั้นดีกวากันเสียกอน
ปรากฏขอเท็จจริงภายหลังจากที่ผูฟองคดีไดยื่นฟองคดีนี้ ถาตกลงกันไดก็ดําเนินการตามที่ตกลงกัน แลวจึงจะพิจารณา
แลว ผูถูกฟองคดีที่ 1 ไดทําการสอบสวนเปรียบเทียบที่ดิน ออกโฉนดที่ดินใหแกผูมีสิทธิตามที่ตกลงกัน แตถาตกลงกัน
ตาม น.ส. 3 ก. เลขที่ 1877 เลขที่ ดิ น 376 และมี คํ าสั่ งที่ ไมไดก็ใหเจาพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจาพนักงานที่ดิน
11/2545 ลงวันที่ 23 พฤษภาคม 2545 สั่งใหออกโฉนด จังหวัดสาขามีอํานาจพิจารณาสั่งการไปตามที่เห็นสมควร
ที่ ดิ น ให แ ก ผู ข อ(ผู ฟ อ งคดี ) ได ตามระยะและแนวเขตที่ หากฝายใดไมพอใจในคําสั่งนั้นก็มีสิทธิฟองตอศาลได คดีนี้
กําหนดในรูปแผนที่ออกโฉนดที่ดิน (ร.ว.9) ฉบับลงวันที่ 14 เมื่อผูถูกฟองคดีที่ 2 ถึงผูถูกฟองคดีที่ 4 ไมรับรองแนวเขตที่ดิน
กันยายน 2544 และหากผูขอไมพอใจก็ใหไปดําเนินการ และพนักงานเจาหนาที่หรือเจาพนักงานที่ดินยังมิไดทําการ
ฟองหรือรองตอศาลภายใน 60 วัน นับแตทราบคําสั่งนี้ สอบสวนเปรี ย บเที ย บ และยั ง มิ ไ ด ส่ั ง การไปตามที่
เมื่ อฟ องแล วให นํ าหลั กฐานการรั บฟ องไปแสดงต อเจ า เห็นสมควรแตประการใดเกี่ยวกับคําขอออกโฉนดที่ดินของผู
พนักงานที่ดิน หากไมฟองหรือรองตอศาลภายในกําหนดให ฟองคดี กรณีจึงเปนเรื่องที่เจาหนาที่ของรัฐยังมิไดมีคําสั่ง
ดําเนินการตามคําสั่งนี้ ฉะนั้น เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม ทางปกครองเกี่ยวกับคําขอออกโฉนดที่ดินของผูฟองคดี
ศาลปกครองสู ง สุ ด จึ ง ไม รั บ คํ า ฟ อ งของผู ฟ อ งคดี ใ น อันจะเปนเหตุใหผูฟองคดีนํามาฟองตอศาลปกครองได
ประเด็ นนี้ ไว พิ จารณา ที่ ศาลปกครองชั้ นต นมี คํ า สั่ ง ไม ผูฟองคดีจึงยังไมไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายจาก
รับคําฟองในประเด็นนี้ไวพิจารณา ศาลปกครองสูงสุด คําสั่งของเจาหนาที่ของรัฐ ที่จะถือวาเปนผูเสียหายที่มี
เห็นพองดวยในผล ทั้งนี้ ไมตัดสิทธิผูฟองคดีที่จะฟอง สิ ท ธิ ฟ อ งคดี ต ามมาตรา 42 วรรคหนึ่ ง แห ง พระราช
คดี ตามคําสั่ง ที่ 11/2545 ลงวันที่ 23 พฤษภาคม 2545 บัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
โดยให ม ายื่ น ฟ อ งใหม ไ ด ภ ายใน 60 วั น นั บ แต ท ราบ พ.ศ. 2542 ดังนั้น การที่ศาลปกครองชั้นตนมีคําสั่งไม
คําสั่งของศาลปกครองสูงสุดนี้ รับคําฟองไวพิจารณาและใหจําหนายคดีออกจากสารบบ
ความ ศาลปกครองสู ง สุ ด เห็ น พ อ งด ว ยในผล เมื่ อ ได
คําสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 399 /2546 วินิจฉัยเชนนี้แลว ก็ไมจําตองวินิจฉัยในประเด็นอื่น
ในเรื่ อ งการระวั ง ชี้ แ ละรั บ รองแนวเขตทาง จึงมีคําสั่งยืนตามคําสั่งของศาลปกครองชั้นตน
สาธารณประโยชน การที่ผูถูกฟองคดีที่ 4 มีหนังสือถึงผูถูก ที่ไมรับคําฟองไวพิจารณา
ฟองคดีที่ 1 แจงผลการระวังชี้แนวเขตทางสาธารณประโยชน
ดังกลาว นั้น เปนการดําเนินการตามอํานาจหนาที่ระหวางผูถูก คําสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 38 – 42/2546
ฟองคดีที่ 1 และผู ถู กฟ องคดี ที่ 4 ที่ ยั งไมมี ผลกระทบต อ คํ า สั่ ง สอบสวนเปรี ย บเที ย บกรณี ที่ มี ก าร
สิทธิของผูฟองคดีเกี่ยวกับคําขอออกโฉนดที่ดินแตอยางใด คัดคานการรังวัดเพื่อออกโฉนดที่ดินที่เจาพนักงานที่ดิน
การกระทําดังกลาวเปนเพียงขั้นตอนหนึ่งของการดําเนินการ ได สั่ ง การตามมาตรา 60 วรรคหนึ่ ง แห ง ประมวล

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


282
กฎหมายที่ดิน เปนคําสั่งทางปกครองตามมาตรา 5(1) เหตุจําเปนอันทําใหผูฟองคดีไมสามารถยื่นฟองคดีตอ
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ศาลได ภ ายในระยะเวลาดั ง กล า วตามมาตรา 52 แห ง
2539 ซึ่งตามมาตรา 60 วรรคสอง แหงประมวลกฎหมาย พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี
ที่ดิน ไดบัญญัติใหฝายที่ไมพอใจไปดําเนินการฟองคดี ปกครอง พ.ศ. 2542
ตอศาลภายในกําหนด 60 วัน ไวเปนการเฉพาะแลว จึง
ไม ต อ งอุ ท ธรณ ต ามมาตรา 3 วรรคสอง แห ง พระราช คําสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 221 /2547
บัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ศาลปกครองสูงสุดพิเคราะหแลวเห็นวา การที่
ผูฟองคดีขอใหเจาพนักงานที่ดินรอเรื่องการออกโฉนด
คําสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 46/2547 ที่ดินไวกอน โดยจะไปใชสิทธิทางศาลเพื่อใหไดมาซึ่ง
คําสั่งของเจา พนักงานที่ดิน ในการสอบสวน สิทธิในที่ดินซึ่งเปนการแจงขอภายหลังที่เจาพนักงาน
เปรียบเทียบและสั่งการตามตามมาตรา 60 แหงประมวล ที่ดินจังหวัดเพชรบุรี สาขาชะอํา ไดแจงผูฟองคดีวาไม
กฎหมายที่ดิน เปนคําสั่งทางปกครองตามมาตรา 5 แหง สามารถออกโฉนดที่ดินใหผูฟองคดีไดเพราะมีผูคัดคานการ
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ออกโฉนดที่ดินดังกลาว กรณีจึงถือไดเพียงวาเจาพนักงาน
การฟอ งโตแ ยงคําสั่ งดัง กล าวจึง เปนคดีพิพาทที่อ ยูใ น ที่ดินจังหวัดเพชรบุรี สาขาชะอํา แจงใหผูฟองคดีทราบ
อํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครองตามมาตรา 9 อยางไมเปนทางการ ทั้งนี้เพราะคําสั่งปฏิเสธการออกโฉนด
วรรคหนึ่ง (1) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง ที่ดินใหแกผูฟองคดี ในกรณีตามคําฟองเมื่อมีผูคัดคานการ
และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 แตการฟองคดี รังวัด เจาพนักงานที่ดินจะตองทําการสอบสวนเปรียบเทียบ
ตอ ศาลปกครองตองยื่ นภายใน 60 วั นนั บ แตวัน ทราบ เสียกอน ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 60 เมื่อการที่
คํ า สั่ ง โดยผู ฟ อ งคดี ไ ม ต อ งอุ ท ธรณ ต ามขั้ น ตอนและ เจ า พนั ก งานที่ ดิ น ยั งมิ ได ดํ าเนิ นการตามอํ า นาจหน า ที่
ระยะเวลาที่ กํ า หนดไว ใ นพระราชบั ญ ญั ติ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 60 แหงประมวลกฎหมายที่ดิน
ราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 เนื่ อ งจากประมวล เนื่องจากคําขอของผูฟองคดีที่ขอใหรอเรื่องไวกอน การที่
กฎหมายที่ ดิ น ได กํ า หนดระยะเวลาการฟ อ งคดี ไ ว เจาพนักงานที่ดินยังมิไดออกโฉนดที่ดินใหตามคําขอของผู
โดยเฉพาะและมี ห ลัก เกณฑ ที่ป ระกั น ความเปน ธรรม ฟองคดี จึงเกิดจากการกระทําของผูฟองคดีเอง โดยเจา
หรื อ มี ม าตรฐานในการปฏิ บั ติ ร าชการไม ต่ํ า กว า พนักงานที่ดินยังมิไดมีคําสั่งหรือการกระทําทางปกครอง
หลักเกณฑที่กําหนดในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ ตามมาตรา 9 (1) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง
ทางปกครอง พ.ศ. 2539 การที่ผูฟองคดีนี้ยื่นฟองคดีที่ และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ที่ผูฟองคดีจ ะ
เกินกําหนดระยะเวลาดังกลาว โดยอางเหตุจําเปนวาได นํามาฟองคดีตอศาลปกครองได ที่ศาลปกครองชั้นตนมี
อุทธรณคําสั่งตอเจาพนักงานที่ดิน (ผูถูกฟองคดี) และผู คําสั่งไมรับคําฟองไวพิจารณา ศาลปกครองสูงสุดเห็น
ถูกฟองคดีมีหนังสือแจงไมรับอุทธรณใหผูฟองคดีทราบ ดวยในผล
ลาชานั้น ปรากฏขอเท็จจริงวา หนังสือแจงดังกลาวเปน จึงมีคําสั่งยืนตามคําสั่งของศาลปกครองชั้นตน
การแจงใหผูฟองคดีดําเนินการตามคําสั่งเดิม โดยมิได ที่ไมรับคําฟองไวพิจารณา
พิจารณาขอเท็จจริงหรือพยานหลักฐานใหม จึงเปนเพียง
การยืนยันคําสั่งทางปกครองเดิม ศาลไมอาจรับฟงเปน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


283
ของโจทกไดตามวิธีการที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมาย
คําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด ที่ดิน มาตรา 61
อํานาจหนาที่ระหวางศาลเกี่ยวกับการฟองศาล
ตามมาตรา 60 แหงประมวลกฎหมายที่ดนิ คําพิพากษาฎีกาที่ 3151/2528
โฉนดที่ ดิ น พิ พ าทออกทั บ หาดแสนสุ ข และ
คําวินิจฉัย ที่ 4/2545 ลงวันที่ 13 กุมภาพันธ 2545 ทะเล(หาดดิ น โคลน)หาดแสนสุ ข เป น สถานที่ ซึ่ ง
มาตรา 9 แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาล ประชาชนไปเที่ยวเตรและพักผอนหยอนใจน้ําทะเลทวม
ถึง มีเรือมาจอดที่ชายหาดเปนประจํา อันถือไดวาเปนสา
ปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 มิได
ธารณสมบัติของแผนดินตามประมวลกฎหมายแพงและ
กําหนดใหศาลปกครองมีอํานาจในการพิจารณาพิพากษา
พาณิชยมาตรา 1304 (2) เปนการที่เจาพนักงานที่ดินได
คดีเกี่ยวกับสิทธิในทรัพยสิน ดังนั้น คดีเกี่ยวกับสิทธิใน รั ง วั ด ออกโฉนดพิ พ าทบางส ว นทั บ หาดแสนสุ ข และ
ทรัพยสินของบุคคลจึงอยูในอํานาจของศาลยุติธรรม เมื่อ ทะเลอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินโดยไมชอบดวย
การขอออกโฉนดที่ดินมีการโตแยงสิทธิศาลที่มีอํานาจ กฎหมายอธิ บ ดี ก รมที่ ดิ น สั่ ง เพิ ก ถอนการออกโฉนด
พิจารณาเกี่ยวกับสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน พิพาททั้งฉบับได
มาตรา 60 จึงไดแก “ศาลยุติธรรม”
คําพิพากษาฎีกาที่ 4195/2528
คําวินิจฉัย ที่ 19/2546 ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2545 ดานหลังของที่ดินพิพาทอยูติดกับแนวเขา มี
คดีฟองขอใหเพิกถอนคําสั่งเจาพนักงานที่ดิน ลักษณะเจาะปรับพื้นที่ดินใหเสมอเขาไปในไหลเขายาว
ซึ่งออกโดยไมปฏิบัติตามขั้นตอนที่กฎหมายกําหนดและ 10 วาเศษที่ดินพิพาทดานหนาก็มีสภาพคอย ๆ ลาดต่ําลง
ไมชอบดวยกฎหมาย อยูในเขตอํานาจพิจารณาพิพากษา ไป ที่ดินพิพาทจึงมีลักษณะเปนที่เขา กฎกระทรวง ฉบับ
ของศาลปกครอง ที่ 5 (พ.ศ.2497) ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใช
ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497หมวด 3 ขอ 8 หาม
มาตรา 61 ไมใหออกโฉนดที่ดินสําหรับที่เขาเมื่อที่ดินพิพาทเปนที่
เขา โฉนดที่ดินของโจทกจึงออกทับที่เขาเปนการไมชอบ
คําพิพากษาฎีกาที่ 1968/2525 แมคณะกรรมการสอบสวนที่อธิบดีกรมที่ดินตั้งขึ้นจะได
ทางกระบือสาธารณะพิพาทอยูนอกเขตโฉนด ชี้ขาดวาการออกโฉนดเปนไปโดยชอบดวยระเบียบและ
ที่ดินของ ส. แตอยูในเขตโฉนดที่ดินของโจทกซึ่งออก ขั้ น ตอนของกฎหมายแล ว ก็ ต ามก็ อ าจเป น การรั บ ฟ ง
ทั บ ทางกระบื อ สาธารณะ เป น การออกโฉนดโดย ขอ เท็จจริงมาผิดพลาดและไมผูกพันใหศ าลตอ งฟงวา
คลาดเคลื่อนหรือไมชอบดวยกฎหมาย เพราะทางกระบือ ที่ดินพิพาทไมใชที่เขาดวย ที่ดินพิพาทเปนที่เขาเปนที่สา
สาธารณะนั้นแมจะสิ้นสภาพไปเพราะการไมมีผูใด ใช ธารณสมบัติของแผนดินไมใชเปนของโจทกโจทกยอม
ประโยชนก็ยังมีสภาพเปนสาธารณสมบัติของแผนดินอยู ขอใหขับไลจําเลยและบริวารออกไปจากที่ดินพิพาทไมได
เวนแต จะไดโอนไปโดยอาศัยอํานาจแหงกฎหมาย
เฉพาะหรือพระราชกฤษฎีกา ตามประมวลกฎหมายแพง
คําพิพากษาฎีกาที่ 4106/2529
และพาณิ ช ย มาตรา 1305 อธิ บ ดี ก รมที่ ดิ น จํ า เลยจึ ง มี
ตามบทบั ญ ญั ติ ใ นประมวลกฎหมายที่ ดิ น
อํานาจที่จะเพิกถอน แกไขหรือออกใบแทนโฉนดที่ดิน
มาตรา 61 วรรคทายในกรณีที่มีการออกโฉนดที่ดินโดย
ไมถูกตอง ผูไดรับหนังสือหรือคูกรณีมีอํานาจดําเนินการ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


284
ฟองรองยังศาลใหเพิกถอนได ไมจําเปนจะตองใหอธิบดี การจดทะเบียนที่พิพาทและโฉนดที่พิพาท เปนเหตุให
กรมที่ดินเปนผูเพิกถอนทุกกรณี และเมื่อศาลมีคําสั่งหรือ กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นกลับคืนไปยังเจาของที่แทจริง
คําพิพากษาถึงที่สุดใหเพิกถอนหรือแกไขอยางไรแลวจึง กรณีเชนนี้ถือวา โจทกถูกรอนสิทธิ์ จําเลยที่ 3 จะตองรับ
ให พ นั ก งานเจ า หน า ที่ ต ามมาตรา 71 แห ง ประมวล ผิ ด ต อ โจทก ต ามประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย
กฎหมายที่ดินดําเนินการตามคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น มาตรา 479
ตามวิธีการที่อธิบดีกรมที่ดินกําหนด
แมคําขอทายฟองของโจทกจะระบุวาขอศาล คําพิพากษาฎีกาที่ 6371/2531
บังคั บ จํ า เลยใหเ พิกถอนการออกโฉนดใหมก็ต าม แต โฉนดที่ ดิน ออกทั บ ที่ ธ รณีส งฆ ข องวั ด โจทก
เจตนาอันแทจริงก็คือขอใหศาลเพิกถอนการออกโฉนด เปนการออกโฉนดที่ไมชอบดวยกฎหมาย แมจะมีการ
ใหมนั่ น เอง เมื่อ การออกโฉนดที่ดิ นไดก ระทํา โดยไม โอนทางทะเบีย น ตอ มาจนถึง จําเลยผูมีชื่ อ รายสุดทา ย
ถู ก ต อ งตามคํ า พิ พ ากษาจึ ง มี เ หตุ ใ ห เ พิ ก ถอนการออก จําเลยผูรับโอนก็หาไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินโฉนดที่ตนรับ
โฉนดที่ดิน ศาลพิพากษาเพิกถอนโฉนดไปเสียเลยได โอนไม และเมื่ อ โฉนดที่ ดิ น ออกโดยไม ช อบด ว ย
กฎหมายแลว โจทกจะขอใหลงชื่อโจทกแทนชื่อจําเลย
คําพิพากษาฎีกาที่ 926/2530 ในโฉนดดังกลาวหาไดไม และแมโจทกจะมิไดขอให
ผู รั บ มอบอํ า นาจตายก อ นจดทะเบี ย นโอน เพิกถอนโฉนดดังกลาว ศาลฎีกาก็มีอํานาจสั่งเพิกถอน
กรรมสิ ท ธิ์ หนั ง สื อ มอบอํ า นาจย อ มระงั บ สิ้ น ไปหรื อ โฉนดดังกลาวที่ออกโดยไมชอบดวยกฎหมายเสียได
หมดสภาพไปตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิช ย
มาตรา 826 จําเลยรวมซึ่งเปนเจาพนักงานที่ดินทราบแลว คําพิพากษาฎีกาที่ 2851-2852/2532
ว า ผู ม อบอํ า นาจตายแต ยั ง ดํ า เนิ น การจดทะเบี ย นโอน ส.เชาที่ดินพิพาทจากจําเลยที่ 1 แลวเขาทํานา
กรรมสิทธิ์ในที่ดินจนเสร็จสิ้น กอใหเกิดความเสียหาย ในที่ดินพิพาทรวมกับโจทก เมื่อ ส.ตายโจทกไดเชาที่ดิน
แก โ จทก การกระทํ า ของจํ า เลยร ว มเป น การปฏิ บั ติ พิ พ าททํ า นาต อ มา จึ ง เป น การครอบครองที่ ดิ น พิ พ าท
ราชการในหน า ที่ ฝ า ฝ น กฎหมายเป น การละเมิ ด ต อ แทนจําเลยที่ 1 แมจะครอบครองอยูนานเทาใดก็ไมได
โจทก เมื่อ จําเลยรวมเปนขาราชการในสังกัดของกรม สิทธิครอบครองเปนเจาของ ทางราชการออกหนังสือ
ที่ดินจําเลยที่ 1 ทําละเมิดในการปฏิบัติหนาที่เปนเหตุให รับรองการทําประโยชนในที่ดินพิพาทใหแกโจทกทับ
โจทก เ สี ย หาย จํ า เลยที่ 1 ย อ มต อ งร ว มรั บ ผิ ด ด ว ยตาม ที่ ดิ น ของจํ า เลยที่ 1 ซึ่ ง ได อ อกหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 76 ประโยชนไวแลว ผูวาราชการจังหวัดมหาสารคาม จําเลย
กรมที่ดินยอมมีอํานาจสั่งเพิกถอนและแกไข ที่ 2 มีอํานาจสั่งใหเพิกถอนหนังสือรับรองการทํา
รายการจดทะเบียนที่ดินและโฉนดที่ดินซึ่งเจาพนักงาน ประโยชนที่ออกใหโจทกได
ที่ด ิน จดทะเบีย นโอนกรรมสิท ธิ์แ ละแบง แยกโฉนด
โดยมิชอบ โดยอาศัยหนังสือมอบอํานาจที่ระงับสิ้นไป คําพิพากษาฎีกาที่ 3382/2532
แลวเพราะผูม อบอํา นาจตายไดต ามประมวลกฎหมาย
การที่จํ า เลยใช อํ า นาจตามประมวลกฎหมาย
ที่ดิน มาตรา 61
ที่ดิน มาตรา 61 มีคําสั่งใหเพิกถอนโฉนดที่ดินซึ่งออก
แมจําเลยที่ 3 จะซื้อที่พิพาทมาโดยจดทะเบียน
ทับที่สาธารณประโยชนนั้น เปนการใชอํานาจตาม
โอนกรรมสิทธิ์กันทางทะเบียนและเสียคาตอบแทนโดย
กฎหมาย เพื่อจุดประสงคในการสงวนและรักษาไวซึ่งสา
สุจริตก็ตาม แตโจทกก็รับซื้อทรัพยสินดังกลาวไวจาก
ธารณสมบัติของแผนดิน เพื่อประโยชนของประชาชน
จําเลยที่ 3 โดยสุจ ริตเชนกั น เมื่อ กรมที่ดินสั่งเพิก ถอน
โดยสวนรวมหาใชเปนการใชสิทธิอันมีแตจะกอใหเกิด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


285
ความเสียหายแกผูอื่นไมจําเลยจึงมิไดกระทําละเมิดตอ คําพิพากษาฎีกาที่ 8091/2538
โจทกผูถือกรรมสิทธิ์ที่ดินตามโฉนดดังกลาว เอกสารที่ คดีกอน ส. ฟองอธิบดีกรมที่ดินเปนจําเลยใน
จําเลยยื่นตอศาลเพื่อสงสําเนาใหแกโจทก เปนพยานที่ ฐานะพนั ก งานเจ า หน า ที่ ต ามประมวลกฎหมายที่ ดิ น
เกี่ยวกับประเด็นอันสําคัญในคดี แมจะยังมิไดสงสําเนา มาตรา 61 อางวาเจาพนักงานที่ดินจังหวัดลพบุรีไดออก
ใหโจทกกอนวันสืบพยานไมนอยกวา 3 วัน เพราะความ โฉนดที่ดินพิพาททับที่ดินที่ ส. เปนเจาของอยูโดยไม
พลั้งเผลอของเจาหนาที่ศาล แตเพื่อประโยชนแหงความ ชอบดวยกฎหมายขอใหเพิกถอนโฉนดที่ดินพิพาท ตอมา
ยุติธรรมศาลมีอํานาจรับฟงพยานหลักฐานดังกลาวได คูความทําสัญญาประนีประนอมยอมความ ศาลชั้นตน
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 87(2) พิพากษาตามยอมคดีถึงที่สุด สวนคดีนี้โ จทกฟองผูวา
ราชการจังหวัดลพบุรีจําเลยในฐานะที่โจทกเปนผูจัดการ
คําพิพากษาฎีกาที่ 4680-4682/2533 มรดกและเปนผูรับพินัยกรรม ของ ง.และ ง. เปนผูรับ
ที่ดิน น.ส.3 ก. มีชื่อ ย. เปนเจาของ โจทกซื้อ พินัยกรรมของ ส.โจทกจึงเปนผูสืบสิทธิของ ส. จําเลย
ที่ดินดังกลาวจาก ย. โดยไมไดจดทะเบียน และได คดีนี้ก็ถูก โจทกฟองในฐานะที่เปนพนักงานเจาหนาที่
ครอบครองมาโดยตลอดโจทก จึง ไดสิ ท ธิ ค รอบครอง ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 61 เปนผูสืบสิทธิของ
เมื่อจําเลยมีคําสั่งเพิกถอน น.ส.3 ก.ดังกลาว จึงเปนการ อธิบดีกรมที่ดินเชนกัน ถือวา เปนคูความเดียวกัน การที่
โตแยงสิทธิของโจทก โจทกมีอํานาจฟอง โจทกฟองจําเลยอางวา โฉนดที่ดินออกทับที่ดินของ ส.
อีก จึงเปนฟองซ้ําตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
คําพิพากษาฎีกาที่ 933/2537 ความแพง มาตรา 148
เงินคาธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติ
กรรมในการโอนที่ดินเปนเงินที่รัฐเรียกเก็บจากราษฎร คําพิพากษาฎีกาที่ 112/2539
เป น ค า ตอบแทนที่ รั ฐ ให บ ริ ก ารแก ร าษฎรในการให จําเลยที่ 1 อุทิศถนนใหเปน ทางสาธารณ
ราษฎรไดสิทธิหรือกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพยการที่ ประโยชนทั้งหมดถนนทั้งสายจึงตกเปนสาธารณสมบัติ
โจทก เ ปน ผู ป ระมูล ซื้ อ ที่ ดิ น ได จ ากการขายทอดตลาด ของแผนดินโดยสมบูรณตามกฎหมายทันทีที่จําเลยที่ 1
และจดทะเบี ย นรั บ โอนที่ ดิ น ตามคํ า สั่ ง ของศาล เงิ น ไดแสดงเจตนาอุทิศใหเปนทางสาธารณประโยชนโดย
คาธรรมเนียมการโอนที่ดินจึงเปนเงินคาธรรมเนียม ตาม ไม จํ า ต อ งจดทะเบี ย นโอนสิ ท ธิ ก ารให ท างโฉนดต อ
ป.ที่ดินฯ มาตรา 103 เปนเงินที่จําเลยที่ 2 ตัวแทนจําเลย 1 พนั ก งานเจ า หน า ที่ ต ามประมวลกฎหมายแพ ง และ
เรียกเก็บจากโจทกโดยชอบดวยกฎหมายแมตอมาศาล พาณิชยมาตรา 525 แมขอความในตอนทายของหนังสือ
ฎีกาจะมีคําสั่งเพิกถอนการขายทอดตลาดที่ดินที่โจทก อุทิศที่ดินใหเปนทางสาธารณประโยชนไดระบุวาจําเลย
ประมู ล ซื้ อ ได แ ละให จ ดทะเบี ย นใส ชื่ อ ล.เป น ผู ถื อ ที่ 1 จะไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกลาว ณ
กรรมสิ ท ธิ์ เ หมื อ นเดิ ม แล ว ให เ จ า พนั ก งานบั ง คั บ คดี สํานักงานที่ดินตอไปหามีผลทําใหกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่
ประกาศขายทอดตลาดใหมการเพิกถอนการจดทะเบียน อุทิศยังไมโอนไปไมเมื่อที่ดินพิพาทเปนสาธารณสมบัติ
โอนที่ดินดังกลาวไมใชเกิดจากการกระทําของจําเลยที่ 2 ของแผนดินการออกโฉนดสําหรับที่ดินพิพาทหลังจาก
ตั ว แทนจํ า เลยที่ 1 ซึ่ ง ตามประมวลที่ ดิ น ฯ ก็ ไ ม มี ที่ดินพิพาทตกเปนทางสาธารณประโยชนเปนการมิชอบ
บทบัญ ญัติใหจําเลยที่ 1 คืนเงินคา ธรรมเนีย มการโอน ดังนั้นจําเลยที่ 2 ซึ่งซื้อที่ดินพิพาทมาตามโฉนดที่ออก
ที่ดินแกโจทก และเงินคาธรรมเนียมดังกลาวจําเลยที่ 1 ก็ โดยมิชอบแมจะซื้อขายจากการขายทอดตลาดของศาล
ไดสงเปนรายไดของแผนดินไปแลว โจทกจึงไมมีสิทธิ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1330 ก็
ฟองเรียกเงินคาธรรมเนียมการโอนที่ดินคืนจากจําเลยที่ 1 ตามจําเลยที่ 2 ไมไดรับความคุมครองตามมาตรา 1330

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


286
จํ าเลยที่ 2จึ งไม ได กรรมสิ ทธิ์ ใ นที่ ดิ น พิ พ าทและไม มี เลยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1605
อํานาจโอนที่ดินพิพาทใหแกจําเลยที่ 3 จําเลยที่ 3 ผูรับ ส ว นจํ า เลยที่ 1 ไม ใ ช ท ายาทผู มี สิ ท ธิ ไ ด รั บ มรดกการ
โอนไวยอมไมไดกรรมสิทธิ์เชนเดียวกันในที่ดินพิพาทซึ่ง กระทํ า ของจํ า เลยที่ 1จึ ง ไม เ ป น การยั ก ย า ยหรื อ ป ด บั ง
เปนที่สาธารณสมบัติของแผนดินตามประมวลกฎหมาย ทรัพยมรดกตามบทกฎหมายดังกลาว จําเลยที่ 1 รับโอน
แพงและพาณิชยมาตรา 1305 ที่ดินจากจําเลยที่ 2 โดยทราบวาโจทกทั้งสามและ จ. เปน
ทายาทมีสิทธิรับมรดกจึงเปนการรับโอนโดยไมสุจริต
คําพิพากษาฎีกาที่ 243/2539 จํา เลยที่ 3 ถึ งที่ 5 เปน บุต รของจํ า เลยที่ 1 มี ชื่อ ถื อ
โจทกไมมีพยานยืนยันวาจําเลยที่ 2 และที่ 5 กรรมสิทธิ์รวมโดยการยกใหโดยเสนหาของจําเลยที่ 1
รูอยูกอนแลววาจําเลยที่1มิไดชื่อ ป. และมิไดเปนเจาของ จึงเปนการโอนโดยไมมีคาตอบแทนโจทกทั้งสามจึงมี
ที่ดินซึ่งมีชื่อ ป. เปนผูถือกรรมสิทธิ์ตามโฉนดทั้งโฉนด สิท ธิ ข อให เ พิก ถอนการโอนดั ง กล า วไดต ามประมวล
ที่ ดิ น ดั ง กล า วมิ ไ ด สู ญ หายไปแล ว ยั ง แจ ง ข อ ความเท็ จ กฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1300 จําเลยที่3ถึงที่5
ดังกลาวให ฉ. ซึ่ งเปนเจาพนั กงานที่รับ เรื่อ งราวคําขอ ขายที่ดินใหจําเลยที่ 6 หลังจากโจทกที่ 3 ไดอายัดที่ดิน
ออกใบแทนโฉนดที่ดินจดลงไวในบันทึกถอยคําในการ ไว ต อ เจ า พนั ก งานที่ ดิ น โดยกรรมการของจํ า เลยที่ 6
ขอออกใบแทนโฉนดที่ดินแทน ป. จึงฟงไมไดวาจําเลยที่ ทราบเรื่องแลวถือวาจําเลยที่ 6 รับโอนโดยไมสุจริต
2 และที่ 5 เจตนาแจ งใหเจาพนักงานผูกระทําการตาม โจทกทั้งสามจึงมีสิทธิใหเพิกถอนการโอนตามประมวล
หนาที่จดขอความอันเปนเท็จลงในเอกสารราชการซึ่งมี กฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1300 ไดเชนกัน ผูที่จะ
วัตถุประสงคสําหรับใชเปนพยานหลักฐานตามประมวล ยกอายุค วามขึ้นต อ สูไ ดก็แ ตบุค คลซึ่ งเป น ทายาทหรื อ
กฎหมายอาญา มาตรา 267 บุ ค คลซึ่ ง ชอบที่ จ ะใช สิ ท ธิ ข องทายาทตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1755จําเลยที่ 1 และที่ 3
คําพิพากษาฎีกาที่ 480/2539 ถึงที่ 5 ไมใชทายาทหรือผูจัดการมรดกทั้งจําเลยที่2ถูก
มูลนิธิที่จะเปนนิติบุค คลไดตอ งเปนมูลนิธิที่ กําจัดมิใหรับมรดกจําเลยที่ 2 จึงไมอยูในฐานะทายาท
ไดรับจดทะเบียนเปนนิติบุคคลแลว เมื่อขณะรับการให การที่จําเลยที่ 1 รับโอนที่ดินจากจําเลยที่ 2 แลวใหจําเลย
มูลนิธิผูรับโอนยังไมเปนนิติบุคคล ยอมถือวาเปนการให ที่ 3 ถึงที่5 ถือกรรมสิทธิ์รวมจึงถือไมไดวาจําเลยที่ 1
ที่ผูโอนใหสําคัญผิดในสาระสําคัญแหงนิติกรรมทําให และที่ 3 ถึงที่ 5 เปนบุคคลซึ่งชอบจะใชสิทธิของทายาท
นิติกรรมการใหเปนโมฆะจําเลยที่ 1 และที่ 2 ซึ่งเปนเจา จึงไมมีสิทธิยกอายุความมรดกขึ้นตอสูโจทกทั้งสาม
พนักงานผูไดรับเรื่องราวตาม ป.ที่ดิน มาตรา 61 ยอมเพิก
ถอนการจดทะเบียนนิติกรรมการใหได หาจําตองใหผู คําพิพากษาฎีกาที่ 6352/2539
โอนใหไปฟองรองเพื่อเพิกถอนการใหตาม ป.พ.พ. วา โจทก เปนหนี้จําเลยที่ 1 จํานวนหนึ่ง จึง มอบ
ดวยการเพิกถอนการใหกอนไม น.ส.3 ของที่ดินพิพาทและลงลายมือชื่อในหนังสือมอบ
อํานาจใหจําเลยที่ 1 ยึดถือไว แตก็ไดแสดงความเปน
คําพิพากษาฎีกาที่ 5382-5383/2539 เจ า ของที่ ดิ นพิ พ าทและไม เ คยมอบอํา นาจให ผู ใ ดขาย
จําเลยที่ 2 ไปรับโอนมรดกแตผูเดียวและนํา ที่ดินพิพาท การที่มีการกรอกขอความในหนังสือ มอบ
ที่ดินทรัพยมรดกซึ่งตกไดแกโจทกทั้งสามและ จ. ดวย อํานาจใหจําเลยที่ 2 ขายที่ดินพิพาทใหแกจําเลยที่ 3 จึง
ไปโอนให แ ก จํ า เลยที่ 1ซึ่ ง ไม ใ ช ท ายาทผู มี สิ ท ธิ ไ ด รั บ เป น การกรอกข อ ความโดยปราศจากอํ า นาจและเป น
มรดกจึงเปนการยักยายหรือปดบังทรัพยมรดกเทาสวนที่ เอกสารปลอม ต อ งถื อ ว า นิ ติ ก รรมซื้ อ ขายมิ ไ ด เ กิ ด ขึ้ น
ตนจะไดหรือมากกวาจําเลยที่ 2 จึงถูกกําจัดมิใหรับมรดก สิ ท ธิ ค รอบครองในที่ ดิ น พิ พ าท ยั ง เป น ของโจทก

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


287
ประกอบกับสามีจําเลยที่ 1 เปนพี่เขย ของจําเลยที่ 2 และ โฉนดที่ ดิ น พิ พ าทเสี ย ได เ ฉพาะในส ว นที่ ไ ม ถู ก ต อ ง
จําเลยที่ 2 เปนสามีของจําเลยที่ 3 ยอม รูวาโจทกไมได เทานั้น
มอบอํานาจใหขายที่ดินพิพาท ถือไดวาจําเลยที่ 3 รับโอน
ที่ ดิ น พิ พ าทโดยไม สุ จ ริ ต จึ ง ไม ไ ด สิ ท ธิ ค รอบครองใน คําพิพากษาฎีกาที่ 9375/2539
ที่ดินพิพาท โจทก ไ ด รั บ โอนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น พิ พ าทจาก
จําเลยที่ 6โดยจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ถูกตอง
คําพิพากษาฎีกาที่ 9057/2539 สัญญาใหที่ดินโจทกจึงเปนผูมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาท
โจทกฟองวาจําเลยนําที่ดินของโจทกไปออก แม โ ฉนดที่ ดิ น พิ พ าทที่ โ จทก ไ ด รั บ มาจากพนั ก งาน
โฉนดที่ดิน โดยแจงความเท็จตอเจาพนักงานจนหลงเชื่อ เจาหนาที่ของจําเลยที่ 7 จะเปนโฉนดที่ดินปลอมแตเมื่อ
แลวออกโฉนดที่ดินใหจําเลย ขอใหเพิกถอนโฉนดที่ดิน โฉนดที่ดินฉบับหลวงระบุวาโจทกเปนผูมีกรรมสิทธิ์ใน
พิพาท ซึ่งแม ป. ที่ดินฯ มาตรา 61 วรรคหนึ่ง (2) จะให ที่ดินพิพาท ดังนั้นกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทยอมเปนของ
ผูวาราชการจังหวัดมีอํานาจเพิกถอนโฉนดที่ดินที่ออก โจทกตามกฎหมาย การที่บุคคลอื่นซึ่งไมมีกรรมสิทธิ์ใน
โดยไมชอบดวยกฎหมายก็มิไดหมายความวาเฉพาะผูวา ที่ ดิ น พิ พ าทปลอมเป น โจทก ไ ปจดทะเบี ย นโอนที่ ดิ น
ราชการจังหวัดเทานั้ นที่สั่งเพิกถอนโฉนดที่ดินที่อ อก พิพาทใหแกจําเลยที่ 1 แมจ ะไดทําเปนหนังสือและจด
โดยไมชอบดวยกฎหมายได คูกรณีมีสิทธิดําเนินคดีทาง ทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ก็ตาม จําเลยที่ 1ก็ไมได
ศาลเพื่อ ใหศาลพิ พากษาหรือมี คําสั่งเพิ กถอนการออก กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาท ดังนั้นแมจําเลยที่ 4และที่ 5 ทํา
โฉนดที่ดินโดยไมชอบดวยกฎหมายได อีกทั้งตามคําขอ สั ญ ญาซื้ อ ขายที่ ดิ น พิ พ าทกั บ จํ า เลยที่ 1 โดยสุ จ ริ ต เสี ย
ทายฟอง โจทกขอใหเพิกถอนโฉนดที่ดินพิพาท มิไดมี คาตอบแทนและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ทั้งได
คําขอใหผูวาราชการจังหวัดเพิกถอนการออกโฉนดที่ดิน ชื่อในสารบัญจดทะเบียนโฉนดที่ดินพิพาทเปนชื่อของ
จึงมิใชคําขอที่บังคับแกบุคคลภายนอกที่มิไดเปนคูความ จํา เลยที่ 4และที่ 5 แล ว ก็ ต ามจํ า เลยที่ 4 และที่ 5 ก็ มิ ไ ด
ในคดี เปนกรณีขอใหศ าลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งเพิก กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทเพราะผูรับโอนยอมไมมีสิทธิ
ถอนการออกโฉนดที่ ดิน โจทก จึงมีอํานาจฟองไดเ อง ดีกวาผูโอน
โดยหาจําตองฟองผูวารากชารจังหวัดหรือ เจาหนาที่ที่
เกี่ยวของเปนคูความดวยไม คําพิพากษาฎีกาที่ 386/2541
โจทกผูเปนเจาของกรรมสิทธิ์ยอมมีสิทธิขอให
คําพิพากษาฎีกาที่ 9335/2539 พนักงานเจาหนาที่ผูมีอํานาจแกไขโฉนดที่ดินของโจทก
พ. และ อ. ขอออกโฉนดที่ดินของตนโดยนําชี้ ที่ไดออกไปโดยคลาดเคลื่อนใหถูกตองตามความเปน
รวมเอาที่ดินของ ก. เขาไปดวยโดยขณะนั้น พ. ยังคงทํา จริงไดโดยไมมีกําหนดอายุความ
นาในที่ดินพิพาทของ ก. ตางดอกเบี้ย ถือวา พ. ยึดถือที่ดิน
ไวแทน ก.แมจะนานเพียงใดก็ไมไดสิทธิครอบครองและ คําพิพากษาฎีกาที่ 79/2542
ถือ ว า โฉนดที่ ดิน ในส วนที่ อ อกทั บ ที่ ดิน พิ พ าทของ ก. คดีกอนโจทกฟองจําเลยที่ 1 กลาวหาวาจําเลย
เปนการออกโฉนดที่ไมชอบแมจะมีการโอนทะเบียนกี่ ที่ 1 นําเจาพนักงานรังวัดออกโฉนดที่ดินเลขที่ 8430 ทับ
ครั้งผูรับโอนก็ไมไดกรรมสิทธิ์เพราะผูขอออกโฉนดไม ที่ดินพิพาทของโจทก ศาลชั้นตนวินิจฉัยวา ที่ดินพิพาท
มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาท ผูรับโอนโฉนดตอมาแมจะ เปนของโจทก แตโจทกไมไดฟองขอใหเพิกถอนโฉนด
เสียคาตอบแทนโดยสุจริตและจดทะเบียนสิทธิโดยสุจริต กลับขอใหจําเลยที่ 1 โอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน จึงบังคับตาม
ก็ ไ ม มี สิ ท ธิ ดี ก ว า ผู โ อน จึ ง ชอบที่ ศ าลจะสั่ ง เพิ ก ถอน คําขอไมได พิพากษายกฟอง คดีถึงที่สุดแลว คดีนี้โจทก

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


288
และจําเลยที่ 1 เปนคูความในคดีกอน และประเด็นที่ตอง เปนการออกโฉนดที่ดินใหจําเลยที่ 1 โดยคลาดเคลื่อน
วินิจฉัยในคดีนี้กับคดีกอนมีเหตุอยางเดียวกัน คือโจทก พนั ก งานเจ า หน า ที่ ผู มี อํ า นาจสั่ ง เพิ ก ถอนโฉนดที่ ดิ น
ขอใหพิสูจนสิทธิในที่ดินพิพาทที่จําเลยที่ 1 นําไปออก พิพาทไดแกผูวาราชการจังหวัดตามประมวลกฎหมาย
โฉนดที่ดินเลขที่ 8430 วาเปนของโจทกหรือไม แมคดีนี้ ที่ดินฯ มาตรา 62 เมื่อโจทกมิไดฟองผูวาราชการจังหวัด
โจทกจะขอใหหามจําเลยที่ 1 มิใหเขามายุงเกี่ยวกับที่ดิน เปนจําเลย จึงพิพากษาใหผูวาราชการจังหวัดเพิกถอน
พิ พ าทของโจทก ต ลอดไปก็ ต าม แต ต ามคํ า ฟ อ งก็ ไ ม โฉนดที่ดินไมได
ปรากฏวาจําเลยที่ 1 ไดเขาไปยุงเกี่ยวกับที่ดินพิพาทอีก
ภายหลั ง จากศาลชั้ น ต น ได วิ นิ จ ฉั ย คดี ก อ นแล ว การที่ คําพิพากษาฎีกาที่ 7672/2544
โจทก ข อใหห า มจํ าเลยที่ 1มิ ใ ห เข าไปยุง เกี่ ย วกั บ ที่ ดิ น ก. ยกที่ ดิ น พิ พ าทให จํ า เลย จํ า เลยจึ ง ได สิ ท ธิ
พิพาท ยอมเปนการหามที่เกี่ยวเนื่องกับคดีกอน จึงเปน ครอบครองที่ดินพิพาท สวนที่จําเลยมิไดคัดคานในกรณี
ประเด็นที่ตองวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกันกับคดี ที่โจทกแจงการครอบครองที่ดิน ส.ค.1 ก็ดี หรือขอรังวัด
กอน ฟองโจทกคดีนี้จึงเปนฟองซ้ํา ตองหามตาม ป.วิ.พ. ออกโฉนดที่ดินทั้งแปลงรวมเอาที่ดินสวนที่พิพาทกันนี้
มาตรา 148 ไปดวยก็ดี อาจเปนไปไดวาจําเลยไมทราบเรื่องหรือไม
จํ า เลยที่ 2 ในฐานะผู ว า ราชการจั ง หวั ด เป น เขาใจ เพราะโจทกเปนผูครอบครองที่ดินสวนใหญและ
พนักงานเจาหนาที่มีอํานาจสั่งเพิกถอนโฉนดที่ดินที่ได เปนผูไปดําเนินการเองโดยไมบอกกลาวใหจําเลยทราบ
ออกโดยคลาดเคลื่อนหรือไมชอบดวยกฎหมายในเขต ถึงกระนั้นจําเลยก็ยังคงครอบครองที่ดินสวนที่พิพาทมา
จังหวัดตนตาม ป.ที่ดิน มาตรา 61 (2) เมื่อการเพิกถอน ตลอดจนถึงปจจุบัน การที่โจทกไปขอออกโฉนดที่ดิน
โฉนดที่ดินพิพาทอยูในอํานาจหนาที่ของจําเลยที่ 2 และ โดยรวมเอาที่ดินพิพาทเขาไปดวยนั้น หาเปนเหตุใหสิทธิ
โจทกมี ห นังสื อ ร อ งขอให จําเลยที่ 2ในฐานะพนัก งาน ของจํ า เลยเหนื อ ที่ ดิ น ส ว นที่ พิ พ าทที่ มี อ ยู แ ล ว โดย
เจาหนาที่สั่งเพิกถอนโฉนดที่ดินที่ออกทับที่ดินพิพาท สมบูรณเสียไปไม
ของโจทก แตจําเลยที่ 2 ไมดําเนินการให ยอมถือไดวา ที่จําเลยฟองแยงขอใหบังคับโจทกดําเนินการ
สิทธิของโจทกถูกจําเลยที่ 2 โตแยงแลวโจทกจึงมีอํานาจ เปลี่ ย นแปลงกรรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ ดิ น ให จํ า เลยเข า ชื่ อ ถื อ
ฟองจําเลยที่ 2 กรรมสิทธิ์รวมกับโจทกนั้น โจทกไมมีหนาที่ทางนิติกรรม
ในอันที่จะตองปฏิบัติตอจําเลย แตเมื่อขอเท็จจริงฟงได
คําพิพากษาฎีกาที่ 6597/2542 วาที่ดินเฉพาะสวนที่พิพาทคือสวนที่ขีดเสนสีเขียวตาม
ที่ดินพิพาทเปนที่ดินที่มีเอกสารสิทธิหนังสือ แผนที่พิพาทเปนของจําเลย การที่โจทกนําเจาพนักงาน
รับรองการทําประโยชน (น.ส.3 ก.) ผูมีชื่อในเอกสาร ที่ดินรังวัดออกโฉนดรวมเอาที่ดินสวนที่พิพาทกันนี้เขา
สิทธิจึงมีเพียงสิทธิครอบครอง แมการซื้อขายที่ดินพิพาท ไปด ว ย จึ ง เปน การไม ช อบ ศาลฎี ก ามี อํ า นาจเพิ ก ถอน
ระหว า งโจทก กั บ จํ า เลยที่ 1 จะไม ไ ด จ ดทะเบี ย นต อ โฉนดที่ดินเฉพาะสวนที่ทับที่ดินสวนที่พิพาทกันนี้เสีย
พนั ก งานเจ า หน า ที่ แต เ มื่ อ จํ า เลยที่ 1 ส ง มอบการ ไดตามประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 61 และเมื่อเปน
ครอบครองและโจทกเขาครอบครองทําประโยชนใน การออกโฉนดที่ดินโดยไมชอบแลว จําเลยจะขอใหใส
ที่ดินพิพาทแลว การซื้อขายยอมสมบูรณโดยการสงมอบ ชื่อจําเลยถือกรรมสิทธิ์รวมกับโจทกในโฉนดที่ดินที่ออก
การครอบครองหาตกเปนโมฆะไม โจทกยอมไดไปซึ่ง โดยไม ช อบหาได ไ ม เ ป น หน า ที่ ข องจํ า เลยที่ จ ะไป
สิท ธิค รอบครองในที่ดินพิพาทตามประมวลกฎหมาย ดําเนินการออกโฉนดที่ดินเองตามหลักเกณฑและวิธีการ
แพงและพาณิชย มาตรา 1378 ขณะออกโฉนดที่ดิน ที่กําหนดไวในประมวลกฎหมายที่ดินฯ
จําเลยที่ 1 ไมมีสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทแลว จึง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


289

คําพิพากษาฎีกาที่ 1642/2545 พ.ศ. 2428 ซึ่งเปนกฎหมายที่ใชบังคับขณะที่โจทกฟอง


คดีกอน ส. เปนโจทกฟองอธิบดีกรมที่ดินและ คดีนี้จะมีบทบัญญัติใหผูวาราชการจังหวัดเปนพนักงาน
เจาพนักงานที่ดิน โดยขอใหเพิกถอนโฉนดที่ดินเลขที่ เจาหนาที่มีอํานาจสั่งเพิกถอนโฉนดที่ดินสําหรับจังหวัด
15865 ซึ่งตอมาคูความในคดีดังกลาวตกลงประนีประนอม อื่น นอกจากกรุ ง เทพมหานครที่ อ อกโดยคลาดเคลื่ อ น
ยอมความกันได สวนคดีนี้โจทกมาฟองจําเลยในฐานะ หรือไมชอบดวยกฎหมายก็ตาม ก็เปนเพียงบทบัญญัติที่
ผูวาราชการจังหวัดโดยอางเหตุผลเดียวกันวา การออก กฎหมายประสงค จ ะกระจายอํ า นาจให ผู ว า ราชการ
โฉนดที่ดินเลขที่ 15865 ไมชอบดวยกฎหมายเพราะออก จังหวัดมีอํานาจสั่งเพิกถอนโฉนดไดดวยเทานั้น ไมได
ทับที่ดินของ ส. เมื่อโจทกฟองคดีนี้ในฐานะผูซื้อที่ดิน หามมิใหผูที่ไดรับความเสียหายจากการออกโฉนดที่ดิน
พิพาทจาก ส. โจทกจึงเปนผูสืบสิทธิในที่ดินพิพาทตอ ฟองกรมที่ดินแตอยางใด
จาก ส. ซึ่งเปนโจทกในคดีกอนอันเปนการฟองอธิบ ดี โจทก ใ นฐานะผู จั ด การมรดกของผู ต ายฟ อ ง
กรมที่ดินซึ่งเปนพนักงานเจาหนาที่ผูมีอํานาจสั่งเพิกถอน ขอใหเพิกถอนโฉนดที่ดินของจําเลยที่ 2 เลขที่ 3816 ใน
โฉนดที่ดินที่ออกโดยผิดพลาดคลาดเคลื่อนตามประมวล สวนรุกล้ําเขามาในโฉนดที่ดินพิพาทของผูตาย ตาม ป.
กฎหมายที่ดินฯ มาตรา 61 แมตอมามีการแกไขเพิ่มเติม ที่ดิน มาตรา 61 เปนการฟองคดีเพื่อเอาคืนซึ่งกรรมสิทธิ์
ใหผูวาราชการจังหวัดเปนพนักงานเจาหนาที่ผูมีอํานาจ ที่ดินของผูตาย ซึ่งไมมีกําหนดอายุความและไมอ ยู ใน
สั่งเพิกถอนโฉนดที่ดินที่ออกโดยผิดพลาดคลาดเคลื่อน บังคับของ ป.พ.พ. มาตรา 193/30 ดังนั้น แมจะเปนเวลา
เพิ่ ม ขึ้ น ก็ ต าม แต ก ารที่ โ จทก ฟ อ งจํ า เลยคดี นี้ ซึ่ ง เป น เกินกวา 10 ป โจทกก็มีอํานาจฟองจําเลยที่ 2 ได
พนั ก งานเจ า หน าที่ ต ามบทกฎหมายดั ง กล า ว ถื อ ได ว า
โจทก ฟ อ งพนั ก งานเจ า หน า ที่ ผู มี อํ า นาจสั่ ง เพิ ก ถอน คําพิพากษาฎีกาที่ 2599/2546
โฉนดที่ดินที่ออกโดยผิดพลาดคลาดเคลื่อนตามประมวล จําเลยไมมีสิทธิครอบครองที่ดิน การที่จําเลย
กฎหมายที่ดินฯ มาตรา 61 รายเดียวกันนั่นเองโจทกและ นําที่ดินที่อยูในความครอบครองของโจทกไปขอออก
จํ า เลยจึ ง เป น คู ค วามเดี ย วกั น และต อ งผู ก พั น ตามคํ า หนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส.3 ก.) จึงไมชอบ
พิพากษาตามยอมในคดีกอนตามประมวลกฎหมายวิธี ศาลมี อํ า นาจสั่ ง ให เ พิ ก ถอนได ต ามประมวลกฎหมาย
พิจารณาความแพง มาตรา 145 ดังนั้น การที่โจทกฟอง ที่ดิน มาตรา 61 และตราบใดที่หนังสือรับรองการทํา
จําเลยคดีนี้ในฐานะพนักงานเจาหนาที่ผูมีอํานาจสั่งเพิก ประโยชนยังไมถูกเพิกถอนยอมถือวาการละเมิดยังมีอยู
ถอนโฉนดที่ดินโดยอางวาโฉนดที่ดินเลขที่ 15865 ออก ฟองโจทกจึงไมขาดอายุความ
ทับที่ดินของ ส. อีก อันเปนเหตุอยางเดียวกันกับคดีกอน
ซึ่ ง มี คํ า วิ นิ จ ฉั ย มาแล ว จึ ง เป น ฟ อ งซ้ํ า ตามประมวล คําพิพากษาฎีกาที่ 3872/2543
กฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ ง มาตรา 148โจทก ไ ม มี จําเลยปลอมหนังสือมอบอํานาจของโจทกโดย
อํานาจฟอง ไมมีอํานาจกระทําการแทนโจทกเพื่อขายฝากที่ดินพรอม
บานของโจทก โจทกจึงมีอํานาจฟองขอใหเพิกถอนการ
คําพิพากษาฎีกาที่ 7344/2545 จดทะเบียนขายฝากที่ดินพรอมบานดังกลาวไดตาม ป.ที่ดิน
การออกโฉนดที่ดินเปนงานที่อยูในความดูแล มาตรา 61แต โ จทก ต อ งฟ อ งผู รั บ ซื้ อ ฝากซึ่ ง เป น
รับผิดชอบของกรมที่ดิน เมื่อโจทกเห็นวาการออกโฉนด บุคคลภายนอกและไดลาภงอกอันเนื่องจากนิติกรรมที่ได
ที่ดิน คลาดเคลื่อนหรือไมชอบดวยกฎหมาย โจทกยอมมี ทําการจดทะเบียนตามที่เจาพนักงานที่ดินดําเนินการจด
อํานาจฟองกรมที่ดินได แม ป.ที่ดินมาตรา 61 ที่แกไข ทะเบียนโดยไมชอบเขามาเปนจําเลยดวย มิฉะนั้นศาลก็
เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แกไขเพิ่มเติมโดย ป.ที่ดิน (ฉบับที่ 4)

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


290
ไมอาจพิพากษาใหเพิกถอนนิติกรรมการขายฝากที่ดิน ที่ดินพิพาทและโจทกไมมีสิทธิเรียกคาเสียหายตามฟอง
พรอมบานระหวางโจทกกับผูรับซื้อฝากได จากจําเลย
การไดสิทธิตาม ป.พ.พ. มาตรา 1299 วรรคสอง
คําพิพากษาฎีกาที่ 6387/2547 ตองเปนการไดสิทธิในที่ดินที่ไดจดทะเบียนแลว และ
ตาม ป.ที่ดิน มาตรา 61 วรรคแปดไดบัญญัติไว ที่ดิน ที่ไดนั้นตองเกิดจากเอกสารสิทธิของที่ดินที่ออก
ความวา ในกรณีที่ศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งถึงที่สุดให โดยชอบ คดีนี้โจทกจดทะเบียนรับโอนอาคารและที่ดิน
เพิกถอนหรือการแกไขการจดทะเบียนสิทธิหรือนิติกรรม โฉนดเลขที่ 24286 โดยไม มี เ จตนาซื้ อ ที่ ดิ น รวมไปถึ ง
เกี่ ย วกั บ อสัง หาริ ม ทรัพ ยอ ย างใดแลว ให เจ า พนั ก งาน ที่ดินพิพาท จําเลยจดทะเบียนรับโอนที่ดินรวมทั้งที่ดิน
ที่ดินดําเนินการตามคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นตามวิธีการ พิพ าทและจํ าเลย ครอบครองที่ดิ นพิพ าทตลอดมา แต
ที่อธิบดีกรมที่ดินกําหนด โจทกจึงสามารถนําสําเนาคํา การออกโฉนดที่ดินคลาดเคลื่อนไมตรงตามเจตนาของ
พิพากษาของศาลไปใหเจาพนักงานที่ดินจังหวัดชลบุรี ผูขอออกโฉนดที่ดินทําใหที่ดินพิพาทซึ่งตองอยูในโฉนด
ดําเนินการตามคําพิพากษาได และ ป.ที่ดิน มาตรา 62 ยัง ที่ดิน เลขที่ 24285 กลับไปอยูในโฉนดที่ดินเลขที่ 24286
ได บั ญ ญั ติ ไ ว อี ก ว า บรรดาคดี ที่ เ กิ ด ขึ้ น เกี่ ย วด ว ยเรื่ อ ง ของโจทก ดั งนี้ โจทกจะอางสิทธิใด ๆ ในที่ดินพิพาท
กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น ที่ ไ ด อ อกโฉนดที่ ดิ น แล ว เมื่ อ ศาล โดยอาศัยการออกโฉนดที่ดินเลขที่ 24286 ซึ่งคลาดเคลื่อน
พิ จ ารณาพิ พ ากษาถึ ง ที่ สุ ด แล ว ให ศ าลแจ ง ผลของคํ า ไปหาไดไม
พิพากษาอันถึงที่สุด หรือคําสั่งนั้นตอเจาพนักงานที่ดิน โฉนดที่ ดิ น เลขที่ 24286 ของโจทก ซึ่ ง รุ ก ล้ํ า
แห ง ท อ งที่ ซึ่ ง ที่ ดิ น นั้ น ตั้ ง อยู ด ว ย ดั ง นั้ น จึ ง ไม มี ค วาม ที่ ดิ น พิ พ าทของจํ า เลยออกโดยคลาดเคลื่ อ น ศาลจึ ง มี
จําเปนที่ศ าลจะตอ งบังคับใหจําเลยที่ 3 ไปจดทะเบีย น อํานาจพิพากษาใหเพิกถอนโฉนดที่ดินของโจทกในสวน
แกไขรายการสารบาญจดทะเบียนทายโฉนดที่ดินพิพาท ที่ออกโดยคลาดเคลื่อนนั้นได ตาม ป.ที่ดิน มาตรา 61 แม
ใหปลดจากการจํานอง หรือใหถือเอาคําพิพากษาแทน จําเลย จะมิไดขอใหศาลเพิกถอนก็ตาม เนื่องจาก มาตรา
การแสดงเจตนาของจําเลยที่ 3 อีก 61 วรรคแปด บัญญัติรองรับวา ในกรณีที่ศาลมีคําพิพากษา
หรือคําสั่งถึงที่สุดใหเพิกถอนหรือแกไขอยางใดแลว ให
คําพิพากษาฎีกาที่ 1564/2548 เจาพนักงานที่ดินดําเนินการตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง
การออกโฉนดที่ ดิ น เลขที่ 24285 ถึ ง 24289 นั้ น ตามวิ ธี ก ารที่ อ ธิ บ ดี กํ า หนด และเมื่ อ ความใน
ผิดพลาดคลาดเคลื่อนไป ทําใหที่ดินพิพาทซึ่งตองอยูใน มาตรา 61 วรรคแปด ดังกลาวบัญญัติถึงกรณีที่ศาลมีคํา
โฉนดที่ดินเลขที่ 24285 ของจําเลยล้ําเขาไปอยูในโฉนด พิพากษาถึงที่สุด ใหเพิกถอนหรือแกไขโฉนดที่ดินโดย
กําหนดวิธีการใหเจาพนักงานที่ดินตองดําเนินการตามคํา
ที่ ดิ น เลขที่ 24286 ของโจทก โจทก มี เ จตนาซื้ อ อาคาร
พิพากษานั้นอยางไร ซึ่งจําเลยสามารถนําคําพิพากษาอัน
เลขที่ 56/56 และ ที่ดิ น ซึ่ งเป น ที่ตั้ ง ของอาคารดั ง กล า ว
โดยไมรวมถึงที่ดินพิพาท โดยโจทกไดใชผนังดานขาง ถึงที่สุดไปดําเนินการใหไดรับผลตามคําพิพากษาได จึง
ของอาคารเลขที่ 56/56 กั บ รั้ ว ที่ ส ร า งต อ จากแนวผนั ง ไมจําตองอาศัยคําพิพากษาบังคับโจทกใหไปดําเนินการ
ด า นข า งของอาคารกั้ น ระหว า งอาคารเลขที่ 56/56 กั บ ขอรังวัดแบงแยกโฉนดที่ดินอีก
จําเลยและจําเลยรวมยื่นอุทธรณมาในคําฟอง
ที่ ดิ น พิ พ าทซึ่ ง จํ า เลยปลู ก ต น ไม ป ระดั บ ไว โจทก จ ด
อุ ท ธรณ ฉ บั บ เดี ย วกั น และเสี ย ค า ขึ้ น ศาลชั้ น อุ ท ธรณ
ทะเบียนรับโอนอาคารและที่ดินซึ่งเปนที่ตั้งอาคารโดย
ไม มี เ จตนาซื้ อ ที่ ดิ น พิ พ าท ทั้ ง ไม เ คยครอบครองทํ า รวมกัน แมศาลอุทธรณภาค 2 ไมรับวินิจฉัยอุทธรณของ
ประโยชนในที่ดินพิพาทมากอน จึงไมไดกรรมสิทธิ์ใน จําเลยรวม เพราะยื่นเมื่อพนกําหนดระยะเวลาอุทธรณ แต

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


291
ศาลอุทธรณภาค 2 ไดรับวินิจฉัยอุทธรณของจําเลยแลวจึง คําพิพากษาฎีกาที่ 2144/2537
ไมมีคาขึ้นศาลชั้นอุทธรณที่ตองคืนใหแกจําเลยรวม เดิ ม ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ของ ธ. มี เ อกสารสิ ท ธิ
สําหรับที่ดินเปนหนังสือรับรองการทําประโยชน ตอมา
คําพิพากษาฎีกาที่ 3487/2551 ธ. ขอออกเปนโฉนดที่ดิน แลว ธ. นําที่ดินพิพาทไปจด
จําเลยที่ 3 แจงขอใบจับจองที่ดินพิพาทใน ทะเบียนจํานองเปนประกันหนี้แกธนาคาร สวนจําเลยได
ระหวางเวลาที่โจทกและจําเลยที่ 3 ยังเปนสามีภริยากัน ฟอง ธ. ใหชําระหนี้ตามเช็ค และธนาคารก็ฟอง ธ.ให
นับวาที่ดินพิพาทเปนสินสมรสแลว ถือไดวาโจทกมี ชําระหนี้กับมีคําขอใหบังคับจํานองหลังจากที่จําเลยชนะ
สิทธิเปนเจาของรวมอยูดวย การที่จําเลยที่ 3 ตกลงยก คดี แ ล ว จํ า เลยนํ า ยึ ด ที่ ดิ น พิ พ าทตามหลั ก ฐานใบแทน
ที่ ดิ น พิ พ าทให แ ก โ จทก เ พี ย งฝ า ยเดี ย วเพื่ อ การแบ ง หนังสือรับรองการทําประโยชน จําเลยซื้อที่ดินพิพาท
ทรั พ ย สิ น ย อ มกระทํ า ได ห าได ขั ด ต อ บทบั ญ ญั ติ แ ห ง จากการขายทอดตลาดในคดีที่จําเลยนํายึด ศาลชั้นตนมี
พ.ร.บ. ใหใช ป.ที่ดิน ฯ มาตรา 8 วรรคสอง ที่ระบุให คําสั่งใหจําเลยโอนที่ดินพิพาทใหแ กจําเลยผูซื้อทรัพย
โอนไดแตเฉพาะทายาทผูรับโอนทางมรดกไมขอตกลง ต อ มาโจทกซื้อ ที่ดิ นพิพาทจากการขายทอดตลาดตาม
แบงทรัพยที่จําเลยที่ 3 ทําตอโจทกเกี่ยวกับที่ดินพิพาท คําสั่งศาลชั้นตนในคดีที่ธนาคารบังคับจํานองดังนี้ เมื่อ
จึงไมตกเปนโมฆะ ในวันที่เจาพนักงานจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทใหแ ก
แมจําเลยที่ 3 มีชื่อในใบจอง แตจําเลยที่ 3 ยาย จําเลยผูซื้อทรัพยจากการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาล
ไปทํากินอยูอีกตําบลหนึ่งไมไดทําประโยชนในที่ดิน ตามใบแทนหนั ง สื อ รั บ รองการทํ า ประโยชน สํ า หรั บ
พิพาทแลว ดังนั้น การออกโฉนดที่ดินพิพาทแกจําเลยที่ 3 ที่ดินพิพาทนั้น ธ.เจาของที่ดินพิพาทตามใบแทนหนังสือ
จึงเปนการไมชอบตาม ป.ที่ดิน มาตรา 58 ทวิ และเมื่อ รับ รองการทํ า ประโยชน นั้ น ไดไ ปขอออกโฉนดที่ ดิ น
การออกโฉนดที่ ดิ น ไม ช อบ ศาลมี อํ า นาจเพิ ก ถอน แปลงดังกลาวที่สํานักงานที่ดินจังหวัดกอนแลว ยอมมี
โฉนดที่ดินพิพาทเสียไดตาม ป.ที่ดิน มาตรา 61 วรรคแปด ผลใหหนังสือรับรองการทําประโยชนที่ดินพิพาทรวม
ตลอดไปถึงใบแทนหนังสือรับรองการทําประโยชนซึ่ง
มาตรา 63 เปนเอกสารสิทธิสําหรับที่ดินพิพาทเปนอันยกเลิกไป แม
คําพิพากษาฎีกาที่ 2342/2526 จําเลยจะไดจดทะเบียนรับโอนที่ดินพิพาทจากการซื้ อ
ทรัพยสินในการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาลโดยสุจริตก็
สิทธิของผูซื้อที่พิพาทจากการขายทอดตลาด
หามีผลบังคับแกที่ดินพิพาทไม และไมมีผลผูกพันตาม
ตามคําสั่งศาลโดยสุจ ริตยอมไมเสียไป แมภายหลังจะ
กฎหมายจําเลยจึงไมไดสิทธิในที่ดินพิพาท
พิสูจนไดวาทรัพยสินนั้นมิใชของจําเลยหรือลูกหนี้ตาม
คํ า พิ พ ากษาตามประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย
มาตรา 1330 และแมผูรองยึดถือ น.ส.3 ก. สําหรับที่ดิน คําพิพากษาฎีกาที่ 1238/2538
ดังกลาวโดยชอบ เมื่อไมยอมมอบตอศาล ศาลก็มีอํานาจ จํ า เลยที่ 1อยู ใ นที่ ดิ น พิ พ าทมาก อ นโจทก รั บ
สั่งใหนายอําเภอออกใบแทน น.ส.3 ก. สําหรับที่พิพาท โอนแตก็อยูในฐานะผูอาศัยและไดรับอนุญาตจากโจทก
เพื่อจดทะเบียนโอนสิทธิในที่ดินใหแกผูซื้อจากการขาย ใหอยูตอเทานั้นแมศาลชั้นตนในคดีอื่นจะไดมีคําสั่งให
ทอดตลาดตามคําสั่งศาลได ที่ ดิ น พิ พ าทเป น กรรมสิ ท ธิ์ ข องจํ า เลยที่ 1โดยการ
ครอบครองปรปกษแตคําสั่งศาลก็ไมผูกพันโจทกซึ่งเปน
บุ ค คลภายนอกเมื่ อ โจทก พิ สู จ น ไ ด ว า ไม ไ ด ล ะทิ้ ง การ
ครอบครองและมีสิทธิดีกวาจําเลยที่1ที่ดินพิพาทจึงยัง
เปนกรรมสิทธิ์ของโจทกแมเจาพนักงานที่ดินจะยกเลิก

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


292
โฉนดที่ดินและออกใบแทนโฉนดที่ดินใหจําเลยที่1ใหม เปนบทกําหนดวิธีการและขั้นตอนให ผูยื่นคําขอรังวัด
แตโฉนดที่ดินเปนเพียงเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในตัว ตองปฏิบัติกอนจึงจะฟองคดีไดไม และไมมีผลทําใหการ
ทรัพยเทานั้นการที่เจาพนักงานที่ดินออกใบแทนโฉนด ถูกจําเลยโตแยงสิทธิของโจทกตามความจริงไมเกิดขึ้น
ที่ ดิ น ให ใ หม ก็ เ ป น ไปตามคํ า สั่ ง ศาลไม มี ผ ลกระทบ หรือหมดไป โจทกจึงมีอํานาจฟอง
กระเทื อ นหรื อ เปลี่ ย นแปลงกรรมสิ ท ธิ์ ข องโจทก แ ม คําขอทายฟองที่ขอใหจําเลยถอยรนแนวเขต
จําเลยที่2จะอางวาซื้อที่ดินพิพาทมาโดยเสียคาตอบแทน ที่ดินของจําเลยออกไปจากที่ดินโจทกและหามจําเลยเขา
และจดทะเบียนโดยสุจริตจําเลยที่ 2 ก็ไมไดกรรมสิทธิ์ เกี่ยวของนั้น ถือไดวาเปนคําขอใหจําเลยรับรองแนวเขต
เพราะผูรับโอนยอมไมมีสิทธิดีกวาผูโอน ที่ดินโจทกศาลจึงพิพากษาใหจําเลยรับของแนวเขตที่ดิน
โจทกได
คําพิพากษาฎีกาที่ 243/2539
โจทกไมมีพยานยืนยันวาจําเลยที่2และที่5รูอยู มาตรา 72
ก อ นแล ว ว า จํ า เลยที่ 1มิ ไ ด ชื่ อ ป. และมิ ไ ด เ ป น เจ า ของ คําพิพากษาฎีกาที่ 3661/2525
ที่ดินซึ่งมีชื่อ ป. เปนผูถือกรรมสิทธิ์ตามโฉนดทั้งโฉนด แมขอเท็จจริงจะฟงไดวา โจทกครอบครองนา
ที่ ดิ น ดั ง กล า วมิ ไ ด สู ญ หายไปแล ว ยั ง แจ ง ข อ ความเท็ จ พิพาทแทน ซ. มาโดยตลอดแตการที่โจทกโตแยงวานา
ดังกลาวให ฉ. ซึ่งเปนเจาพนักงานที่ รับ เรื่องราวคําขอ พิพาทเป นของโจทก กอ นที่ ซ. จะขายนาพิพาทใหแ ก
ออกใบแทนโฉนดที่ดินจดลงไวในบันทึกถอยคําในการ จําเลยและเมื่อ ซ. ขายนาพิพาทใหจําเลยแลว โจทกไดมา
ขอออกใบแทนโฉนดที่ดินแทน ป. จึงฟงไมไดวาจําเลยที่ คัดคานการขายตอพนักงานเจาหนาที่อีก ยอมถือไดวา
2และที่ 5เจตนาแจ ง ให เ จ า พนั ก งานผู ก ระทํ า การตาม โจทกโจทกเปลี่ยนลักษณะแหงการยึดถือนาพิพาทจาก
หนาที่จดขอความอันเปนเท็จลงในเอกสารราชการซึ่งมี เจตนายึดถือ แทน ซ. มาเป นยึดถื อ เพื่อ ตน โจทกจึงได
วัตถุประสงคสําหรับใชเปนพยานหลักฐานตามประมวล สิทธิครอบครองนาพิพาทนั้น
กฎหมายอาญามาตรา267 เมื่อ ซ.และจําเลยซึ่งเปนผูรับโอนสิทธิจาก ซ.
ไมไดฟองคดีเพื่อเอาคืนมาซึ่งการครอบครองภายใน 1 ป
มาตรา 69 ทวิ นับแตถูกแยงการครอบครองจึงหมดสิทธิฟองคดีเพื่อเอา
คําพิพากษาฎีกาที่ 5244/2545 คืนมาซึ่งการครอบครองในนาพิพาทนั้น
คําขอทายฟองที่ขอใหเพิกถอนชื่อจําเลยออก
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 69 ทวิ วรรคหา
จาก น.ส.3 ก ของนาพิพาทแลวใสชื่อโจทกแทนนั้น ศาล
ใหอํานาจเจาพนักงานที่ดินสอบสวนไกลเกลี่ยเพื่อให
พิพากษาใหไมได เพราะจําเลยไมมีหนาที่ในทางนิติกรรม
การรังวัดสอบเขตและการออกโฉนดตามแนวเขตที่รังวัด
แตอยางใด ที่จะตองไปใสชื่อโจทกหรือยินยอมใหใสชื่อ
ใหม ซึ่ ง เปลี่ ย นไปสามารถดํ า เนิ น การต อ ไปได เ พื่ อ
โจทก ล งใน น.ส.3 ก ดั ง กล า ว เป น หน า ที่ ข องโจทก ที่
ประโยชนแกคูกรณีที่จะไดทราบแนวเขตที่แทจริงตามที่
จะตองไปดําเนินการออก น.ส.3 ก ของโจทกเอง
ตกลงกัน และถาไกลเกลี่ยแลวไมสามารถตกลงกันไดก็
แจงใหคูกรณีไปฟองภายใน 90 วัน ถาไมมีการนําคดีไป
ฟ อ งภายในกํ า หนดดั ง กล า วเพี ย งถื อ ว า ผู ข อสอบเขต คําพิพากษาฎีกาที่ 9375/2539
โฉนดที่ดิ น ไมป ระสงค จ ะให ดํ า เนิ น การตามคํา ขออี ก โจทก ไ ด รั บ โอนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น พิ พ าทจาก
ตอไป และทําใหเจาพนักงานที่ดินมีอํานาจที่จะไมรังวัด จําเลยที่ 6โดยจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ถูกตอง
สอบเขตที่ ดินตอไปไดโ ดยไมมีค วามผิดเทานั้น หาใช สั ญ ญาให ที่ ดิ น โจทก จึ ง เป น ผู มี ก รรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ ดิ น
พิ พ าท แม โ ฉนดที่ ดิ น พิ พ าทที่ โ จทก ไ ด รั บ มาจาก

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


293
พนักงานเจาหนาที่ของจําเลยที่ 7 จะเปนโฉนดที่ดิน แมจําเลยที่ 3 จะซื้อที่พิพาทมาโดยจดทะเบียน
ปลอมแตเมื่อโฉนดที่ดินฉบับหลวงระบุวาโจทกเปนผูมี โอนกรรมสิทธิ์กันทางทะเบียนและเสียคาตอบแทนโดย
กรรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ ดิ น พิ พ าท ดั ง นั้ น กรรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ ดิ น สุจริตก็ตาม แตโจทกก็รับซื้อทรัพยสินดังกลาวไวจาก
พิพาทยอมเปนของโจทกตามกฎหมาย การที่บุคคลอื่น จําเลยที่ 3 โดยสุจ ริตเชนกัน เมื่อ กรมที่ดินสั่งเพิก ถอน
ซึ่งไมมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทปลอมเปนโจทกไปจด การจดทะเบียนที่พิพาทและโฉนดที่พิพาท เปนเหตุให
ทะเบียนโอนที่ดินพิพาทใหแกจําเลยที่ 1 แมจะไดทําเปน กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นกลับคืนไปยังเจาของที่แทจริง
หนั ง สื อ และจดทะเบี ย นต อ พนั ก งานเจ า หน า ที่ ก็ ต าม กรณีเชนนี้ถือวา โจทกถูกรอนสิทธิ์ จําเลยที่ 3 จะตองรับ
จํ า เลยที่ 1ก็ ไ ม ไ ด ก รรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ ดิ น พิ พ าท ดั ง นั้ น แม ผิ ด ต อ โจทก ต ามประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย
จําเลยที่ 4และที่ 5 ทําสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทกับจําเลย มาตรา 479
ที่ 1 โดยสุจริตเสียคาตอบแทนและจดทะเบียนตอ
พนักงานเจาหนาที่ ทั้งไดชื่อในสารบัญจดทะเบียนโฉนด คําพิพากษาฎีกาที่ 3444/2533
ที่ ดิ น พิ พ าทเป น ชื่ อ ของจํ า เลยที่ 4และที่ 5 แล ว ก็ ต าม ที่ดินพิพาทเปนที่ดินที่มีหนังสือรับรองการทํา
จําเลยที่ 4 และที่ 5 ก็มิไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทเพราะ ประโยชน (น.ส.3) ซึ่งมีขอกําหนดหามผูมีสิทธิในที่ดิน
ผูรับโอนยอมไมมีสิทธิดีกวาผูโอน โอนที่ ดิ น ไปยั ง ผู อื่ น ภายใน 10 ป นั บ แต วั น ที่ ท าง
ราชการออกหนังสือรับรองการทําประโยชนใหเปนตน
มาตรา 73 ไป นอกจากตกทอดทางมรดกตามประมวลกฎหมาย
คําพิพากษาฎีกาที่ 926/2530 ที่ดิน พ.ศ. 2497 มาตรา 31 การที่จําเลยไดที่ดินพิพาทมา
ผู รั บ มอบอํ า นาจตายก อ นจดทะเบี ย นโอน โดยทางมรดก และทําสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทใหแ ก
กรรมสิ ท ธิ์ หนั ง สื อ มอบอํ า นาจย อ มระงั บ สิ้ น ไปหรื อ โจทกในระหวางระยะเวลาหามโอนดังกลาว โดยไดรับ
หมดสภาพไปตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิช ย เงินกับมอบที่ดินพิพาทใหโจทกครอบครองแลว แมมี
มาตรา 826 จําเลยรวมซึ่งเปนเจาพนักงานที่ดินทราบแลว ขอตกลงวาจําเลยจะจดทะเบียนโอนที่ดินดังกลาวใหแก
ว า ผู ม อบอํ า นาจตายแต ยั ง ดํ า เนิ น การจดทะเบี ย นโอน โจทก เมื่อจําเลยประกาศรับมรดกเสร็จแลวก็ตาม ก็ถือ
กรรมสิทธิ์ในที่ดินจนเสร็จสิ้น กอใหเกิดความเสียหาย ไดวาเปนสัญ ญาที่มีวัตถุประสงค ตองหามชัด แจงโดย
แก โ จทก การกระทํ า ของจํ า เลยร ว มเป น การปฏิ บั ติ กฎหมาย ตกเป น โมฆะ โจทก จึ ง ไม มี อํ า นาจฟ อ งให
ราชการในหน า ที่ ฝ า ฝ น กฎหมายเป น การละเมิ ด ต อ จําเลยปฏิบัติตามสัญญาดังกลาว
โจทก เมื่อ จําเลยรวมเปนขาราชการในสังกัดของกรม
ที่ดินจําเลยที่ 1 ทําละเมิดในการปฏิบัติหนาที่เปนเหตุให คําพิพากษาฎีกาที่ 380/2536
โจทกเสียหาย จําเลยที่ 1 ยอมตองรวมรับผิดดวยตาม แม จ ะรั บ ฟ ง ตามที่ โ จทก นํ า สื บ ว า โจทก ซื้ อ
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 76 ที่ ดิ น พิ พ าทจากจํ า เลยแต เ มื่ อ ขณะทํ า การซื้ อ ขายที่ ดิ น
กรมที่ดินยอมมีอํานาจสั่งเพิกถอนและแกไข พิ พ าทยั ง อยู ใ นระยะเวลาห า มโอนที่ ดิ น พิ พ าทภายใน
รายการจดทะเบียนที่ดินและโฉนดที่ดินซึ่งเจาพนักงาน กําหนดสิบปนับแตวันที่จําเลยไดรับหนังสือรับรองการ
ที่ดินจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และแบงแยกโฉนดโดยมิ ทําประโยชนสําหรับที่ดินพิพาท ตามประมวลกฎหมาย
ชอบ โดยอาศัยหนังสือมอบอํานาจที่ระงับสิ้นไปแลว ที่ดินมาตรา 58 ทวิ การซื้อขายที่ดินพิพาทระหวางโจทก
เพราะผูมอบอํานาจตายไดตามประมวลกฎหมายที่ดิน จําเลยและการที่จําเลยสงมอบการครอบครองที่ดินพิพาท
มาตรา 61 ใหโจทกยอมตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมายที่ดิน
มาตรา 58 ทวิ ประกอบดวยประมวลกฎหมายแพงและ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


294
พาณิชย มาตรา 113 แมโจทกจะครอบครองที่ดินพิพาท การโอนสิ ท ธิในที่ ดิน โดยการสง มอบการครอบครอง
มานานเพียงใดก็ไมไดสิท ธิครอบครอง ที่ดินพิพาทยัง ใหแกกันภายในกําหนดระยะเวลาหามโอนตามกฎหมาย
เปนของจําเลยอยู เปนนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจง
โดยกฎหมาย ตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมายแพง
คําพิพากษาฎีกาที่ 2155/2537 และพาณิชยมาตรา 113 เดิม (มาตรา 150 ที่แ กไขใหม)
โจทก เป นผูค รอบครองและทําประโยชนใน แมพนกําหนดหามโอนสิบปแลวสัญญาซื้อขายดังกลาว
ที่ดินซึ่งมีขอกําหนดหามโอนภายใน 10 ป นับแตวันที่ 4 ก็ ไ ม มี ผ ลบั ง คั บ โจทก จึ ง ไม มี สิ ท ธิ ค รอบครองที่ ดิ น
เมษายน 2522 ตามมาตรา 58 ทวิแหงประมวลกฎหมาย พิพาทดีกวาจําเลย
ที่ดินไดทําสัญญาจะขายที่ดินดังกลาวใหแกจําเลยโดยตก
ลงจะชําระคาที่ดินสวนที่เหลือและสงมอบที่ดินใหใน คําพิพากษาฎีกาที่ 125/2538
วั น ที่ 5 กั น ยายน 2531 ภายในกํ า หนดห า มโอนตาม พินัยกรรมแบบเอกสารฝายเมืองยกที่ดินพิพาท
บทบัญญัติดังกลาว จึงเปนนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคเปน ใหแกจําเลยทําขึ้นเพื่ออําพรางสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาท
การตองหามชัดแจงโดยกฎหมายสัญญาจะซื้อขายที่ดิน พินัย กรรมซึ่งเปนนิ ติกรรมอั น แรกยอ มเปน การแสดง
พิพาทยอมตกเปนโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 113 (มาตรา เจตนาลวงดวยสมรูระหวางคูกรณีที่จะไมผูกพันกันตาม
150 ที่แกไขใหม) คูสัญญาจึงตองกลับคืนสูฐานะเดิมโดย เจตนาที่แสดงออกมานั้นจึงยอมตกเปนโมฆะ ตาม ป.พ.พ.
ถื อ เสมื อ นหนึ่ ง ว า ไม มี ก ารทํ า สั ญ ญาจะซื้ อ ขายที่ ดิ น มาตรา 155 วรรคแรก สวนนิติกรรมอันหลังคือสัญญา
กั น จํ า เลยตอ งคืน หนั ง สือ รับ รองการทํา ประโยชน ใ ห ซื้อขายที่ถูกอําพรางไวโดยพินัยกรรมซึ่งเปนนิติกรรมอัน
โจทก และโจทกก็ไมมีสิทธิริบเงินที่รับไว แรก ตองบังคับตามบทบัญญัติของกฎหมายอันเกี่ยวกับ
นิติกรรมที่ถูกอําพราง ตาม ป.พ.พ. มาตรา 155วรรคสอง
คําพิพากษาฎีกาที่ 5083/2537 เมื่อที่ดินพิพาทมีขอกําหนดหามโอนภายใน 10 ป ตาม
จําเลยซื้อที่ดินพิพาทซึ่งเปนที่ดินบางสวนของ ป.ที่ ดิ น มาตรา58 ทวิ และการโอนได ก ระทํ า ภายใน
ที่ดินที่มีขอกําหนดหามโอนไปยังผูอื่นภายใน 10 ปจาก กําหนดเวลาดังกลาว ถือไดวาสัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทมี
โจทก แมโจทกจะไดสละการครอบครองและมอบที่ดิน วัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย จึงตก
พิ พ าทให จํ า เลยครอบครอง ทั้ ง มี ข อ ตกลงว า จะจด เปนโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 150
ทะเบียนโอนที่ดินใหจําเลยเมื่อพนกําหนดหามโอนแลว ก็
เปน การซื้ อ มาและเขา ครอบครองภายในกํา หนดเวลา คําพิพากษาฎีกาที่ 3978/2539
หามโอน เปนนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคตองหามชัดแจง จําเลยทราบดีวาที่ดินพิพาทและทรัพยสินอื่นที่
โดยกฎหมาย ตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมายแพง เปนของผูเสียหายแตอางวาซื้อมาจาก ธ. ซึ่งอางวาเปน
และพาณิชย มาตรา 113 จําเลยจึงไมมีสิทธิอยูในที่พิพาท เจาของเปนการกลาวอางลอย ๆ ไมมีพ ยานสนับ สนุน
และมิไดมีการตรวจสอบขอเท็จจริงดังกลาวอยางจริงจัง
คําพิพากษาฎีกาที่ 6132/2537 อันเปนการผิดปกติวิสัยและที่จําเลยอางวาผูเสียหายทิ้ง
ที่ดินพิพาทมีขอบังคับหามโอนภายใน 10 ป รางไวไมไดทําประโยชนจําเลยจึงเขายึดถือครอบครอง
นับแตวันที่จําเลยไดรับหนังสือรับรองการทําประโยชน ทํานากุงนั้นก็ไดความวาที่ดินพิพาทมีเนื้อที่ถึง 247 ไร
ตามประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 31จําเลยจึงไมอาจ เศษ มีราคาประเมินถึง 14 ลานบาทถาเปนราคาซื้อขาย
สละหรื อ โอนการครอบครองที่ ดิ น ตามสั ญ ญาซื้ อ ขาย ทั่ว ๆ ไปจะตกราคาไรละ2ลานที่ดินพิพาทจึงมีราคาซื้อ
ใหแกโจทกได การที่โจทกจําเลยทําสัญญาอันมีผลเปน ขายเกือบ 500 ลานบาท อันมิใชเล็กนอยมีถนนสุขุมวิท

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


295
เขาสูที่ดินพิพาทมีรั้วลวดหนามลอม3ดานดานติดทะเลมี โอนใหโจทกไมได เพราะจําเลยจํานองที่ดินพิพาทไวกับ
เขื่อนคอนกรีตภายในมีสํานักงานและอาคารเก็บรักษา ธนาคารซึ่งไมยอมสงโฉนดที่ดินมาใหเชนนี้โจทกจะรอง
ทรั พ ย เ จ า ของทรั พ ย เ ป น รั ฐ บาลต า งประเทศให ส ถาน ขอให ศ าลในคดี เ ดิ ม มี คํ า สั่ ง ให เ จ า พนั ก งานที่ ดิ น จด
เอกอัครราชทูตของตนดูแลโดยสถานะของเจาของและ ทะเบียนโอนใหโดยไมตองมีโฉนดคูฉบับมาแสดงหาได
สภาพของทรัพยดังกลาวเพียงพอที่จะฟงไดวาผูเสียหาย ไมเพราะเจาพนักงานที่ดินเปนบุคคลภายนอกและกรณี
ยัง ครอบครองอยู ไม ไดทิ้งรางดังจําเลยอาง พ. ซึ่งเปน ไม ต อ งด ว ยข อ ยกเว น ที่ ใ ห คํ า พิ พ ากษามี ผ ลผู ก พั น
ผูดูแลที่ดินและทรัพยสินของผูเสียหายแจงใหจําเลยออก บุคคลภายนอกไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา145 หากโจทกเห็น
จากที่ดินแตจําเลยไมยอมกลับพาพวกใชอาวุธปนขูเข็ญ ว า การที่ เ จ า พนั ก งานที่ ดิ น ไม ก ระทํ า การตามที่ โ จทก
ให พ. ออกไปจากที่ ดิ น ต อ มา อ. นายอํ า เภอซึ่ ง ได รั บ ประสงค นั้น ไมช อบด ว ยกฎหมายและเป น การโต แ ย ง
มอบหมายจากผูเสียหายใหจําเลยออกจําเลยไมยอมกลับ สิทธิของโจทกก็ชอบที่โจทกจะดําเนินการวากลาวกับ
อางสิท ธิค รอบครองเหตุดังกลาวยอ มแสดงใหเห็นถึง เจาพนักงานที่ดินตามกฎหมายตอไป
เจตนาบังอาจของจําเลยไดเมื่อจําเลยกระทําไปโดยเจตนา
ก็ ต อ งมี ค วามผิ ด ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา มาตรา 77
365(1)(2) ประกอบดวยมาตรา 362 และ 364 การที่จําเลย
คําพิพากษาฎีกาที่ 926/2530
ทราบดีอยูแลววาที่ดินพิพาทและทรัพยสินอื่นเปนของ
ผู รั บ มอบอํ า นาจตายก อ นจดทะเบี ย นโอน
ผูเสียหายผูเสียหายยังครอบครองมิไดทิ้งราง แตจําเลยยัง
กรรมสิทธิ์ หนังสือมอบอํานาจยอมระงับสิ้นไปหรือ
ขื น ไปยื่ น คํ า ขอต อ ทางราชการเพื่ อ ให ไ ด ม าซึ่ ง สิ ท ธิ
หมดสภาพไปตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิช ย
ครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย
มาตรา 826 จําเลยรวมซึ่งเปนเจาพนักงานที่ดินทราบแลว
มาตรา 1367 ผูเสียหายคัดคานไมยอมใหเขาไปในที่ดิน
ว า ผู ม อบอํ า นาจตายแต ยั ง ดํ า เนิ น การจดทะเบี ย นโอน
จึ ง ไม ส ามารถรั ง วั ด ตรวจสอบได จํ า เลยได ใ ห ถ อ ยคํ า
กรรมสิทธิ์ในที่ดินจนเสร็จสิ้น กอใหเกิดความเสียหาย
ยืนยันตามคําขอซึ่งเจาพนักงานผูกระทําการตามหนาที่
แกโจทก การกระทําของจําเลยรวมเปนการปฏิบัติราชการ
ไดบันทึกขอความไวในบันทึกถอยคํา (ท.ด. 16) อันเปน
ในหน า ที่ ฝ า ฝ นกฎหมายเป น การละเมิ ด ตอ โจทก เมื่ อ
เอกสารราชการซึ่งมีสาระสําคัญวาที่ดินพิพาทเปนของ
จําเลยรวมเปนขาราชการในสังกัดของกรมที่ดินจําเลยที่ 1
ผูเสียหายผูเสียหายทิ้งรางไวไมไดทําประโยชนจําเลยเขา
ทําละเมิดในการปฏิบัติหนาที่เปนเหตุใหโจทกเสียหาย
ยึดถือครอบครองทําประโยชนมานานขอใหเจาพนักงาน
จําเลยที่ 1 ยอมตองรวมรับผิดดวยตามประมวลกฎหมาย
เจ า หน า ที่ ดํ า เนิ น การจดทะเบี ย นสิ ท ธิ ไ ด ม าโดยการ
แพงและพาณิชย มาตรา 76
ครอบครองอันเปนเท็จซึ่งจําเลยมีวัตถุประสงคสําหรับ
กรมที่ดินยอมมีอํานาจสั่งเพิกถอนและแกไข
ใชเ ปน พยานหลั ก ฐานในการที่ จํา เลยจะไดม าซึ่ง สิท ธิ
รายการจดทะเบียนที่ดินและโฉนดที่ดินซึ่งเจาพนักงาน
ครอบครองในที่ดินพิพาทอันนาจะเกิดความเสียหายแก
ที่ดินจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และแบงแยกโฉนดโดย
ผู เ สี ย หายการกระทํ า ของจํ า เลยจึ ง เป น ความผิ ด ตาม
มิชอบ โดยอาศัยหนังสือมอบอํานาจที่ระงับสิ้นไปแลว
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 267
เพราะผูมอบอํานาจตายไดตามประมวลกฎหมายที่ดิน
มาตรา 61 แมจําเลยที่ 3 จะซื้อที่พิพาทมาโดยจดทะเบียน
มาตรา 75 โอนกรรมสิทธิ์กันทางทะเบียนและเสียคาตอบแทนโดย
คําพิพากษาฎีกาที่ 2676/2529 สุจริตก็ตาม แตโจทกก็รับซื้อทรัพยสินดังกลาวไวจาก
โจทก ข อจดทะเบี ย นโอนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น มี จําเลยที่ 3 โดยสุจริตเชนกัน เมื่อกรมที่ดินสั่งเพิกถอนการ
โฉนดตามคําพิพากษาตามยอม เจาพนักงานที่ดินแจงวา จดทะเบี ย นที่ พิ พ าทและโฉนดที่ พิ พ าท เป น เหตุ ใ ห

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


296
กรรมสิ ท ธิ์ ใ นทรัพ ยส ิน นั ้น กลับ คืน ไปยัง เจา ของที่ คําพิพากษาฎีกาที่ 2676/2529
แทจริงกรณีเชนนี้ถือวา โจทกถูกรอนสิทธิ์ จําเลยที่ 3 โจทก ข อจดทะเบี ย นโอนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น มี
จะตองรับ ผิดตอ โจทกตามประมวลกฎหมายแพงและ โฉนดตามคําพิพากษาตามยอม เจาพนักงานที่ดินแจงวา
พาณิชย มาตรา 479 โอนใหโจทกไมได เพราะจําเลยจํานองที่ดินพิพาทไวกับ
ธนาคารซึ่งไมยอมสงโฉนดที่ดินมาใหเชนนี้โจทกจะรอง
คําพิพากษาฎีกาที่ 5495/2543 ขอให ศ าลในคดี เ ดิ ม มี คํ า สั่ ง ให เ จ า พนั ก งานที่ ดิ น จด
โจทก ฟ อ งว า โจทก มี สิ ท ธิ ค รอบครองที่ ดิ น ทะเบียนโอนใหโดยไมตองมีโฉนดคูฉบับมาแสดงหาได
ตามหนังสือรับรองการทําประโยชนของ ต. โดย ต. ยก ไมเพราะเจาพนักงานที่ดินเปนบุคคลภายนอกและกรณี
ให แ ก โ จทกใ นขณะที่ ต. ยั งมี ชีวิต อยู แตยัง ไมไ ดโ อน ไม ต อ งด ว ยข อ ยกเว น ที่ ใ ห คํ า พิ พ ากษามี ผ ลผู ก พั น
ทางทะเบียน ตอมาศาลพิพากษาถึงที่สุดวาที่พิพาทเปน บุคคลภายนอกไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา 145 หากโจทกเห็น
ของโจทก โจทก ยอ มมีสิท ธิที่ จะขอให ใสชื่อ โจทกใน ว า การที่ เ จ า พนั ก งานที่ ดิ น ไม ก ระทํ า การตามที่ โ จทก
หนังสือรับรองการทําประโยชนไดโดยการปฏิบัติตาม ประสงค นั้น ไมช อบด ว ยกฎหมายและเป น การโต แ ย ง
ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 77 และกฎกระทรวงฉบับ สิทธิของโจทกก็ชอบที่โจทกจะดําเนินการวากลาวกับ
ที่ 7 (พ.ศ. 2497) ขอ 9 แตจะฟองจําเลยผูจัดการมรดก เจาพนักงานที่ดินตามกฎหมายตอไป
ของ ต. ใหจดทะเบียนโอนสิทธิครอบครองใหโจทก
ไมไดเพราะจําเลยไมมีหนาที่ตามกฎหมายที่จะตองไปจด คําพิพากษาฎีกาที่ 3336/2531
ทะเบียนโอนสิทธิครอบครองแกโจทก การที่ศาลมีคํ าสั่งวาที่ดินบางสวนตามโฉนด
ที่ ดิ น พิ พ าทตกเป น กรรมสิ ท ธิ์ ข องโจทก โ ดยการ
มาตรา 78 ครอบครองนั้ น แม โ ฉนดที่ ดิ น อยู ที่ จํ า เลยโจทก ก็ จ ะ
คําพิพากษาฎีกาที่ 1059/2527 ขอใหจําเลยสงมอบโฉนดดังกลาวแกโจทกเพื่อ ไปจด
ก า ร ยื่ น คํ า ร อ ง ข อ แ ส ด ง ก ร ร ม สิ ท ธิ์ ใ น ทะเบียนสิท ธิหาไดไม เพราะกรณีนี้ไมมีนิติกรรม นิติ
อสั ง หาริ ม ทรั พ ย นั้ น ตามประมวลกฎหมายแพ ง และ เหตุ หรือบทกฎหมายใดที่กําหนดใหจําเลยตองสงมอบ
พาณิชย มาตรา 1382 และประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา โฉนดที่ ดิ น แก โ จทก ทั้ ง ตามประมวลกฎหมาย
78 มิ ไ ด กํ า หนดหลั ก เกณฑ ว า ผู ร อ งจะต อ งเป น ผู ที่ดิน มาตรา 78 และกฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2497)
ครอบครองอสังหาริมทรัพยอยูในขณะยื่นคํารองขอตอ ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมาย
ศาล และคําสั่งของศาล ที่แสดงวาผูรองไดกรรมสิทธิ์ใน ที่ ดิ น พ.ศ. 2497กํ า หนดไว แ ล ว ว า จะต อ งทํ า อย า งไร
อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ต ามคํ า ร อ งขอนั้ น ก็ เ ป น เพี ย งคํ า สั่ ง ที่ โจทก ย อ มสามารถที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามและได รั บ ผลตาม
รั บ รองว า การครอบครองอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ข องผู ร อ ง ความประสงคของโจทกอยูแลว
ตามที่ ไ ด ค รอบครองมาแล ว นั้ น เป น ผลให ผู ร อ งได
กรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพยแลว เพื่อที่ผูรองจะไดนํา คําพิพากษาฎีกาที่ 5963/2533
คํ า พิ พ ากษาไปจดทะเบี ย นสิ ท ธิ ต อ เจ า พนั ก งานที่ ดิ น สิทธิในที่ดินที่โจทกทั้งสองไดมาในฐานะเปน
ตอ ไปเทานั้น หากมีผูคัดคานก็ถือ ไดวาเปนคดีที่ผูรอ ง ผูชนะคดีตามคําพิพากษาอันถึงที่สุด และขอตกลงในชั้น
ฟองเรียกที่พิพาทจากผูคัดคาน ถาผูรองชนะคดี ศาลอาจ บังคับคดีระหวางโจทกทั้งสองกับผูแพคดีนั้นเปนการได
เพิกถอนใหขับไลผูคัดคานดวยก็ไดตาม ป.วิ.พ.มาตรา สิทธิโดยผลของคําพิพากษา จึงแตกตางกับสิทธิในที่ดิน
142(1) ที่โจทกทั้งสองไดมาโดยทางมรดกในฐานะที่เปนทายาท
ซึ่งถือวาโจทกทั้งสองเปนเจาของที่ดินแทนที่เจามรดก

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


297
แมการไดสิทธิในที่ดินดังกลาวตามคําพิพากษาโจทกทั้ง การครอบครองอั น เป น เท็ จ ซึ่ ง จํ า เลยมี วั ต ถุ ป ระสงค
สองจะอางวาเปนทายาทของเจามรดกก็หาใชการไดมา สําหรับใชเปนพยานหลักฐานในการที่จําเลยจะไดมาซึ่ง
ซึ่ ง สิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น โดยทางมรดกโดยทั่ ว ไปอั น จะต อ ง สิ ท ธิ ค รอบครองในที่ ดิ น พิ พ าทอั น น า จะเกิ ด ความ
ดํ า เนิ น การจดทะเบี ย นสิ ท ธิ แ ละนิ ติ ก รรมตามลํ า ดั บ เสียหายแกผูเสียหายการกระทําของจําเลยจึงเปนความผิด
ขั้ น ตอนตามประมวลกฎหมายที่ ดิ น มาตรา 81 ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 267
ประกอบดวยกฎกระทรวงฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2516) ออก
ตามความในพระราชบั ญ ญั ติ ใ ห ใ ช ป ระมวลกฎหมาย คําพิพากษาฎีกาที่ 3208/2540
ที่ดิน พ.ศ. 2497 และระเบียบของกรมที่ดินวาดวยการจด คําพิพากษาศาลฎีกาในคดีกอนวินิจฉัยวา ที่ดิน
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยซึ่ง พิ พ าทอยู ใ นเขตที่ ดิ น ของโจทก ดั ง นั้ น ผลของคํ า
ไดมาโดยทางมรดก พ.ศ. 2516 ใหเสร็จสิ้นเสียชั้นหนึ่ง พิพากษาศาลฎีกาดังกลาวจึงผูกพันคูความในกระบวน
กอนไม โจทกทั้งสองชอบที่จะขอจดทะเบียนแบงแยก พิ จ ารณาของศาลที่ พิ พ ากษา นั บ แต วั น ที่ ไ ด พิ พ ากษา
กรรมสิทธิ์รวมไดทันที จนถึงวันที่คําพิพากษานั้นไดถูกเปลี่ยนแปลงแกไขกลับ
หรืองดเสียตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
คําพิพากษาฎีกาที่ 1059/2537 มาตรา 145 ซึ่งตามคําใหการของจําเลยทั้งสามในคดีนี้ก็
คําขอให จําเลยทั้ ง สองรว มกัน สงมอบโฉนด ไมป รากฏวา หลั ง จากศาลฎีกาพิพ ากษาในคดีดั งกลา ว
ที่ ดิ น พิ พ าทคื น แก โ จทก นั้ น ตามบทบั ญ ญั ติ ประมวล แลวจําเลยที่ 1 และที่ 2 ไดบอกกลาวเปลี่ยนลักษณะแหง
กฎหมายที่ดินฯ มาตรา 78 และกฎกระทรวงฉบับที่ 7 การยึ ด ถื อ ไปยั ง โจทก ว า จํ า เลยที่ 1 และที่ 2 จะยึ ด ถื อ
(พ.ศ. 2497) บัญญัติไวแลววาจะตองดําเนินการอยางไร ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทในฐานะเจ า ของต อ ไปตาม
โจทก ส ามารถปฏิ บั ติ ต ามและได รั บ ผลตามความ ประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย มาตรา 1381 และ
ประสงคของโจทกอยูแลวโดยไมจําเปนตองอาศัยคําสั่ง จําเลยที่ 3 ก็มิไดใหการตอสูวาตนมีสิทธิดีกวาโจทกแต
ศาลใหจําเลยทั้งสองสงมอบโฉนดที่ดินพิพาทแตอยางใด ประการใด กรณีจึงตองถือวาจําเลยทั้งสามไมมีกรรมสิทธิ์
จึงตองยกคําขอในสวนนี้ ในที่ดินพิพาทดีไปกวาโจทก คดีจึงสามารถวินิจฉัยชี้ขาด
ไดโดยไมตองสืบพยานตอไป การที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งงด
คําพิพากษาฎีกาที่ 3978/2539 สืบพยานจึงชอบแลว แตการที่ศาลลางทั้งสองพิพากษา
การที่จําเลยทราบดีอยูแลววาที่ดินพิพาทและ ใหจําเลยทั้งสามสงมอบโฉนดที่ดินพิพาทใหแกโจทก
ทรัพยสินอื่นเปนของผูเสียหายผูเสียหายยังครอบครอง เพื่ อ ดํ า เนิ น การแบ ง แยกนั้ น ประมวลกฎหมายที่ ดิ น ฯ
มิไดทิ้ง รางแตจําเลยยัง ขืนไปยื่นคํา ขอตอ ทางราชการ มาตรา 78 และกฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2497) ออก
เพื่อใหไดมาซึ่งสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมาย ตามความในพระราชบั ญ ญั ติ ใ ห ใ ช ป ระมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชยมาตรา1367ผูเสียหายคัดคานไมยอมให ที่ดินฯ กําหนดไวแลววาจะตองดําเนินการอยางไร ซึ่ง
เขาไปในที่ดินจึงไมสามารถรังวัดตรวจสอบไดจําเลยได โจทกสามารถนําคําพิพากษาไปดําเนินการตามขั้นตอน
ใหถอยคํายืนยันตามคําขอซึ่งเจาพนักงานผูกระทําการ ไดอยูแลวโดยไมจําตองอาศัยคําสั่งศาลใหจําเลยทั้งสาม
ตามหนาที่ไดบันทึกขอความไวในบันทึกถอยคํา (ท.ด.16) สงมอบโฉนดที่ดินใหแตอยางใดจึงตองยกคําขอในสวน
อันเปนเอกสารราชการซึ่งมีส าระสําคัญวาที่ดินพิพาท นี้ ปญหาดังกลาวเปนขอกฎหมายเกี่ยวดวยความสงบ
เปนของผูเสียหายผูเสียหายทิ้งรางไวไมไดทําประโยชน เรียบรอยของประชาชนแมจําเลยทั้งสามมิไดฎีกา ศาล
จําเลยเขายึดถือครอบครองทําประโยชนมานานขอใหเจา ฎีกาก็มีอํานาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยแกไขเสียใหถูกตองได
พนักงานเจาหนาที่ดําเนินการจดทะเบียนสิทธิไดมาโดย

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


298
ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ ง มาตรา และเมื่อการที่ศาลชั้นตนเคยมีคําสั่งใหโจทกสงโฉนดที่
142(5) ประกอบมาตรา 246 และ 247 พิพาทตอศาลเพื่อสงไปยังเจาพนักงานที่ดินตามที่จําเลย
ขอ ปรากฏภายหลังวาไมเหมาะสมโดยวิธีการที่โจทก
คําพิพากษาฎีกาที่ 1727/2551 แถลงมีเหตุผลในการปฏิบัติตามคําพิพากษายิ่งกวาศาล
บุคคลใดจะตองใชสิทธิทางศาลตาม ป.วิ.พ. ชั้นตนก็ชอบที่จะเพิกถอนคําสั่งนั้นได หาเปนการดําเนิน
มาตรา 55 และมาตรา 188 (1) จะตองมีกฎหมายบัญญัติ กระบวนพิจารณาซ้ําไม เพราะเปนเพียงการเปลี่ยนแปลง
รับรองใหใชสิทธิทางศาลโดยยื่นคํารองขอในกรณีนั้น ๆ คําสั่งในวิธีการเพื่อบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษา
ได แตกรณีตามคํารองขอของผูรองซึ่งรองขอใหศาลมี
คําสั่งแสดงวาบานที่ผูรองปลูกอยูในที่ดินของผูอื่นเปน คําพิพากษาฎีกาที่ 3208/2540
กรรมสิทธิ์ของผูรองนั้น ไมมีกฎหมายใดสนับสนุน คําพิพากษาศาลฎีกาในคดีกอนวินิจฉัยวา ที่ดิน
รับรองใหผูรองกระทําเชนนั้นได ผูรองจึงไมมีสิทธิยื่น พิ พ าทอยู ใ นเขตที่ ดิ น ของโจทก ดั ง นั้ น ผลของคํ า
คํารองขอเปนคดีไมมีขอพิพาทตอศาล หากผูรองถูก พิพากษาศาลฎีกาดังกลาวจึงผูกพันคูความในกระบวน
โตแยงสิทธิหรือหนาที่เกี่ยวกับบานหลังดังกลาว ผูรอง พิ จ ารณาของศาลที่ พิ พ ากษา นั บ แต วั น ที่ ไ ด พิ พ ากษา
ก็ ช อบที่ จ ะเสนอคดี ข องตนต อ ศาลที่ มี เ ขตอํ า นาจได จนถึงวันที่คําพิพากษานั้นไดถูกเปลี่ยนแปลงแกไขกลับ
อยางคดีมีขอพิพาทตาม ป.วิ.พ. มาตรา 55 สวน ป.ที่ดิน หรืองดเสียตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
มาตรา 78 และกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ.2497) ซึ่ง มาตรา 145 ซึ่งตามคําใหการของจําเลยทั้งสามในคดีนี้ก็
ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ ใ ห ใ ช ป ระมวล ไมป รากฏว า หลัง จากศาลฎีกาพิพ ากษาในคดีดั งกลา ว
กฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 นั้น เปนกรณีที่กฎหมาย แลวจําเลยที่ 1 และที่ 2 ไดบอกกลาวเปลี่ยนลักษณะแหง
บัญญัติถึงวิธีการจดทะเบียนการไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ใน การยึดถือไปยังโจทกวาจําเลยที่ 1 และที่ 2 จะยึดถือ
ที่ดินตาม ป.วิ.พ. มาตรา 1382 มิใชกฎหมายใกลเคียงที่ ครอบครองที่ ดิ น พิ พ าทในฐานะเจ า ของต อ ไปตาม
นํามาใชแกกรณีของผูรอง ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1381 และ
จําเลยที่ 3 ก็มิไดใหการตอสูวาตนมีสิทธิดีกวาโจทกแต
มาตรา 79 ประการใด กรณี จึ ง ต อ งถื อ ว า จํ า เลยทั้ ง สามไม มี
กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทดีไปกวาโจทก คดีจึงสามารถ
คําพิพากษาฎีกาที่ 73/2527
วินิจ ฉัย ชี้ขาดไดโดยไมตอ งสืบพยานตอไป การที่ศาล
ศาลมีคําพิพากษาใหจําเลยแบงแยกที่พิพาทให
ชั้นตนมีคําสั่งงดสืบพยานจึงชอบแลว แตการที่ศาลลาง
โจทกครึ่งหนึ่ง ถาตกลงแบงไมไดใหขายทอดตลาดนํา
ทั้ ง สองพิ พ ากษาให จํ า เลยทั้ ง สามส ง มอบโฉนดที่ ดิ น
เงินมาแบงกันตามสวนนั้น เห็นไดวาการแบงที่พิพาทจะ
พิพาทใหแกโจทกเพื่อดําเนินการแบงแยกนั้นประมวล
กระทําไดก็โดยตกลงกันระหวางโจทกจําเลย และที่ศาล
กฎหมายที่ ดินฯ มาตรา 78 และกฎกระทรวง ฉบับ ที่ 7
ชั้ น ต น แจ ง ผลของคํ า พิ พ ากษาอั น ถึ ง ที่ สุ ด ว า ศาลฎี ก า
(พ.ศ. 2497) ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใช
พิพากษาใหจําเลยแบงแยกที่พิพาทใหโจทกครึ่งหนึ่ง ตอ
ประมวลกฎหมายที่ ดิ น ฯ กํ า หนดไว แ ล ว ว า จะต อ ง
เจาพนักงานที่ดินก็มิไดมุงหมายใหจําเลยมีอํานาจแบง
ดําเนินการอยางไร ซึ่งโจทกสามารถนําคําพิพากษาไป
โฉนดที่พิพาทฝายเดียวอันเปนการนอกเหนือคําพิพากษา
ดํา เนิ น การตามขั้ น ตอนได อ ยู แ ล วโดยไม จํ า ต อ งอาศั ย
แตอยางใด ดังนั้น การที่จําเลยไดดําเนินการขอแบงแยก
คําสั่งศาลใหจําเลยทั้งสามสงมอบโฉนดที่ดินใหแตอยาง
ที่พิพาทจนนําชางแผนที่ไปทําการรังวัดปกหลักเขต จึง
ใดจึ ง ต อ งยกคํ า ขอในส ว นนี้ ป ญ หาดั ง กล า วเป น ข อ
เปน การกระทําไปตามลํา พังโดยโจทก มิได ต กลงดว ย
กฎหมายเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชนแม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


299
จํ า เลยทั้ ง สามมิ ไ ด ฎี ก า ศาลฎี ก าก็ มี อํ า นาจหยิ บ ยกขึ้ น ขั้ น ตอนตามประมวลกฎหมายที่ ดิ น มาตรา 81
วินิจฉัยแกไขเสียใหถูกตองไดตามประมวลกฎหมายวิธี ประกอบดวยกฎกระทรวงฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2516) ออก
พิจารณาความแพง มาตรา 142(5) ประกอบมาตรา 246 ตามความในพระราชบั ญ ญั ติ ใ ห ใ ช ป ระมวลกฎหมาย
และ 247 ที่ดิน พ.ศ. 2497 และระเบียบของกรมที่ดินวาดวยการจด
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยซึ่ง
มาตรา 81 ไดมาโดยทางมรดก พ.ศ.2516 ใหเสร็จสิ้นเสียชั้นหนึ่ง
คําพิพากษาฎีกาที่ 3486/2526 กอนไม โจทกทั้งสองชอบที่จะขอจดทะเบียนแบงแยก
คดีไดความวาผูตายมีทรัพยมรดกเปนที่ดิน 3 กรรมสิทธิ์รวมไดทันที
แปลง แตละแปลงตั้งอยูตางอําเภอกัน ที่ดินแปลงหนึ่งมี
เนื้ อ ที่ น อ ยไม ส ามารถจะแบ ง ป น ให แ ก ท ายาทซึ่ ง มี คําพิพากษาฎีกาที่ 38/2539
ทั้งหมด 6 คนได จึงมีความจําเปนตองขายที่ดินนี้แลวนํา แมจําเลยที่ 2 เปนผูขอใหทางราชการออกเลขที่
เงินมาแบงปนกันในระหวางทายาททุกคน แมทายาทจะ บ า นให โ ดยจํ า เลยที่ 2 ลงชื่ อ เป น เจ า บ า นในหลั ก ฐาน
มี สิ ท ธิ ข อจดทะเบี ย นรั บ มรดกที่ ดิ น โดยทางพนั ก งาน ทะเบียนราษฎรก็มิไดหมายความวาจําเลยที่ 2 ผูขอออก
เจาหนาที่ ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 81 แตบท เลขที่บานและมีชื่อเปนเจาบานจะมีกรรมสิทธิ์ในบาน
กฎหมายดังกลาวก็ไดวางวิธีปฏิบัติไวหลายขั้นตอนและ หลังดังกลาวเพราะหลักฐานดังกลาวมิใชหลักฐานแสดง
พนั ก งานเจ า หน า ที่ อ าจอนุ ญ าตหรื อ ไม อ นุ ญ าตให จ ด ความเปนเจาของกรรมสิท ธิ์แตเปนเพียงหลักฐานของ
ทะเบียนก็ไดหากมีการโตแยงคัดคานคูกรณีก็ตองนําคดี ทางราชการที่ตองการทราบวาในหมูบานนั้นมีบานอยูกี่
มาสูศาลเพื่อวินิจฉัยในที่สุด วิธีการจดทะเบียนรับมรดก หลังและมีคนอาศัยอยูในบานที่ขอออกเลขที่บานกี่คน
ที่ดินดังกลาวจึงมีขั้นตอนที่ยุงยากหลายประการและก็ไม เพื่อประโยชนในทางทะเบียนราษฎรเทานั้นเมื่อรูปคดีฟง
เปนที่แนนอนวาจะไดรับอนุญาตเสมอไป กรณีจึงพอถือ ไดวาบานพิพาทเปนของเจามรดกจึงเปนทรัพยมรดกที่
ได ว า การจั ด การหรื อ การแบ ง ป น มรดกของผู ต ายมี ตกทอดแกบรรดาทายาททุกคน เจามรดกถึงแกความตาย
เหตุขัดของชอบที่ทายาทจะใชสิทธิรองขอตอศาลใหตั้ง ในป 2528 ทายาทของเจามรดกตกลงกันวาทายาทจะยัง
ผูจัดการมรดกไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไมแบงมรดกกันจนกวาจะมีการเผาศพเจามรดกเสียกอน
มาตรา 1713 (2) และได มี ก ารเผาศพเจ า มรดกหลั ง จากเจ า มรดกถึ ง แก
ความตายแลวประมาณ2ปนอกจากนี้ยังปรากฏหลักฐาน
คําพิพากษาฎีกาที่ 5963/2533 วามรดกของเจามรดกยังอยูในระหวางการแบงปนของ
สิทธิในที่ดินที่โจทกทั้งสองไดมาในฐานะเปน บรรดาทายาทเมื่อมรดกยังแบงกันไมเสร็จแมทายาทคน
ผูชนะคดีตามคําพิพากษาอันถึงที่สุด และขอตกลงในชั้น ใดคนหนึ่งหรือหลายคนจะเปนผูครอบครองมรดกอยูก็
บังคับคดีระหวางโจทกทั้งสองกับผูแพคดีนั้นเปนการได ตองถือวาทายาทคนนั้นหรือเหลานั้นครอบครองมรดก
สิทธิโดยผลของคําพิพากษา จึงแตกตางกับสิทธิในที่ดิน แทนบรรดาทายาทอื่นดวยทุกคนแมจะลวงเลยเวลา1ป
ที่โจทกทั้งสองไดมาโดยทางมรดกในฐานะที่เปนทายาท นับแตเจามรดกถึงแกความตายทายาทอื่นก็ชอบที่จะฟอง
ซึ่งถือวาโจทกทั้งสองเปนเจาของที่ดินแทนที่เจามรดก ขอแบงมรดกไดขอเท็จจริงในคดีนี้ถือไดวาจําเลยทั้งสาม
แมการไดสิทธิในที่ดินดังกลาวตามคําพิพากษาโจทกทั้ง ครอบครองที่ ดิ น และบ า นพิ พ าททั้ ง สองหลั ง อั น เป น
สองจะอางวาเปนทายาทของเจามรดกก็หาใชการไดมา มรดกแทนผูตายซึ่งเปนทายาทของเจามรดกดวยคนหนึ่ง
ซึ่ ง สิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น โดยทางมรดกโดยทั่ ว ไปอั น จะต อ ง โจทกฟองจําเลยทั้งสามในฐานะผูจัดการมรดกของผูตาย
ดํ า เนิ น การจดทะเบี ย นสิ ท ธิ แ ละนิ ติ ก รรมตามลํ า ดั บ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


300
ฟองโจทกจึงไมขาดอายุความ ตามประมวลกฎหมายแพง ป.พ.พ. มาตรา 1612 เพราะการสละมรดกตามมาตรานี้
และพาณิชยมาตรา 1754 วรรคหนึ่ง หมายถึงการสละสวนหนึ่งของตนโดยไมเจาะจงวาจะ
ใหแกทายาทคนใด แตบันทึกถอยคําของนายจํารัสดังกลาว
คําพิพากษาฎีกาที่ 6286/2539 มีลักษณะเปนการประนีประนอมยอมความ มีผลบังคับ
โจทก ไ ม ไ ด ม าให ถ อ ยคํ า ยิ น ยอมต อ เจ า ได ต าม มาตรา 850, 852 และ 1750 ทั้ ง ตามโฉนดที่ ดิ น
พนักงานที่ดินทั้งมิไดมอบอํานาจให บ. ซึ่งเปนภริยาไป พิพาทก็ปรากฏวาระบุชื่อจําเลยเปนผูรับโอนเสร็จสิ้น อัน
ใหถอยคํายินยอมแทนในการที่จําเลยที่ 1 จดทะเบียนรับ ถือไดวาจําเลยผูมีชื่อในโฉนดไดรับกรรมสิทธิ์ในที่ดิน
มรดกที่ ดิ น พิ พ าท การกระทํ า ของ บ. ไม ผู ก พั น โจทก แปลงนี้โดยสมบูรณตามกฎหมายที่ดินแลวโจทกทั้งสอง
จําเลยที่ 1 มิไดนําทายาทผูมีสิทธิรับมรดกทั้งหมดมาให ซึ่งเปนทายาทของ จ.จึงไมมีสิทธิฟองแบงที่ดินแปลงนี้
ถอยคํายินยอมตอพนักงานเจาหนาที่การจดทะเบียนรับ จากจําเลย
มรดกที่ดินพิพาทของจําเลยที่ 1 เฉพาะสวนของโจทก
และทายาทคนอื่น ไมชอบดวยประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 82
มาตรา 81 และกฎกระทรวง ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2516) การ คําพิพากษาฎีกาที่ 2125/2539
จดทะเบียนรับมรดกคงสมบูรณเฉพาะสวนของจําเลยที่ 1 โจทกเปนผูจัดการมรดกของ ป. ยอมมีสิทธิเขา
สิทธิครอบครองที่ดินที่จะมีการแยงการครอบครองตาม จัดการที่ดินเฉพาะสวนที่เปนมรดกของ ป. เพื่อนํามาแบง
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1375 ตองเปน แกทายาทและขอจดทะเบียนลงชื่อผูจัดการมรดกของ ป.
ของผูอื่นหาไดหมายถึงที่ดินที่ตนเปนผูมีสิทธิครอบครอง ในโฉนดที่ ดิ น มรดกได ต ามประมวลกฎหมายที่ ดิ น
เองไมเมื่อ จําเลยที่ 2 และที่ 3 ตอสูวาไดซื้อที่ดินพิพาท มาตรา 82 โดยตองนําโฉนดที่ดินมาแสดงตอเจา
จากจําเลยที่ 1 โดยสุจริต และมีสิทธิครอบครองแลวจึง พนักงานที่ดินดวยเมื่อโฉนดที่ดินอยูในความครอบครอง
ไมกอใหเกิดประเด็นขอพิพาทเรื่องแยงการครอบครอง ของจําเลยโจทกมีสิทธิเรียกใหจําเลยสงมอบโฉนดไดที่
จํ า เลยอ า งว า จํ า เลยยั ง จั ด การมรดกของ อ. ในที่ ดิ น
คําพิพากษาฎีกาที่ 590/2540 ดังกลาวไมเสร็จก็ดีไมใชเหตุที่จะลบลางสิทธิของโจทก
บั น ทึ ก ที่ จ.ให ถ อ ยคํ า ต อ เจ า พนั ก งานที่ ดิ น ใหจําเลยไมตองสงมอบโฉนดที่ดินแกโจทกแตเมื่อโจทก
ใจความวา ที่ดินพิพาทมีชื่อ ฉ.เปนผูถือกรรมสิทธิ์ซึ่งได ดําเนินการจดทะเบียนลงชื่อผูจัดการมรดกเสร็จแลวตอง
ตายไปแล ว วั น นี้ (วั น ที่ 2 ธั น วาคม 2530) ทายาทของ มอบโฉนดที่ดินคืนแกจําเลยตามเดิม
ผูตายคือจําเลยไดมายื่นเรื่องราวขอรับมรดกที่ดินแปลงนี้
ของ ฉ. จ.ไดรับทราบเรื่องราวและประกาศขอรับมรดก มาตรา 83
ที่ ดิ น แปลงนี้ โ ดยตลอดแล ว จ.เป น ทายาทของผู ต ายมี
คําพิพากษาฎีกาที่ 1914/2528
สิทธิที่จะไดรับมรดกที่ดินแปลงนี้ดวย แต จ.ไมประสงค
การขออายัด ที่ ดิน ต อ พนั ก งานเจา หน าที่ ต าม
จะขอรับมรดกที่ดินแปลงนี้แตอยางใด และยินยอมให
ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 83 นั้น เมื่อเจาหนาที่รับ
จํ า เลยเป น ผู ข อรั บ มรดกที่ ดิ น แปลงนี้ แ ต เ พี ย งผู เ ดี ย ว
อายัดไวแลวผูขออายัดตองไปดําเนินการ ทางศาลภายใน
เชนนี้ถอยคําของ จ.เปนบันทึกที่เจาพนักงานที่ดินปฏิบัติ
เวลาที่เจาหนาที่กําหนดไวถาไมดําเนินการทางศาล การ
ไปตาม ป.ที่ดิน มาตรา 81ประกอบกฎกระทรวงมหาดไทย
อายั ด ก็ สิ้ น ผลเมื่ อ พ น เวลาดั ง กล า วแต ถ า ผู ข ออายั ด
ฉบั บ ที่ 24 (พ.ศ.2516) ออกตามความในพ.ร.บ.ให ใ ช
ดําเนินการทางศาล ภายในเวลาดังกลาวการอายัดก็ยังคง
ประมวลกฎหมายที่ ดิ น พ.ศ.2497 ซึ่ ง ถ อ ยคํ า ของ จ.
มีผลอยูตอไปจนกวาศาลจะมีคําสั่งหรือคําพิพากษา
ดังกลาวไมใชกรณีทายาทสละมรดกตามความหมายใน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


301

คําพิพากษาฎีกาที่ 6840/2537 มีคําสั่งถึงที่สุดเมื่อคดีดังกลาวยังอยูระหวางการพิจารณา


การอายัดตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 83 ของศาลฎี ก าและไม มี คํ า สั่ ง ศาลให ถ อนการอายั ด การ
มิไดบัญญัติถึงผลของการอายัดโดยชัดแจงวา หากมีการ อายัดจึงยังคงมีอยูตามมาตรา 83 วรรคสอง
โอนที่ดินไปยังบุคคลภายนอกในระหวางอายัดแลว นิติ
กรรมการโอนไม มีผลบังคับดังเชนผลการอายัดตามที่ คําพิพากษาฎีกาที่ 5155/2539
บั ญ ญั ติ ไ ว ใ นประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ ง เจตนารมณ ข องการอายั ด ที่ ต ามประมวล
ดังนั้น นิติกรรมการโอนที่พิพาทระหวางจําเลยที่ 1 กับ กฎหมายที่ดินฯมาตรา83มีความมุงหมายเปนการตัดสิทธิ
จํ า เลยที่ 2 ถึ ง ที่ 6 ขณะที่ มี คํ า ขออายั ด ตามประมวล ของเจาของที่ดินในอันที่จะจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทาง
กฎหมายที่ดินยังถือไมไดวาเปนนิติกรรมการโอนที่ฝา ทะเบียนที่ดินไวชั่วระยะเวลาหนึ่งจนกวาจะมีการวินิจฉัย
ฝนกฎหมาย และทําใหนิติกรรมการโอนเสียไปและไมมี ปญหาเกี่ยวกับที่ดินแปลงนั้นแลวเพื่อรักษาผลประโยชน
ผลผูกพัน เพราะถาผูรับโอนไดรับโอนโดยมีคาตอบแทน ของผูมีสวนไดเสียผูขออายัดและเจาของที่ดินมิใหไดรับ
และโดยสุจริตมิไดรูเทาถึงขอความจริงอันเปนทางให ความเสียหายเกินกวาจําเปนเพราะถาไมมีการอายัดและ
โจทก ซึ่ ง เป น เจ า หนี้ เ สี ย เปรี ย บแล ว นิ ติ ก รรมการโอน ปลอยใหมีการจดทะเบียนหรือเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน
ดั ง กล า วย อ มสมบู ร ณ มี ผ ลผู ก พั น กั น ได หาทํ า ให นิ ติ ไดเรื่อยๆไปผูมีสวนไดเสียอาจตองฟองรองเจาของที่ดิน
กรรมการโอนเสียไปไม การไดมาซึ่งที่พิพาทของจําเลย และผูรับโอนตอๆไปถาชนะคดีก็ตองสิ้นเปลืองคาใชจาย
ระหวางอายัด จึงสมบูรณมีผลบังคับไดตามกฎหมาย และคาเสียหายอีกมากการอายัดที่ดินจึงมีผลเปนการตัด
สิทธิของเจาของที่ดินในการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทาง
คําพิพากษาฎีกาที่ 301/2538 ทะเบียนที่ดินทุกประเภทที่อาจกอใหเกิดความเสียหาย
ขณะที่โจทกซื้อที่ดินพิพาทจากบริษัท ย. จํากัด แกผูขออายัดไดมิไดจํากัดอยูเฉพาะการจดทะเบียนสิทธิ
โจทก เ ป น บุ ค คลต า งด า ว นิ ติ ก รรมการซื้ อ ขายที่ ดิ น และนิติกรรมเฉพาะประเภทที่พิพาทกันเทานั้นดังนั้น
พิพาทจึงตองหามชัดแจง ตาม ป. ที่ดินมาตรา 86 และ จําเลยที่2ซึ่งเปนเจาพนักงานที่ดินจึงมีอํานาจปฏิเสธไม
ตกเปนโมฆะ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 113 เดิม (มาตรา 150 ยอมจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทของโจทก
ที่ แ ก ไ ขใหม ) แต ผ ลของการที่ นิ ติ ก รรมเป น โมฆะ ใหแก ก. ไดเพราะ ส. ไดขออายัดที่ดินพิพาทตอจําเลยที่2
ดังกลาว ไมทําใหนิติกรรมเสียเปลาไป ยังคงมีผลตาม โดยอางสิทธิการเชาที่ดินพิพาทกับเจาของที่ดินและอยู
กฎหมายอยู แต โจทกไม มีสิทธิถือ กรรมสิท ธิ์ที่ดิน ระหวางดําเนินการฟองโจทกในฐานะผูจัดการมรดกของ
พิพาท ตองจัดการจําหนายตาม ป. ที่ดิน มาตรา 94 และ เจาของที่ดินใหจดทะเบียนการใหเชาตอไปตามสัญญา
การบังคั บ ใหจําหน ายดังกลาวหมายความเฉพาะที่ดิ น
พิพาทเทานั้น ไมรวมถึงสิ่งปลูกสรางพิพาทดวยเพราะ คําพิพากษาฎีกาที่ 6690/2540
คนตางดาวไมตองหามมิใหถือกรรมสิทธิ์สิ่งปลูกสราง ศาลฎีกามีคํ าพิพากษาถึงที่สุดใหโ จทกระงับ
แตประการใด การนํารังวัดแบงแยกที่ดินพิพาทจนกวาคดีที่โจทกจําเลย
ถูกฟองจะถึงที่สุด โจทกจึงไมมีสิทธิที่จะนํารังวัดแบงแยก
คําพิพากษาฎีกาที่ 3084/2538 ที่ดินพิพาทและนําไปโอนขายใหแกผูรองมาแตตน ผู
การที ่ พนัก งานเจา หนา ที่ร ับ อายัด ที่ด ิน ตาม รองจะอางวาโจทกไดทําการรังวัดแบงแยกเสร็จเรียบรอย
ป.ที่ดิน มาตรา 83 ไวแลวและผูขออายัดไปดําเนินคดีทาง แลวและโอนขายใหแกผูรองกอนมีคําพิพากษาศาลฎีกา
ศาลภายในกําหนดเวลาการอายัดก็ยังคงมีผลอยูตอไป ไมได คดีไมเกี่ยวกับเรื่องคําพิพากษาผูกพันเฉพาะ
จนกวาศาลจะสั่งใหถอนการอายัดหรือมีคําพิพากษาหรือ คูความโดยไมผูกพันผูรองซึ่งเปนบุคคลภายนอกหรือใน

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


302
ฐานะผูซื้อซึ่งรับโอนโดยสุจริต จําเลยมีสิทธิขออายัดการ ศาลจึงพิพากษาตามยอมใหที่ดินตกแกโจทกซึ่งเปนคน
ทํานิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินพิพาทได ตางดาวได ไมขัดตอมาตรา 86

มาตรา 84 คําพิพากษาฎีกาที่ 1492/2528


คําพิพากษาฎีกาที่ 4676/2543 โจทกซึ่งเปนคนตางดาวทําสัญญาใหจําเลยทั้ง
การไดมาซึ่งที่ดินของวัดวาอาราม วัดบาดหลวง สามถือกรรมสิทธิ์ในโฉนดที่ดินและตึกพิพาทแทน ได
โรมั น คาธอลิ ค มู ล นิ ธิ เ กี่ ย วกั บ คริ ส ต จั ก ร หรื อ มั ส ยิ ด ฟองจําเลยทั้งสามขอใหยึดที่ดินและตึกพิพาทออกขาย
อิสลามตองไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีและใหไดมาไม ทอดตลาดนํ า เงิ น มาชํ า ระให โ จทก ก าร ที่ คู ค วามทํ า
เกิน 50 ไร ตามบทบัญญัติแหง ป.ที่ดิน มาตรา 84 วรรค สัญญาประนีประนอมยอมความกัน โจทกไดรับเงินคา
แรก ดังนั้น เมื่อจําเลยเปนมูลนิธิไมใชมัสยิดอิสลาม จึง เชาที่ดินและตึกพิพาทตลอดชีวิตของโจทกแทนเงินจาก
ไมอยูภายใตบังคับของบทกฎหมายดังกลาว การขายทอดตลาด โดยโจทกยกกรรมสิทธิ์ในทรัพยนั้น
คดีนี้ศาลชั้นตนกําหนดประเด็นขอพิพาทใน ใหแกจําเลยที่ 2 และที่ 3 เปนการตกลงกันในขอบเขต
ขอ 3 วาโจทกมีสิทธิเพิกถอนที่ดินพิพาทหรือไม เพียงใด แหงประเด็นในคดีหรือเกี่ยวเนื่องกับประเด็นในคดีแลว
ประเด็ น ข อ พิ พ าทข อ นี้ เ กี่ ย วเนื่ อ งมาจากประเด็ น ข อ คําพิพากษาตามยอมก็ไมขัดตอบทบัญญัติของกฎหมาย
พิพาท ขอ 2 ที่วา จําเลยไดรับโอนที่ดินพิพาทมาโดย อันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน เพราะ
ชอบหรือ ไม ซึ่ งเห็น ไดว าเปน การกํา หนดประเด็น ข อ เป น การที่ โ จทก ไ ด จํ า หน า ยที่ ดิ น และตึ ก พิ พ าทตาม
พิพาทในเรื่องที่วาการจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทใหแก บทบัญญัติของประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 94 และไม
จําเลยชอบหรือไม และเพิกถอนการโอนไดหรือไม อัน เปนการขัดตอประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 86 และ
เปนเรื่องของการได มาโดยนิติกรรม แตการไดมาโดย มาตรา 113 ศาลยอมพิพากษาใหเปนไปตามยอมได
การครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา 1382 ไมใชเปนการ
ไดมาโดยนิติกรรม จึงถือไมไดวาศาลชั้นตนไดกําหนด คําพิพากษาฎีกาที่ 4515-4516/2533
ประเด็ นข อ พิ พ าทในเรื่ อ งที่ว า จํา เลยไดกรรมสิ ท ธิ์ใ น บิ ด าโจทก ข ายห อ งแถวพิ พ าทให แ ก จํ า เลย
ที่ดินพิพาทโดยการครอบครองตามมาตรา 1382 ไว เมื่อ ตั้งแตป พ.ศ.2487 และจําเลยไดครอบครองโดยความ
ไมมีประเด็นขอพิพาทในเรื่องนี้ก็เปนขอที่ไมไดยกขึ้นวา สงบและเปดเผยดวยเจตนาเปนเจาของตลอดมาเปนเวลา
กั น มาแล ว โดยชอบในศาลชั้ น ต น การที่ ศ าลอุ ท ธรณ เกินกวาสิบปแมการซื้อขายมิไดจดทะเบียนตอพนักงาน
วิ นิ จ ฉั ย ว า จํ า เลยได ก รรมสิ ท ธิ์ ใ นที่ ดิ น พิ พ าทโดยการ เจาหนาที่ ตกเปนโมฆะตามประมวลกฎหมายแพงและ
ครอบครองตามมาตรา 1382 จึงเปนการไมชอบ พาณิชย มาตรา 456 หองแถวพิพาทยอมตกเปน
กรรมสิท ธิ์ข องจําเลยดวยการครอบครองปรปกษแ ลว
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1382 และ
มาตรา 86
แมจําเลยเปนบุคคลตางดาว แตจําเลยซื้อเฉพาะตัวหองแถว
คําพิพากษาฎีกาที่ 3028/2525 ไม มีก ฎหมายหา มบุ ค คลต า งด าวเป น เจ า ของหอ งแถว
การที่ค นตา งดาวไดที่ดิน มาโดยไมช อบดว ย จําเลยยอมมีสิทธิซื้อหองแถวดังกลาว
ป.ที่ดิน มาตรา 86 ก็มิใชวาจะไมมีผลใด ๆ เสียเลย เพราะ
คนตางดาวยังมีสิทธิไดรับผลตามมาตรา 94 ในอันที่จะ
คําพิพากษาฎีกาที่ 2162/2537
จัดจําหนายที่ดินนั้นภายในเวลาที่อธิบดีกําหนด ฉะนั้น
แมการที่คนตางดาวไดที่ดินมาโดยมิชอบดวย
ประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 86 จะทําใหคนตางดาว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


303
นั้ น ถื อ สิ ท ธิ ห รื อ ใช สิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น ที่ ไ ด ม าอย า งเจ า ของ การโตแยงสิทธิของโจทกโจทกจึงมี อํานาจฟองใหเพิก
กรรมสิทธิ์ไมไดและตองจําหนายที่ดินนั้นไปตามมาตรา ถอนการโอนขายได
94 แตก็มิใชวาการไดมาซึ่งที่ดินของคนตางดาวจะไมมี
ผลเสียเลย เนื่องจากคนตางดาวยังคงมีสิทธิไดรับผลตาม คําพิพากษาฎีกาที่ 5825/2539
มาตรา 94 ทั้งยังมีสิท ธิไดรับชําระราคาที่ดินซึ่งไดจาก แม ซ. เป น บุ ค คลต า งด า วได ที่ ดิ น มาโดยไม
การจําหนายตามมาตรา 54 ดังนั้น แมโจทกเปนคนตาง ชอบด ว ยประมวลกฎหมายที่ ดิ น ฯมาตรา86แต ก ารได
ดาวโจทกก็มีสิทธิเรียกรองใหจําเลยที่ 1 แบงทรัพยสิน ที่ดินมานั้นก็มิใชวาจะไมมีผลใดๆเสียเลยเพราะ ซ. ยังมี
ที่ ดิ น และบ า นซึ่ ง โจทก กั บ จํ า เลยที่ 1 ร ว มกั น ซื้ อ มาได สิท ธิไดรับผลตามมาตรา94ในอันที่จ ะจัดการจําหนาย
กรณีถือวาคดีแพงที่โจทกฟองขอแบงทรัพยจากจําเลยที่ 1 ที่ดินนั้นไดภายในเวลาที่อธิบดีกําหนดหรืออธิบดีอาจ
โจทกมีฐานะเปนเจาหนี้ของจําเลยที่ 1 การกระทําของ จําหนายที่ดินนั้นไดจึงตองถือวาตราบใดที่ ซ.หรืออธิบดี
จําเลยที่ 1 ที่โอนขายที่ดินและบานดังกลาวไปเสีย จึง ยังไมไดจําหนายที่ดินและสิ่งปลูกสรางดังกลาวก็ยังเปน
ครบองคประกอบความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา ของ ซ. เมื่อ ซ. ถึงแกความตายที่ดินและสิ่งปลูกสรางนั้น
มาตรา 350 ยอมเปนมรดกของ ซ. โจทกในฐานะที่เปนทายาทโดยธรรม
ของ ซ. จึงมีอํานาจฟองขอแบงทรัพยมรดกดังกลาวจาก
คําพิพากษาฎีกาที่ 301/2538 จําเลยได
ขณะที่โจทกซื้อที่ดินพิพาทจากบริษัท ย. จํากัด
โจทก เ ป น บุ ค คลต า งด า ว นิ ติ ก รรมการซื้ อ ขายที่ ดิ น คําพิพากษาฎีกาที่ 6056/2539
พิพาทจึงตองหามชัดแจง ตาม ป. ที่ดินมาตรา 86 และ โจทกที่ 2 ซึ่งเปนคนตางดาวมีสิทธิทําสัญญา
ตกเปนโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 113 เดิม (มาตรา 150 ที่ จะซื้อขาย ที่ดินจากจําเลยไดเพราะกฎหมายมิไดหามขาด
แกไขใหม) แตผลของการที่นิติกรรมเปนโมฆะดังกลาว มิใหถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน โดยคนตางดาวอาจขออนุญาต
ไมทําใหนิติกรรมเสียเปลาไป ยังคงมีผลตามกฎหมายอยู ตอ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงมหาดไทยถื อ กรรมสิ ท ธิ์
แตโจทกไมมีสิทธิถือกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาท ตองจัดการ ที่ดินได สัญญาจะซื้อที่ดินจึงไมเปนโมฆะหรือโมฆียะ
จํ า หน า ยตาม ป. ที่ ดิ น มาตรา 94 และการบั ง คั บ ให เมื่อสัญญามีผลบังคับและยังไมระงับ โจทกที่ 2 ยอมฟอง
จําหนายดังกลาวหมายความเฉพาะที่ดินพิพาทเทานั้น ไม ขอบังคับใหจําเลยปฏิบัติตามสัญญาได แตศาลจะบังคับ
รวมถึ ง สิ่ ง ปลู ก สร า งพิ พ าทด ว ยเพราะคนต า งด า วไม ให เ มื่ อ โจทก ที่ 2 ได ป ฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ ใ นการถื อ
ตองหามมิใหถือกรรมสิทธิ์สิ่งปลูกสรางแตประการใด กรรมสิทธิ์กอน เมื่อโจทกที่ 2 ฟองคดีโดยยังมิไดปฏิบัติ
ใหครบหลักเกณฑดังกลาวก็ตองยกฟองโจทก และวาง
คําพิพากษาฎีกาที่ 1038/2538 เงื่อนไขใหโจทกที่ 2 ฟองใหมไดภายในอายุความ
แมการไดมาซึ่งที่ดินของคนตางดาวโดยฝาฝน
ตอประมวลกฎหมายที่ดินฯมาตรา86วรรคหนึ่งจะเปน คําพิพากษาฎีกาที่ 7200/2540
โมฆะ แตมาตรา 94 ก็ใหคนตางดาวจําหนายที่ดินดังกลาว ที่ดินพิพาทเปนสินสมรสระหวางเจามรดกกับ
ภายในเวลาที่ อธิ บ ดี ก รมที่ ดิ น กํ า หนดมิ ฉ ะนั้ น ก็ ใ ห จําเลย ซึ่งตามกฎหมายเจามรดกและจําเลยตางมีสวนเปน
อธิบดีกรมที่ดินมีอํานาจจําหนายที่ดินนั้นไดจําเลยที่ 1 ซึ่ง เจาของรวมกันคนละครึ่ง เมื่อเจามรดกทําพินัยกรรมยก
ลงชื่อถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแทนโจทกซึ่งเปนคนตางดาวจึง ที่ดินพิพาทให จ.สามีของโจทกที่ 1 เพียงหนึ่งในสี่สวน
ไมมีอํานาจจําหนายโดยพลการการที่จําเลยที่1ขายที่ดิน ของเนื้ อ ที่ ทั้ ง หมดไม เ กิ น ไปจากส ว นที่ เ จ า มรดกเป น
พรอมบานพิพาทใหแ กจําเลยที่2โดยพลการถือ วาเปน เจาของ จึงอยูในอํานาจของเจามรดกที่จะทําพินัยกรรม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


304
ได ขอกําหนดแหงพินัยกรรมในสวนนี้จึงมีผลบังคับตาม การที่ เ จ า มรดกยื่ น คํ า ร อ งขอต อ ศาลเพื่ อ ขอ
กฎหมาย ขณะทําพินัยกรรมไมปรากฏวาเจามรดกทราบ อนุญาตนําที่ดินพิพาทไปจดทะเบียนจํานองขณะที่จําเลย
วา จ. สามีของโจทกที่ 1 ซึ่งเปนคนตางดาว ไมมีทาง ยัง เป น ผู เ ยาว เป น การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย และแม เ จ า
ไดมาซึ่งที่ดินในประเทศไทย เนื่องจากเจามรดกซึ่งเปน มรดกเปนบุคคลตางดาวไดที่ดินมาโดยไมชอบดวย ป.
ค น ต า ง ด า ว เ ช น เ ดี ย ว กั น เ ค ย ไ ด รั บ อ นุ ญ า ต จ า ก ที่ดิน มาตรา 86 แตเจามรดกยังมีสิทธิไดรับผลตาม ป.
รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงมหาดไทยให ซื้ อ ที่ ดิ น ใน ที่ ดิ น มาตรา 94 ในอั น ที่ จ ะจั ด การจํ า หน า ยที่ ดิ น นั้ น
ประเทศไทยมาก อ น จึ ง เข า ใจว า จ. คงขออนุ ญ าตรั บ ได ตราบใดที่ยังมิไดจําหนาย ที่ดินพิพาทและโรงงานก็
มรดกในส ว นของที่ ดิ น พิ พ าทได เ ช น เดี ย วกั น ทั้ ง ตาม ยังคงเปนของเจามรดก ซึ่งอาจทําพินัยกรรมยกใหแกผูใด
ประมวลกฎหมายที่ ดิ น มาตรา 46 ก็ บั ญ ญั ติ ใ ห ค นต า ง ไดทั้งสิ้น
ด า วมี สิ ท ธิ ถื อ ครองที่ ดิ น ในประเทศไทยได ต าม จําเลยในฐานะผูจัดการมรดกเปนผูครอบครอง
สนธิสัญญาตาง ๆ และไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการ ที่ดินพิพาทแทนโจทกทั้งสองผูเปนทายาทตามพินัยกรรม
กระทรวงมหาดไทย ซึ่งแม จ.จะไมไดรับ อนุญาตจาก ตราบใดที่จําเลยยังมิไดแบงปนที่ดินพิพาทใหแกโจทก
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยใหถือครองที่ดินได ทั้ ง สอง ย อ มต อ งถื อ ว า การจั ด การมรดกยั ง ไม เ สร็ จ
จ. ก็ยังมีสิทธินําที่ดินพิพาทซึ่งรับมรดกมาจําหนายจาย สิ้น อายุความยังไมเริ่มตนนับ ฟองของโจทกทั้งสองยัง
โอนไดตามประมวลกฎหมายที่ดิ นมาตรา 94 ดังนี้ ไมขาดอายุความ
พินัยกรรมของเจามรดกจึงมิไดมีวัตถุประสงคตองหาม
ชัดแจงโดยกฎหมาย ไมเปนโมฆะ แมจําเลยจะเปน มาตรา 94
ทายาทโดยธรรมของเจ า มรดก แต เ มื่ อ เจ า มรดกทํ า
คําพิพากษาฎีกาที่ 3028/2525
พิ นั ย กรรมยกทรั พ ย ม รดกให ผู อื่ น ทั้ ง หมดโดยจํ า เลย
การที่คนตางดาวไดที่ดินมาโดยไมชอบดวย ป.
ไมไดรั บ มรดกเลย จํ าเลยจึงเปนผูถูกตัดมิใหรับ มรดก
ที่ดิน มาตรา 86 ก็มิใชวาจะไมมีผลใด ๆ เสียเลย เพราะ
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1608
คนตางดาวยังมีสิทธิไดรับผลตามมาตรา 94 ในอันที่จะ
วรรคทาย ไมอยูในฐานะเปนทายาทของเจามรดกที่ยก
จัดจําหนายที่ดินนั้นภายในเวลาที่อธิบดีกําหนด ฉะนั้น
อายุความ 10 ป ตามมาตรา 1755 มาใชยันตอ จ. ผูรับ
ศาลจึงพิพากษาตามยอมใหที่ดินตกแกโจทกซึ่งเปนคน
พินัยกรรมและโจทกทั้งสี่ซึ่งเปนทายาทโดยธรรมของ จ.
ตางดาวได ไมขัดตอมาตรา 86
ได

คําพิพากษาฎีกาที่ 1492/2528
คําพิพากษาฎีกาที่ 2752/2543
โจทกซึ่งเปนคนตางดาวทําสัญญาใหจําเลยทั้ง
โจทกทั้ง สองฟอ งให จํ าเลยแบ งที่ดิ นอัน เป น
สามถือกรรมสิทธิ์ในโฉนดที่ดินและตึกพิพาทแทน ได
ทรัพยมรดกตามพินัยกรรม โดยอางวาเจามรดกซึ่งเปน
ฟองจําเลยทั้งสามขอใหยึดที่ดินและตึกพิพาทออกขาย
คนตา งดา วซื้ อ ที่ดิ นดั ง กล า วแลว ใส ชื่ อ จํ า เลยเป นผู ถื อ
ทอดตลาดนํ า เงิ น มาชํ า ระให โ จทก ก าร ที่ คู ค วามทํ า
กรรมสิทธิ์แทน จึงไมจําตองบรรยายฟองถึงสนธิสัญญา
สัญญาประนีประนอมยอมความกัน โจทกไดรับเงินคา
ระหว า งประเทศไทยกั บ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ว า
เชาที่ดินและตึกพิพาทตลอดชีวิตของโจทกแทนเงินจาก
ยินยอมใหเจามรดกซึ่งเปนคนตางดาวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน
การขายทอดตลาด โดยโจทกยกกรรมสิทธิ์ในทรัพยนั้น
ในประเทศไทยหรื อ ไม เพราะเจ า มรดกมิ ไ ด ถื อ
ใหแ กจําเลยที่ 2 และที่ 3 เปนการตกลงกันในขอบเขต
กรรมสิทธิ์เอง ฟองของโจทกไมเคลือบคลุม
แห ง ประเด็ น ในคดี ห รื อ เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ประเด็ น ในคดี
แล ว คํ า พิ พ ากษาตามยอมก็ ไ ม ขั ด ต อ บทบั ญ ญั ติ ข อง

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


305
กฎ หม าย อั น เ กี่ ยว ด ว ย ค ว า ม ส ง บ เ รี ย บ ร อ ย ข อ ง คําพิพากษาฎีกาที่ 1038/2538
ประชาชน เพราะเปนการที่โจทกไดจําหนายที่ดินและตึก แมการไดมาซึ่งที่ดินของคนตางดาวโดยฝาฝน
พิ พ าทตามบทบั ญ ญั ติ ข องประมวลกฎหมายที่ ดิ น ตอประมวลกฎหมายที่ดินฯมาตรา86วรรคหนึ่งจะเปน
มาตรา 94 และไมเปนการขัดตอประมวลกฎหมายที่ดิน โมฆะ แตมาตรา 94 ก็ให คนตางดาว จําหนายที่ดิน
มาตรา 86 และมาตรา 113 ศาลยอมพิพากษาใหเปนไป ดังกลาวภายในเวลาที่ อธิบดีกรมที่ดินกําหนดมิฉะนั้นก็
ตามยอมได ใหอธิบดีกรมที่ดินมีอํานาจจําหนายที่ดินนั้นไดจําเลยที่ 1
ซึ่งลงชื่อถือกรรมสิทธิ์ที่ดินแทนโจทกซึ่งเปนคนตางดาว
คําพิพากษาฎีกาที่ 2162/2537 จึง ไม มี อํา นาจจํา หน า ยโดยพลการการที่ จํ า เลยที่ 1ขาย
แมการที่คนตางดาวไดที่ดินมาโดยมิชอบดวย ที่ดินพรอมบานพิพาทใหแกจําเลยที่2โดยพลการถือวา
ประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 86 จะทําใหคนตางดาว เปนการโตแยงสิทธิของโจทกโจทกจึงมี อํานาจฟองให
นั้ น ถื อ สิ ท ธิ ห รื อ ใช สิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น ที่ ไ ด ม าอย า งเจ า ของ เพิกถอนการโอนขายได
กรรมสิทธิ์ไมไดและตองจําหนายที่ดินนั้นไปตามมาตรา
94 แตก็มิใชวาการไดมาซึ่งที่ดินของคนตางดาวจะไมมี คําพิพากษาฎีกาที่ 5825/2539
ผลเสียเลย เนื่องจากคนตางดาวยังคงมีสิทธิไดรับผลตาม แม ซ. เปนบุคคลตางดาวไดที่ดินมาโดยไมชอบ
มาตรา 94 ทั้งยังมีสิท ธิไดรับชําระราคาที่ดินซึ่งไดจาก ดวยประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 86 แตการไดที่ดิน
การจําหนายตามมาตรา 54 ดังนั้น แมโจทกเปนคนตาง มานั้นก็มิใชวาจะไมมีผลใด ๆ เสียเลยเพราะ ซ. ยังมีสิทธิ
ดาวโจทกก็มีสิทธิเรียกรองใหจําเลยที่ 1 แบงทรัพยสิน ไดรับผลตามมาตรา 94 ในอันที่จะจัดการจําหนายที่ดินนั้น
ที่ ดิ น และบ า นซึ่ ง โจทก กั บ จํ า เลยที่ 1 ร ว มกั น ซื้ อ มาได ไดภายในเวลาที่อธิบดีกําหนดหรืออธิบดีอาจจําหนายที่ดิน
กรณีถือวาคดีแพงที่โจทกฟองขอแบงทรัพยจากจําเลยที่ นั้ นได จึ ง ต อ งถื อ ว า ตราบใดที่ ซ.หรื อ อธิ บ ดี ยั ง ไม ไ ด
1 โจทกมีฐานะเปนเจาหนี้ของจําเลยที่ 1 การกระทําของ จําหนายที่ดินและสิ่งปลูกสรางดังกลาวก็ยังเปนของ ซ.
จํ า เลยที่ 1 ที่โ อนขายที่ดิ น และบ านดั ง กล า วไปเสี ย จึ ง เมื่อ ซ. ถึงแกความตายที่ดินและสิ่งปลูกสรางนั้นยอมเปน
ครบองคประกอบความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มรดกของ ซ. โจทกในฐานะที่เปนทายาทโดยธรรม ของ ซ.
มาตรา 350 จึงมีอํานาจฟองขอแบงทรัพยมรดกดังกลาวจากจําเลยได

คําพิพากษาฎีกาที่ 301/2538 คําพิพากษาฎีกาที่ 6059/2539


ขณะที่โจทกซื้อที่ดินพิพาทจากบริษัท ย. จํากัด โจทกที่ 2 ซึ่งเปนคนตางดาวมีสิทธิทําสัญญา
โจทกเปนบุคคลตางดาว นิติกรรมการซื้อขายที่ดินพิพาท จะซื้อขายที่ดินจากจําเลยได เพราะกฎหมายมิไดหามขาด
จึงตองหามชัดแจง ตาม ป. ที่ดินมาตรา 86 และตกเปน มิใหถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน โดยคนตางดาวอาจขออนุญาต
โมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา 113 เดิม (มาตรา 150 ที่แกไข ตอ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงมหาดไทยถื อ กรรมสิ ท ธิ์
ใหม) แตผลของการที่นิติกรรมเปนโมฆะดังกลาว ไมทํา ที่ ดิ น ได สั ญ ญาจะซื้ อ ขายที่ ดิ น จึ ง ไม เ ป น โมฆะหรื อ
ใหนิติกรรมเสียเปลาไป ยังคงมีผลตามกฎหมายอยู แต โมฆียะ เมื่อสัญญามีผลบังคับและยังไมระงับ โจทกที่ 2
โจทก ไ ม มี สิ ท ธิ ถื อ กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น พิ พ าท ต อ งจั ด การ ยอมฟองขอบังคับใหจําเลยปฏิบัติตามสัญญาได แตศาล
จํ า หน า ย ตาม ป. ที่ ดิ น มาตรา 94 และการบั ง คั บ ให จะบังคับใหเมื่อโจทกที่ 2 ไดปฏิบัติตามหลักเกณฑใน
จําหนายดังกลาวหมายความเฉพาะที่ดินพิพาทเทานั้น ไม การถือกรรมสิทธิ์กอน เมื่อโจทกที่ 2 ฟองคดี โดยยังมิได
รวมถึ ง สิ่ ง ปลู ก สร า งพิ พ าทด ว ยเพราะคนต า งด า วไม ปฏิ บั ติ ใ ห ค รบหลั ก เกณฑ ดั ง กล า วก็ ต อ งยกฟ อ งโจทก
ตองหามมิใหถือกรรมสิทธิ์สิ่งปลูกสรางแตประการใด และวางเงื่อนไขใหโจทกที่ 2 ฟองใหมไดภายในอายุความ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


306

คําพิพากษาฎีกาที่ 7200/2540 ระหว า งประเทศไทยกั บ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ว า


ที่ดินพิพาทเปนสินสมรสระหวางเจามรดกกับ ยินยอมใหเจามรดกซึ่งเปนคนตางดาวถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน
จําเลย ซึ่งตามกฎหมายเจามรดกและจําเลยตางมีสวนเปน ในประเทศไทยหรื อ ไม เพราะเจ า มรดกมิ ไ ด ถื อ
เจาของรวมกันคนละครึ่ง เมื่อเจามรดกทําพินัยกรรมยก กรรมสิทธิ์เอง ฟองของโจทกไมเคลือบคลุม
ที่ดินพิพาทให จ.สามีของโจทกที่ 1 เพียงหนึ่งในสี่สวน การที่ เ จ า มรดกยื่ น คํ า ร อ งขอต อ ศาลเพื่ อ ขอ
ของเนื้ อ ที่ ทั้ ง หมดไม เ กิ น ไปจากส ว นที่ เ จ า มรดกเป น อนุญาตนําที่ดินพิพาทไปจดทะเบียนจํานองขณะที่จําเลย
เจาของ จึงอยูในอํานาจของเจามรดกที่จะทําพินัยกรรม ยัง เป น ผู เ ยาว เป น การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย และแม เ จ า
ได ขอกําหนดแหงพินัยกรรมในสวนนี้จึงมีผลบังคับตาม มรดกเปนบุคคลตางดาวไดที่ดินมาโดยไมชอบดวย ป.
กฎหมาย ขณะทําพินัยกรรมไมปรากฏวาเจามรดกทราบ ที่ดิน มาตรา 86 แตเจามรดกยังมีสิทธิไดรับผลตาม ป.
วา จ.สามีของโจทกที่ 1 ซึ่งเปนคนตางดาว ไมมีทางไดมา ที่ดิน มาตรา 94 ในอันที่จะจัดการจําหนายที่ดินนั้นได
ซึ่งที่ดินในประเทศไทย เนื่องจากเจามรดกซึ่งเปนคนตาง ตราบใดที่ยังมิไดจําหนาย ที่ดินพิพาทและโรงงานก็ยังคง
ดาวเชนเดียวกันเคยได รับ อนุญาตจากรัฐมนตรีวาการ เปนของเจามรดก ซึ่งอาจทําพินัยกรรมยกใหแกผูใดได
กระทรวงมหาดไทยให ซื้ อ ที่ ดิ น ในประเทศไทยมา ทั้งสิ้น
กอน จึงเขาใจวา จ. คงขออนุญาตรับมรดกในสวนของ จําเลยในฐานะผูจัดการมรดกเปนผูครอบครอง
ที่ ดิ น พิ พ าทได เ ช น เดี ย วกั น ทั้ ง ตามประมวลกฎหมาย ที่ดินพิพาทแทนโจทกทั้งสองผูเปนทายาทตามพินัยกรรม
ที่ดิน มาตรา 46 ก็บัญญัติใหคนตางดาวมีสิทธิถือครอง ตราบใดที่จําเลยยังมิไดแบงปนที่ดินพิพาทใหแกโจทก
ที่ดินในประเทศไทยไดตามสนธิสัญญาตาง ๆ และไดรับ ทั้ ง สอง ย อ มต อ งถื อ ว า การจั ด การมรดกยั ง ไม เ สร็ จ
อนุญาตจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ซึ่งแม จ. สิ้น อายุความยังไมเริ่มตนนับ ฟองของโจทกทั้งสองยัง
จะไมไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ไมขาดอายุความ
ใหถือครองที่ดินได จ. ก็ยังมีสิทธินําที่ดินพิพาทซึ่งรับ
มรดกมาจําหนายจายโอนไดตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 103
มาตรา 94 ดั ง นี้ พิ นั ย กรรมของเจ า มรดกจึ ง มิ ไ ด มี คําพิพากษาฎีกาที่ 933/2537
วัตถุประสงคตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย ไมเปนโมฆะ เงินคาธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติ
แมจําเลยจะเปนทายาทโดยธรรมของเจามรดก แตเมื่อเจา กรรมในการโอนที่ดินเปนเงินที่รัฐเรียกเก็บจากราษฎร
มรดกทําพินัยกรรมยกทรัพยมรดกใหผูอื่นทั้งหมดโดย เป น ค า ตอบแทนที่ รั ฐ ให บ ริ ก ารแก ร าษฎรในการให
จําเลยไมไดรับ มรดกเลย จําเลยจึงเปนผูถูกตัดมิใหรับ ราษฎรไดสิทธิหรือกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพยการที่
มรดกตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา โจทก เ ปน ผู ป ระมูล ซื้ อ ที่ ดิ น ได จ ากการขายทอดตลาด
1608 วรรคทาย ไมอยูในฐานะเปนทายาทของเจามรดกที่ และจดทะเบี ย นรั บ โอนที่ ดิ น ตามคํ า สั่ ง ของศาล เงิ น
ยกอายุความ 10 ปตามมาตรา 1755 มาใชยันตอ จ. ผูรับ คาธรรมเนียมการโอนที่ดินจึงเปนเงินคาธรรมเนียม ตาม
พินัยกรรมและโจทกทั้งสี่ซึ่งเปนทายาทโดยธรรมของ จ. ได ป.ที่ดินฯ มาตรา 103 เปนเงินที่จําเลยที่ 2 ตัวแทนจําเลย 1
เรียกเก็บจากโจทกโดยชอบดวยกฎหมายแมตอมาศาล
คําพิพากษาฎีกาที่ 2752/2543 ฎีกาจะมีคําสั่งเพิกถอนการขายทอดตลาดที่ดินที่โจทก
โจทกทั้ง สองฟอ งให จํ าเลยแบ งที่ดิ นอัน เป น ประมู ล ซื้ อ ได แ ละให จ ดทะเบี ย นใส ชื่ อ ล.เป น ผู ถื อ
ทรัพยมรดกตามพินัยกรรม โดยอางวาเจามรดกซึ่งเปน กรรมสิ ท ธิ์ เ หมื อ นเดิ ม แล ว ให เ จ า พนั ก งานบั ง คั บ คดี
คนตา งดา วซื้ อ ที่ดิ นดั ง กล า วแลว ใส ชื่ อ จํ า เลยเป นผู ถื อ ประกาศขายทอดตลาดใหมการเพิกถอนการจดทะเบียน
กรรมสิทธิ์แทน จึงไมจําตองบรรยายฟองถึงสนธิสัญญา โอนที่ดินดังกลาวไมใชเกิดจากการกระทําของจําเลยที่ 2

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


307
ตั ว แทนจํ า เลยที่ 1 ซึ่ ง ตามประมวลที่ ดิ น ฯ ก็ ไ ม มี ของคดีมีขอพิพาท การที่ผูรองนําคดีเขาสูศาลโดยทําเปน
บทบัญ ญัติใหจํ าเลยที่ 1 คืนเงินคา ธรรมเนีย มการโอน คํ า ร อ งขอเพราะถื อ เป น การใช สิ ท ธิ ท างศาล ไม มี
ที่ดินแกโจทก และเงินคาธรรมเนียมดังกลาวจําเลยที่ 1 ก็ กฎหมายรองรับใหกระทําได
ไดสงเปนรายไดของแผนดินไปแลว โจทกจึงไมมีสิทธิ
ฟองเรียกเงินคาธรรมเนียมการโอนที่ดินคืนจากจําเลยที่ 1 มาตรา 104
คําพิพากษาฎีกาที่ 262/2540
คําพิพากษาฎีกาที่ 7543/2548 ราคาประเมินของเจาพนักงานบังคับคดีจะสูง
คําพิพากษาศาลฎี กาในคดีกอ นที่วินิจ ฉัย วาผู หรือต่ํากวาราคาประเมินของเจาพนักงานที่ดินมิไดเปน
รองเปนเจาของที่ดินตามคํารองขอ เปนเพียงการวินิจฉัย เครื่องบงชี้วาราคาประเมินของเจาพนักงานบังคับคดีไม
รองรับสิทธิในที่ดินใหแกผูรอง ทําใหผูรองมีสิทธิยื่นคํา ชอบต่ํากวาราคาทองตลาดที่ซื้อขายกันจริงเพราะราคา
ขอตอเจาพนักงานที่ดินใหแกชื่อเจาของกรรมสิทธิ์ใน ประเมิ น ของเจ า พนั ก งานที่ ดิ น มี วั ต ถุ ป ระสงค ใ ช เ ป น
โฉนดที่ดินมาเปนชื่อของผูรองตามที่ประมวลกฎหมาย เกณฑ กํ า หนดการเรี ย กเก็ บ ค า ธรรมเนี ย มในการจด
ที่ดิน มาตรา 57 บัญญัติไว แตเมื่อการใชสิทธิของผูรอง ทะเบียนนิติกรรมเทานั้นราคาประเมินของเจาพนักงาน
ถู ก เจ าพนั ก งานที่ ดิน ปฏิ เสธโดยอ า งเหตุ ผูร อ งไม ย อม บังคับคดีจะสูงหรือจะต่ําตองเทียบกับราคาซื้อขายกัน
ชําระคาธรรมเนียมการจดทะเบีย นตามมาตรา 103 จึง จริงตามทองตลาดขณะกําหนดราคาจึงไมมีเหตุจะเพิก
เป น กรณี ที่ เ จ า พนั ก งานที่ ดิ น โต แ ย ง สิ ท ธิ ข องผู ร อ ง ถอนราคาประเมินของเจาพนักงานบังคับคดี การที่ผูรอง
โดยตรง ตองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง อางราคาประเมินที่ดินและสิ่งปลูกสรางของเจาพนักงาน
มาตรา 55 ผูรอ งตองนําคดีมาสูศ าลเปนคดีมีขอ พิพาท บั ง คั บ คดี เ ปรี ย บเที ย บกั บ ราคาประเมิ น ที่ ดิ น ของเจ า
โดยตองฟองเจาพนักงานที่ดินตอศาลเพื่อใหวินิจฉัยวา พนักงานที่ดินและราคาสิ่งปลูกสรางที่จําเลยคิดเอาเอง
เจาพนักงานที่ดินมีเหตุตามกฎหมายในการไมยอมจด นั้นทางไตสวนฟงไมไดวาเจาพนักงานบังคับคดีทําการ
ทะเบียนหรือไม ฉะนั้นการที่ผูรองนําคดีเขาสูศาลโดยทํา ขายทอดตลาดทรัพยไดราคาต่ํากวาราคาทองตลาดโดย
เปนคํารองขอเพราะถือวาเปนการใชสิทธิทางศาล ทั้ง ๆ ไมสุจริตและฝาฝนตอบทบัญญัติของกฎหมายแตอยางใด
ที่ ไ ม มี บ ทบั ญ ญั ติ ก ฎหมายรองรั บ ให ก ระทํ า ได จึ ง ไม กรณีไมมีเหตุตามกฎหมายจะเพิกถอนการขายทอดตลาด
ถูกตอง
คําพิพากษาฎีกาที่ 6315/2549
คําพิพากษาฎีกาที่ 7543/2548 ป.พ.พ. มาตรา 457 ใชบังคับแกคูสัญญาในการ
แมคําพิพากษาศาลฎีกาในคดีกอนจะวินิจฉัยวา ทํ า สั ญ ญาซื้ อ ขาย ซึ่ ง เป น เรื่ อ งระหว า งผู ซื้ อ และผู ข าย
ผูรองเปนเจาของกรรมสิทธิ์ที่ดินตามคํารอง ก็เปนเพียง เทานั้น สวนคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
การรับรองสิทธิในที่ดินแกผูรอง ทําใหผูรองมีสิทธิยื่นคํา ที่ตอ งชําระตาม ป.ที่ดิน นั้น เป นเงิน ที่รัฐ เรีย กเก็บ จาก
ขอตอเจาพนักงานที่ดินใหแกชื่อเจาของกรรมสิทธิ์ใน ราษฎรเป นค าตอบแทนที่ รั ฐให บริ การแก ราษฎร ซึ่ ง ป.
โฉนดมาเปนชื่อผูรอง ตามที่ ป. ที่ดิน มาตรา 57 บัญญัติ ที่ดิน มาตรา 104 บัญญัติใหผูขอจดทะเบียนเปนผูเสีย
ไว การที่เจาพนักงานที่ดินปฏิเสธการใชสิทธิของผูรอง คาธรรมเนียม อันเปนหนี้ที่เกิดขึ้นโดยกฎหมายและมี
โดยอางเหตุวาผูรองไมยินยอมชําระคาธรรมเนียมการจด ลักษณะเปนหนี้ที่จะแบงกันชําระมิได โดยไมตองคํานึง
ทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตาม ป. ที่ดิน มาตรา 103 เปน วาในระหวางผูที่ยื่นคําขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
กรณีที่เ จา พนัก งานที่ดิ น โตแ ยง สิท ธิข องผูร อ งตาม ดวยกันนั้นฝายใดตกลงเปนผูชําระคาธรรมเนียม ดังนั้น
ป.วิ.พ. มาตรา 55 ผูรองพึงตองนําคดีมาสูศาลในลักษณะ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


308
โจทกยอมมีสิทธิเรียกใหผูซื้อหรือผูขายคนใดคนหนึ่ง ใหถูกตองตามระเบียบ และพนักงานเจาหนาที่มีคําสั่ง
หรือทั้งสองคนชําระคาธรรมเนียมที่ขาดอยูทั้งหมดได เปนหนังสือใหจําเลยออกจากที่ดินภายในระยะเวลาที่
กํ า หนด แล ว จํ า เลยไม ป ฏิ บั ติ ต ามคํ า สั่ ง ของพนั ก งาน
มาตรา 108, 108 ทวิ เจาหนาที่ ฟองโจทกจึงขาดสาระสําคัญไมครบองค
ความผิด จะลงโทษจําเลยตามประมวลกฎหมายที่ดิน
คําพิพากษาฎีกาที่ 2270/2526
มาตรา 9, 108 ไมได
ประมวลกฎหมายที่ดินบัญญัติความผิดในการ
เขายึดถือครอบครองที่ดินของรัฐไวเปน 2 กรณี กลาวคือ
ถาเปนกรณีเขายึดถือครอบครองกอนวันที่ประกาศของ คําพิพากษาฎีกาที่ 1617/2527
คณะปฏิ วั ติ ฉ บั บ ที่ 96 ลงวั น ที่ 29 กุ ม ภาพั น ธ 2515 ใช ศาลชั้ น ต น พิ พ ากษาว า จํ า เลยมี ค วามผิ ด ต อ
บังคับก็เปนความผิดตามมาตรา 108 ถาเปนกรณีเขา ประมวลกฎหมายที่ดิน ลงโทษจําเลยกับใหจําเลยและ
ยึดถือครอบครองนับตั้งแตวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ บริวารออกไปจากที่สาธารณสมบัติของแผนดิน ตอมา
ดังกลาวใชบังคับ ก็เปนความผิดตามมาตรา 108 ทวิ ซึ่งมี จําเลยไมปฏิบัติตามคําบังคับของศาล เมื่อไดความตาม
องคประกอบแตกตางกัน ทางไตสวนวาบานของจําเลยบางสวนซึ่งจําเลยอางวาอยู
โจทก ฟ อ งว า จํ า เลยกระทํ า ผิ ด ซึ่ ง เป น เวลา นอกที่ ส าธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น อยู ใ นที่ ส าธารณ
ภายหลังที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 96 ใชบังคับ สมบัติของแผนดิน ดังนี้ จําเลยก็ตองออกไปจากที่ดินนั้น
แลว และศาลลางทั้งสองพิพากษายืนตามกันใหลงโทษ
จํ า เลยตามมาตรา 108 ทวิ หาใช มาตรา108 ไม การที่ คําพิพากษาฎีกาที่ 3918/2529
จํา เลยฎี ก าว า การกระทํ า ของจํ าเลยไมค รบหลัก เกณฑ ที่พิพาทแมทางราชการจะเคยใหเอกชนเชาอยู
หรือไมครบองคประกอบความผิดตามมาตรา 108 จึงไม 3 ป ก็เลิกเชา แตประชาชนสัญจรไปมาในที่พิพาทตลอด
มีผลที่จะเปลี่ยนแปลงคําพิพากษาศาลอุทธรณเปนอยาง มาถือไดวา ที่พิพาทยังคงเปนที่ดินของรัฐเปนสาธารณ
อื่นได สมบัติของแผนดินที่ประชาชนใชรวมกัน โจทกมีอํานาจ
ฟ อ งให ล งโทษจํ า เลยตามประมวลกฎหมายที่ ดิ น
คําพิพากษาฎีกาที่ 2634/2526 มาตรา 108 ทวิ ได
แม ข อ เท็ จ จริ ง จะฟ ง ได ต ามฟ อ งของโจทก
วา ที่ดิ นที่ จํา เลยเขา ไปยึด ถือ ครอบครองเป นสาธารณ คําพิพากษาฎีกาที่ 2356/2530
สมบัติของแผนดินที่ประชาชนใชรวมกัน และจําเลยมิได จําเลยขุดทรายในแมน้ําซึ่งเปนสาธารณสมบัติ
มี สิ ท ธิ ค รอบครองหรื อ มิ ไ ด รั บ อนุ ญ าตจากพนั ก งาน ของแผนดินโดยไมไดรับอนุญาต เปนการทําลายหรือทํา
เจาหนาที่ แตเมื่อจําเลยเขาไปยึดถือครอบครองกอนวันที่ ให เ สื่ อ มสภาพที่ ท รายอั น เป น ความผิ ด ตามประมวล
4 มีนาคม 2515 ซึ่งเปนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ กฎหมายที่ดิน และรถยนตที่จําเลยใชบรรทุกทรายซึ่งขุด
ฉบับที่ 96 ใชบังคับ จําเลยจึงไมมีความผิดตามประมวล ไดจากแมน้ํา ถือวาเปนยานพาหนะที่ไดใชเปนอุปกรณ
กฎหมายที่ดินมาตรา 9,108 ทวิ ให ไ ด รั บ ผลในการกระทํ า ความผิ ด ตามประมวล
โจทก ไ ม ไ ด บ รรยายฟ อ งด ว ยว า พนั ก งาน กฎหมายที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคทาย จึงตองริบ
เจาหนาที่หรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากพนักงานเจาหนาที่
ได แ จ ง เป น หนั ง สื อ ให จํ า เลยปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บที่
คณะกรรมการกําหนด แลวจําเลยเพิกเฉยหรือไมปฏิบัติ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


309

คําพิพากษาฎีกาที่ 3947/2530 365 หาไดไม เพราะบทบัญญัติดังกลาวมุงประสงคลงโทษ


โจทก ฟ อ งว า จํ า เลยบุ ก รุ ก เข า ไปยึ ด ถื อ ผูบุกรุกอสังหาริมทรัพยของผูอื่น ไมใชลงโทษผูบุกรุกที่
ครอบครอง ที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ สาธารณสมบัติของแผนดิน ทั้งการกระทําของจําเลยเปน
ประชาชนใชรวมกันเมื่อระหวางวันที่ 1 มกราคม 2518 เพี ย งเข า ไปถื อ เอาประโยชน ใ นที่ ส าธารณประโยชน
ถึงวันที่ 24 ตุลาคม 2527 ขอใหลงโทษตามประมวล ไม ไ ด ป ระสงค จ ะเข า ไปทํ า ให ที่ นั้ น เสื่ อ มค า หรื อ ไร
กฎหมายที่ดิน มาตรา 9, 108 ทวิ เมื่อขอเท็จจริงไดความ ประโยชน จึงลงโทษจําเลยในความผิดตามประมวล
วาจําเลยเขายึดถือครอบครองที่ดินตามวันเวลาดังกลาว กฎหมายอาญา มาตรา 360 ไมไดอีกเชนกัน
ในฟอง โจทกหาจําตองบรรยายฟองวา จําเลยเพิกเฉยไม
ปฏิ บั ติ ใ ห ถู ก ระเบี ย บและไม ป ฏิ บั ติ ต ามคํ า สั่ ง ของ คําพิพากษาฎีกาที่ 2431/2532
พนักงานเจาหนาที่ ตามความในมาตรา108 ไม เพราะ การที่ ศ าลจะมี อํ านาจสั่ง ให บุ ค คลใดออกไป
จําเลยเขายึดถือ ครอบครอง ที่ดินภายหลังที่ประกาศของ จากที่ ดิ น ของรั ฐ นั้ น ต อ งเป น กรณี ที่ ศ าลพิ พ ากษา
คณะปฏิวัติฉบับที่ 96 ใชบังคับแลว ว า บุ ค คลดั ง กล า วได ก ระทํ า ความผิ ด ตามประมวล
กฎหมายที่ดิน มาตรา 9, 108 ทวิ แลว เมื่อที่พิพาทยังไม
คําพิพากษาฎีกาที่ 375/2532 อาจฟงไดแนชัดวาเปนที่สาธารณประโยชนและจําเลย
บ า นของจํ า เลยบางส ว นปลู ก รุ ก ล้ํ า เข า ไปใน ยึดถือครอบครองอยูโดยเชื่อวาตนมีสิทธิครอบครองตอ
ที่ ดิ น ชายทะเลอั น เป น สาธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ที่ จากบิดา จึงไมเปนความผิดตามบทบัญญัติดังกลาว ศาล
ประชาชนใชรวมกันเปนเนื้อที่ประมาณ60 ตารางเมตร ไมอาจสั่งใหจําเลยและบริวารออกไปจากที่พิพาทได
อยูแตเดิม จําเลยมิไดเปนผูปลูกสราง เมื่อบิดามารดา การที่จําเลยไมยอมออกจากที่พิพาทตามคําสั่ง
จําเลยถึงแกกรรมบานและที่ดินดังกลาวตกเปนสิทธิแก ของนายอําเภอเพราะเชื่อวาจําเลยมีสิทธิครอบครองซึ่ง
จําเลยโดยจําเลยอาศัยอยูที่บานหลังนี้มาตั้งแตเกิด การที่ เปนขอเท็จจริงอันเดียวเกี่ยวพันกันกับที่วินิจฉัยมาแลว
จําเลยสรางรั้วสังกะสีปดกั้นทางเดินซึ่งเปนทางสาธารณะ ว า การกระทํ า ของจํ า เลยไม เ ป น ความผิ ด ฐานบุ ก รุ ก
ที่ใชเดินสูชายทะเล เปนพฤติการณที่แสดงวาจําเลยเขาใจ จํ า เลยจึ ง ไม มี ค วามผิ ด ฐานขั ด คํ า สั่ ง เจ า พนั ก งานตาม
วาที่ดินที่ปลูกบานและที่จําเลยลอมรั้วปดกั้นทางเดินนั้น ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 368 แมปญหานี้ยุติแลว
เปนของตนโดยสุจริต จําเลยไมไดเขาไปยึดถือครอบครอง ในศาลอุทธรณศาลฎีกาก็มีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยไดตาม
ที่ดินชายทะเลโดยมีเจตนาที่จะฝาฝนตอกฎหมาย จําเลย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 185
จึงไมมีความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9, ประกอบมาตรา 215 และ 225
108 ทวิ
คําพิพากษาฎีกาที่ 3458-3461/2532
คําพิพากษาฎีกาที่ 1692/2532 แมที่ดินที่จําเลยเขาไปยึดถือครอบครองเปนสา
จําเลยเขาไปไถพูนดินและปลูกตนมะพราวใน ธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ที่ ป ระชาชนใช ร ว มกั น และ
บริเวณที่น้ําทวมถึงอันเปนหนองน้ําสาธารณะซึ่งเปนสา จํ า เลยมิ ไ ด รั บ อนุ ญ าตจากพนั ก งานเจ า หน า ที่ แต เ มื่ อ
ธารณสมบัติ ข องแผน ดิน และยัง คงอยู ใ นที่ไ มย อมรื้ อ จําเลยเขาไปยึดถือครอบครองกอนวันที่ 4 มีนาคม 2515
ถอนตนมะพราวเมื่อนายอําเภอแจงใหออก เปนความผิด ซึ่งเปนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 96 ใชบังคับ
ตามประมวลกฎหมายที่ดิ น มาตรา 108 ทวิ วรรคสอง จําเลยจึงไมมีความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ขอ 11 แตจะลงโทษ 9, 108 ทวิ
จําเลยในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362,

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


310

คําพิพากษาฎีกาที่ 1932/2533 กําหนดใหเจาหนาที่ผูนําสงหนังสือแจงบันทึกเหตุการณ


จํ า เลยบุ ก รุ ก เข า ครอบครองที่ พิ พ าทโดยรู ว า และเหตุผลในการไมย อมรับ หนังสื อ แจงไว และให มี
เปนที่สาธารณสมบัติของแผนดินที่พลเมืองใชรวมกัน มี พยานอย า งน อ ย2 คน ลงชื่ อ รั บ รองไว ใ นบั น ทึ ก นั้ น
ความผิดตาม ป.ที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคสอง ประกาศ ดวย เมื่อผูนําสงหนังสือแจงไดปฏิบัติการดังกลาวแลว
ของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96ขอ 11 สวนความผิดฐานบุกรุก นั้นใหถือวาผูฝาฝนไดรับหนังสือแจงแลว แตตามบันทึก
ตาม ป.อ. มาตรา 362,365 กฎหมายมุงประสงคจะลงโทษ ขอความของเจาหนาที่ผูนําหนังสือแจงและคําสั่งใหออก
ผูที่บุกรุกอสังหาริมทรัพยของผูอื่นเทานั้นไมใชบทบัญญัติ จากที่ดินไปสงแกจําเลย นอกจากจะไมปรากฏเหตุผลที่
ที่จะลงโทษผูบุกรุกที่สาธารณสมบัติของแผนดิน ผู ฝ า ฝ น ไม ย อมรั บ หนั ง สื อ แจ ง แล ว ยั ง ไม ป รากฏว า
เจาหนาที่ผูนําสงไดสอบถามเหตุผลเอาจากผูฝาฝนแลว
คําพิพากษาฎีกาที่ 4793/2534 บันทึกไวและไมปรากฏวาบันทึกดังกลาวเปนเอกสารที่
การดํ า เนิ น การตามวั ต ถุ ป ระสงค ข องห า ง อางอิงเกี่ยวกับจําเลยวาเปนผูเขาไปยึดถือครอบครองกน
สร า งที่ ดิ น ของรั ฐ อั น เป น การฝ า ฝ น มาตรา 9 แห ง
หุนสวนจํากัดตองดําเนินการโดยหุนสวนผูจัดการ เมื่อ
จําเลยเปนหุนส ว นผูจัด การของ หา งหุนสวนจํากัด ห. ประมวลกฎหมายที่ดิน บันทึกขอความนั้นจึงไมถูกตอง
และจําเลยเขายึดถือครอบครองที่เกิดเหตุซึ่งเปนที่ดินของ ครบถ ว นตามที่ ร ะเบี ย บกํ า หนด จะถื อ ว า จํ า เลยได รั บ
รัฐโดยมิไดมีสิทธิครอบครองและมิไดรั บอนุญ าตจาก หนั ง สื อ แจ ง อั น เป น คํ า สั่ ง เจ า พนั ก งานซึ่ ง สั่ ง การตาม
พนั ก งานเจ า หน า ที่ แม จํ า เลยเข า ยึ ด ถื อ ครอบครองใน อํา นาจที่ ก ฎหมายให ไ วแ ละทราบคํา สั่ ง นั้น แล ว หาได
ไม จํ า เลยไม มี ค วามผิ ด ตามประมวลกฎหมายอาญา
ฐานะจําเลยเปนหุนสวนผูจัดการหางดังกลาว ก็ถือวา
จําเลยเปนตัวการรวมกระทําความผิดดวย มาตรา 368 และประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 108

คําพิพากษาฎีกาที่ 1273/2535 คําพิพากษาฎีกาที่ 2311-2312/2536


ที่ดินซึ่งเปนที่สําหรับพลเมืองใชเปนทุงเลี้ยง
จําเลยเขาครอบครองที่ส าธารณประโยชน ที่
สั ต ว ร ว มกั น มาก อ น ย อ มมี ส ภาพเป น ที่ ดิ น อั น เป น
ประชาชนใชรวมกันโดยเชื่อโดยสุจริตวาจําเลยมีสิทธิ
สาธารณประโยชน ข องแผ น ดิ น สํ า หรั บ พลเมื อ งใช
ครอบครอง ตอมาทางราชการไดมีหนังสือแจงใหจําเลย
รวมกันตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยม าตรา
ทราบว า เป น ที่ ดิ น สาธารณประโยชน แ ละให จํ า เลย
1304 (2) โดยไมจําตองออกเปนพระราชกฤษฎีกา
ออกไป แตจําเลยไมยอมออก ถือวาจําเลยมีเจตนายึดถือ
ประกาศเขตที่ดินเพื่อสงวนไวเปนที่ดินสาธารณะ ตาม
ครอบครองที่เกิดเหตุซึ่งเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
พระราชบัญญัติวาดวยการหวงหามที่ดินรกรางวางเปลา
จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 108 ทวิ
อันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน พ.ศ. 2478 มาตรา 4,
วรรคสอง
5 อีก โจทกฟองวา จําเลยทั้งสองเขาไปยึดถือครอบครอง
ที่ดินของรัฐอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับ
คําพิพากษาฎีกาที่ 2079/2535
พลเมืองใชรวมกัน อันเปนการฝาฝนประมวลกฎหมาย
ตามระเบี ย บของคณะกรรมการจั ด ที่ ดิ น
ที่ดินฯ มาตรา 9, 108 ทวิ ศาลที่มีอํานาจชําระคดีอาญา
แหงชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515) วาดวยวิธีปฏิบัติในการ
ยอมมีอํานาจที่จะวินิจฉัยวา ที่ดินตามฟองเปนที่ดินของ
แจ ง และออกคํ า สั่ ง แก ผู ฝ า ฝ น มาตรา 9 แห ง ประมวล
รัฐอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับพลเมืองใช
กฎหมายที่ดินอยูกอนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับ
รวมกันหรือไม เพราะเปนองคความผิดตามบทมาตราที่
ที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ พุทธศักราช 2515 ใชบังคับ
โจทกอาง ไมจําตองเสนอเปนคดีแพงใหศาลวินิจฉัยชี้ขาด

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


311
เสียกอน จึงไมเปนการพิพากษาเกินไปจากที่โจทกกลาว ไดบัญญัติใหการกระทําเชนนั้นไมเปนความผิดตอไปไม
ใ น ฟ อ ง ส ว น ก า ร ที่ จ ะ ไ ด มี ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ต า ม จําเลยจึงไมพนจากการเปนผูกระทําผิด แตเปนกรณีที่
กฎกระทรวงฉบับที่ 26 (พ.ศ.2516) ซึ่งออกตามความใน กฎหมายที่ใชขณะกระทําผิดแตกตางกับกฎหมายที่ใช
พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดินหรือไม ไม ภายหลังกระทําความผิด ตองใชกฎหมายในสวนที่เปน
เกี่ยวของหรือกระทบตออํานาจฟองของโจทก แมระหวาง คุณแกผู กระทํ าผิด ไม วา ในทางใด จํา เลยจึง ไม ตอ งรั บ
การพิจารณาของศาลชั้นตน จะมีพระราชกฤษฎีกาถอน โทษตามมาตรา 108 ทวิ วรรคสองแตรับโทษตามมาตรา
สภาพที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับ 108 ทวิ วรรคหนึ่ง ซึ่งมีอัตราโทษเบากวา
พลเมืองใชรวมกันในทองที่ตามฟองก็ตาม ก็เพียงแตมี
ผลทําใหที่ดินที่จําเลยเขาไปยึดถือครอบครองนั้น ไมมี คําพิพากษาฎีกาที่ 3521-3522/2536
สภาพเปนสาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับประชาชน ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
ใชรวมกันตอไปตั้งแตวันที่พระราชกฤษฎีกาดังกลาวใช 229, 360 พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พ.ศ.
บังคับเทานั้น มิใชเปนกฎหมายที่บัญญัติใหการเขาไป 2456 มาตรา 117,118,120 และประมวลกฎหมายที่ดิน
ยึดถือ ครอบครองที่ดินของรัฐซึ่งเปนสาธารณสมบัติของ มาตรา 9, 108 ทวิ เปนความผิดที่กระทําตอรัฐเปนอํานาจ
แผ น ดิ น สํ า หรั บ ประชาชนใช ร ว มกั น ไม เ ป น ความผิ ด หนาที่ของพนักงานอัย การที่จ ะฟองรองขอใหล งโทษ
ตอไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 ผู ก ระทํ า ความผิ ด ตามประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณา
ความอาญา มาตรา 28(1) และพระราชบัญญัติพนักงาน
คําพิพากษาฎีกาที่ 2366-2371/2536 อัยการ พ.ศ. 2498 มาตรา 11(1) เอกชนจะฟองไดก็
คดี ค วามผิ ด ในข อ หาที่ ต อ งห า มอุ ท ธรณ ใ น ตอ เมื่ อ ไดรั บ ความเสี ย หายเปน พิเ ศษ แมโ จทกจ ะเป น
ปญ หาข อ เท็จ จริง ตามพระราชบั ญ ญั ติ จัด ตั้ง ศาลแขวง เทศบาลและมี ห น า ที่ บํ า รุ ง ทางบกทางน้ํ า ตาม
และวิ ธี พิ จ ารณาความอาญาในศาลแขวงพ.ศ. 2499 พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 50(2),53
มาตรา 22 แตคูความอุทธรณรวมมากับความผิดฐานอื่นที่ มีอํานาจหนาที่ดูแลรักษาคุมครองปองกันที่ดินอันเปน
ไมตองหามอุทธรณในปญหาขอเท็จจริง ศาลอุทธรณมี สาธารณสมบั ติ ข องแผ น ดิ น หรื อ เป น ทรั พ ย สิ น ของ
อํ า นาจวิ นิ จ ฉั ย ข อ หานั้ น ได ต ามประมวลกฎหมายวิ ธี แผนดินที่อยูในเขตเทศบาลตามคําสั่งกระทรวงมหาดไทย
พิ จ ารณาความอาญา มาตรา 185 เมื่ อ ศาลอุ ท ธรณ และดูแลรักษาลําน้ําในเขตเทศบาลตามที่อธิบดีกรมเจาทา
พิพากษากลับใหยกฟองโจทกในขอหานี้ โจทกจึงมีสิทธิ มอบหมาย ตามพระราชบั ญ ญัติการเดิ นเรื อในนานน้ํา
ฎีกาในความผิดฐานนี้ตอมาได เดิมที่ดินพิพาทเปนที่สา ไทย พ.ศ. 2456 โจทกก็ไมใชผูเสียหายไมมีอํานาจฟอง
ธารณสมบัติของแผนดินสําหรับพลเมืองใชรวมกันตอมา ขอใหลงโทษจําเลยที่ 1 ในความผิดดังกลาว
ระหว า งการพิ จ ารณาคดี ข องศาลชั้ น ต น ได มี พ ระราช
กฤษฎีกา ถอนสภาพที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของ คําพิพากษาฎีกาที่ 2741/2538
แผ น ดิ น สํ า หรั บ พลเมื อ งใช ร ว มกั น ในท อ งที่ ที่ ดิ น การครอบครองที่ ดิ น ที่ เกิ ด เหตุ ข องจํ า เลยทั้ ง
พิ พ าท ทํ า ให ที่ ดิ น พิ พ าทไม เ ป น ที่ ส าธารณสมบั ติ ข อง สามเกิดขึ้นหลังวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 96
แผ น ดิ น สํ า หรั บ พลเมื อ งใช ร ว มกั น อี ก ต อ ไปแต ที่ ดิ น พ.ศ.2515 ใชบังคับตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมาย
พิ พ าทก็ ยั ง คงมี ส ภาพเป น ที่ ดิ น อั น เป น ทรั พ ย สิ น ของ ที่ดินมาตรา 9(1) ประกอบมาตรา108วรรคแรกการ
แผนดินอยูจําเลยซึ่งเขาบุกรุกเขายึดถือครอบครองที่ดิน กระทําของจําเลยทั้งสามยอมเปนความผิดตามประมวล
พิพาทจึงยังคงมีความผิดตามประมวลที่ดิน มาตรา กฎหมายที่ดินมาตรา 9(1), 108 ทวิ ในทันทีที่จําเลยเขา
108 ทวิ วรรคหนึ่ง เพราะพระราชกฤษฎีกา ดังกลาวหา ไปยึดถือครอบครองที่ดินในที่เกิดเหตุซึ่งเปน ที่ดินของรัฐ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


312
หาจํ า ต อ งให พ นั ก งานเจ า หน า ที่ ห รื อ ผู ซื้ อ ได รั บ คําพิพากษาฎีกาที่ 5616/2539
มอบหมายจากพนั ก งานเจ า หน า ที่ แ จ ง เป น หนั ง สื อ ให ความผิดฐานบุกรุกตามประมวลกฎหมายอาญา
จําเลยทั้งสามปฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา 362, 365 กฎหมายมุงประสงคลงโทษผูบุกรุก
เสี ย ก อ นไม ความผิ ด ที่ โ จทก ฟ อ งเกิ ด ขึ้ น ตั้ ง แต ข ณะ อสังหาริมทรัพยของผูอื่นเทานั้นไมใชบทบัญ ญัติที่จ ะ
จําเลยทั้งสามเขาไปยึดถือครอบครองที่ดินในที่เกิดเหตุ ลงโทษผูบุกรุกที่สาธารณสมบัติของแผนดินซึ่งมีบัญญัติ
ซึ่ ง เป น ที่ ดิ น ของรั ฐ และจะคงเป น ความผิ ด เช น นั้ น ไวโดยเฉพาะตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 9, 108
ตลอดไปจนกวาจําเลยทั้งสามจะออกไปจากที่ดินเกิดเหตุ ทวิ วรรคสอง และแมไมมีฝายใดฎีกาศาลฎีกาก็มีอํานาจ
แมศาลอุทธรณภาค3จะฟงขอเท็จจริงดวยวากอนหนาวัน ปรับบทกฎหมายใหถูกตองได
เกิดเหตุตามฟองจําเลยทั้งสามไดเขาไปยึดถือครอบครอง
ที่ดินเกิดเหตุตั้งแตปลายป 2532 ตอเนื่องกันมาจนถึงวัน คําพิพากษาฎีกาที่ 3750/2540
เวลาเกิดเหตุตามฟองก็เปนการฟงขอเท็จจริงประกอบกัน ที่ดินพิพาทไมไดเปนที่สาธารณประโยชนมา
วาจําเลยทั้งสามกระทําผิดตามวันเวลาที่โจทกฟองจริงหา
แต เดิ ม แตก รณีเ ป น เรื่อ งที่ ท. ผูใ หญ บ านกั บ
ใชเปนการฟงขอเท็จจริงแตกตางกันในฟองไม คณะกรรมการหมูบานตองการจะใหเปนที่สาธารณะเมื่อ
ป 2525 และทางราชการยังไมไดมีการสอบเขตที่แนนอน
คําพิพากษาฎีกาที่ 3107/2539 หลังจาก ท. ไดประกาศใหเปนที่ดินสาธารณะแลว ก็ถูก
พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู หั ว ส.คัดคานแมจะมีการไกลเกลี่ยกัน ส. ก็ไมยินยอมและไม
พระราชทานที่ ดิ น พิพ าทให แ กก องทัพ เรื อ ตั้ งแต พ.ศ. ปรากฏวา ส. ออกจากที่ดินพิพาทตามคําสั่งของอําเภอแต
2465 และตอมาไดมีการออกพระราชกฤษฎีกากําหนด อยางใด ตอมาเมื่อมีการสรางวัดในที่ดินพิพาทอีก ภริยา
เปนเขตหวงหามสําหรับใชในราชการทหารพรอมดวย จําเลยซึ่งเปนบุตร ส.ทําการคัดคานจนไมสามารถสราง
แผนที่ซึ่งไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหประชาชน วั ด ได ดั ง นี้ เ ห็ น ได ว า นั บ แต ท.ได ป ระกาศจะให ที่ ดิ น
ทราบแลวทั้งตอมากรมธนารักษไดขึ้นทะเบียนเปนที่ราช พิพาทเปนที่สาธารณะฝายจําเลยก็ไดทําการคัดคานมา
พั ส ดุ โ ดยมี ก ารประกาศในราชกิจ จานุ เ บกษาอีก ถือ ว า โดยตลอด และยังไมไดมีการดําเนินคดีทางแพงพิสูจน
ประชาชนทุกคนทราบแลววาที่ดินพิพาทเปนที่ดินหวง สิทธิในที่ดินพิพาทกันใหเสร็จเด็ดขาดแตอยางใด เมื่อ
หามมิใหผูห นึ่งผูใดเข าไปยึดถือครอบครองเวน แตจ ะ ข อ เท็ จ จริ ง เกี่ ย วกั บ ที่ ดิ น พิ พ าทฟ ง ไม ไ ด ว า เป น ที่
ไดรับอนุญ าตจากพนักงานเจาหนาที่แมมีการแจงการ สาธารณะการกระทําของจําเลยจึงไมเปนความผิดตาม
ครอบครองที่ดินพิพาทก็ตามแตแบบแจงการครอบครอง ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 9,108 ทวิ วรรคสอง
ส.ค.1 มิ ใ ช คํ า อนุ ญ าตจากพนั ก งานเจ า หน า ที่ ย อ มอ า ง
ไมไดวาผูเขาไปยึดถือครอบครองในที่ดินไมมีเจตนาเขา คําพิพากษาฎีกาที่ 6432-6436/2540
ไปในที่ดินพิพาทจําเลยซื้อที่ดินพิพาทภายหลังที่พระราช ที่ดินที่ทางราชการกําหนดเปนเขตหวงหามไว
กฤษฎีกาดังกลาวใชบังคับแลวถือวาจําเลยรูอยูวาเปนที่ ใชในราชการทหารตามประกาศมณฑลนครราชสีมานั้น
หวงหามเมื่อเขาไปยึดถือครอบครองยอมมีความผิดจะ แมจะกําหนดแนวอาณาเขตไวทั้งสี่ทิศแตก็มีเนื้อที่มากถึง
อางวามีแบบแจงการครอบครองที่ดินพิพาทตามเอกสาร
ประมาณ 11,011 ไรเศษ หลักไมแกนที่อางวาปกไวใน
ส.ค.1 มายกเวนความผิดโดยอางวาไมมีเจตนากระทําผิด ระหวางหลักมุมหักทุกระยะนั้นก็ไมปรากฏวามีผูใดยัง
ไมได เห็นปกอยูในบริเวณที่ดินพิพาท การกําหนดบริเวณเขต
ปลอดภัยในราชการทหารก็ไมปรากฏวามีหลักแนวเขต
ปกไว ทั้งการนําที่ ดินดังกลาวบางส วนไปจดทะเบีย น

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


313
เปนที่ราชพัสดุก็ระบุอาณาเขตคราว ๆ การที่จะทราบวา คําพิพากษาฎีกาที่ 31/2542
ที่ดินสวนใดเปนพื้นที่ของมณฑลทหารบกที่ 21 ตองมา ป.ที่ดิน มาตรา 108 และมาตรา 108 ทวิ บัญญัติ
จากการตรวจสอบรั ง วั ด ของเจ า พนั ก งานที่ ดิ น ทาง ถึงผูกระทําการฝาฝนมาตรา 9 ออกเปน 2 ชวงระยะเวลา
ราชการเองก็ไมทราบวาที่ดินพิพาทเปนสวนหนึ่งของ คือ หากผูฝาฝนมาตรา 9 อยูกอนวันที่ 4 มีนาคม
ที่ดินของรัฐซึ่งเปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ใชเพื่อ 2515 แลว พนักงานเจาหนาที่หรือผูซึ่งไดรับมอบหมาย
ประโยชนของแผนดินโดยเฉพาะหรือไม ดังนี้ แมจะฟง จะตองปฏิบัติตามขั้นตอนตามที่มาตรา 108 บัญญัติไว
วาที่ดินพิพาทเปนที่ส าธารณสมบัติข องแผนดิน อยูใน กอน ผูฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามระเบียบจึงมีความผิดตาม
ความครอบครองดู แ ลของมณฑลทหารบกที่ 21เมื่ อ มาตรา 108 แตถากระทําการฝาฝนมาตรา 9 ตั้งแตวันที่ 4
จําเลยทั้งหาเขาครอบครองทํากินในที่พิพาทโดยสุจริต มีนาคม 2515 เปนตนไปแลว ผูฝาฝนตามมาตรา 108
ดวยเขาใจวาตนเองมีสิทธิจําเลยทั้งหาจึงขาดเจตนาใน ทวิ มีความผิดทันทีโดยพนักงานเจาหนาที่ไมตองปฏิบัติ
ความผิดฐานบุกรุก ตามขั้นตอนใด ๆ ทั้งสิ้น บทบัญญัติทั้งสองมาตรานี้จึง
บัญญัติเกี่ยวกับการกระทําผิดมาตรา 9 ไวตางกัน
คําพิพากษาฎีกาที่ 4911/2541 โจทกฟองวาเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2533 เวลา
ความผิ ด ฐานบุ ก รุ ก ตาม ประมวลกฎหมาย กลางวันและกลางคืนติดตอกัน จําเลยปลูกบานในที่ดิน
อาญา มาตรา 365(2)(3) ประกอบมาตรา 362 กฎหมายมุง สาธารณประโยชนอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
ลงโทษผู ที่ บุ ก รุ ก เข า ไปใน อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ข องผู อื่ น ซึ่ ง ประชาชนใช ร ว มกั น และเป น ที่ ดิ น ของรั ฐ ขอให
ไม ใ ช เ ป น บทบั ญ ญั ติ ที่ จ ะลงโทษผู บุ ก รุ ก ที่ ส าธารณ ลงโทษตาม ป.ที่ดิน มาตรา9, 108, 108 ทวิ ขอเท็จจริงได
สมบัติของแผนดินแตอยางใด สวนการกระทําอันเปน ความวา จําเลยปลูกบานตามฟองกอนวันที่ 4 มีนาคม
การฝาฝนประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 9(1) และมีโทษ 2515 แมขอ เท็จจริงจะฟงวาที่ดินที่จําเลยปลูกบาน
ตามมาตรา 108 ทวิ วรรคสอง นั้นจะตองเปนการฝาฝน บางส ว นเป น ทางสาธารณประโยชน อั น เป น สาธารณ
นับแตวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 96 ใชบังคับ สมบัติของแผนดินที่ประชาชนใชรวมกัน โดยจําเลยไมมี
คือวันที่ 4 มีนาคม 2515 เปนตนไป เมื่อพยานหลักฐาน สิ ท ธิ ค รอบครองและไม ไ ด รั บ อนุ ญ าตจากพนั ก งาน
โจทกไมมีน้ําหนักเพียงพอที่จะฟงวา จําเลยที่ 1 ไดเขาไป เจาหนาที่ จําเลยก็ไมมี ความผิดตาม ป.ที่ดิน มาตรา 9,
ยึดถือครอบครองที่ดินสาธารณประโยชนภายหลังวันที่ 108 ทวิ หากเปนความผิดก็อาจเปนความผิดตาม ป.ที่ดิน
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 มีผลใชบังคับ จึงไม มาตรา 9, 108 และตามขอเท็จจริงที่โจทกกลาวในฟอง
อาจลงโทษจําเลยที่ 1 ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา โจทกไมไดบรรยายถึงขอเท็จจริงดังเชนที่ปรากฏในทาง
9(1) ประกอบมาตรา 108 ทวิ วรรคสอง ได โจทกไมได พิจารณาจึงไมใชเรื่องที่โจทกประสงคใหลงโทษตาม
บรรยายฟองดวยวาพนั กงานเจาหนาที่ห รือ ผูซึ่งไดรับ ป.วิ.อ. มาตรา 192 วรรคสี่ จึงไมอาจลงโทษจําเลยตาม
มอบหมายไดแจงเปนหนังสือใหจําเลยที่ 1 ปฏิบัติตาม มาตรา 108 ได
ระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดแลวจําเลยที่ 1 เพิกเฉย
หรือไมปฏิบัติใหถูกตองตามระเบียบ และพนักงาน คําพิพากษาฎีกาที่ 5029/2542
เจาหนาที่มีคําสั่งเปนหนังสือใหจําเลยที่ 1 ออกจากที่ดิน การยกที่ ดิ น ให เ ป น ที่ ส าธารณประโยชน
ภายในระยะเวลาที่กําหนดแลวจําเลยที่ 1 ไมปฏิบัติตาม สําหรับแผนดินนั้น หากไมไดทําเปนหนังสือแลวตองมี
คํ า สั่ ง ฟ อ งของโจทก จึ ง ขาดสาระสํ า คั ญ ไม ค รบ การแสดงเจตนาตอบรับการยกให จากรัฐโดยอยางนอย
องคประกอบความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดินตาม ตอ งทํ า เป น หนั ง สือ ตอบรั บ หรื อ เข าไปครอบครองใช
มาตรา 9(1), 108 ที่จะลงโทษจําเลยที่ 1 ได สอยทํ า ประโยชน ใ นที่ ดิ น ที่ ไ ด รั บ การยกให เมื่ อ ไม

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


314
ปรากฏวา ก.ไดทําเปนหนังสือยกที่ดินพิพาทใหแกสวน พนักงานสอบสวนไดแจงขอหาใหจําเลยทราบ
ราชการของรัฐหนวยใดเมื่อใดหรือสวนราชการของรัฐ โดยสรุปวาจําเลยกอสรางบานรุกล้ําที่สาธารณะ จําเลย
หนวยใดไดเขาครอบครองทําประโยชนใชที่ดินพิพาท ยอมเขาใจและทราบไดดีวาที่ดินที่ถูกกลาวหาวากอสราง
คงไดความวา พ.ศ. 2533 จําเลยขอเลขที่บานซึ่งปลูกอยู อาคารรุกล้ําคือที่ดินที่อยูติดกับอาคารของจําเลยจึงถือวา
ในที่ดินพิพาทไมไดจึงไดรองเรียนตอทางราชการ ทาง มีการสอบสวนในความผิดดังกลาวโดยชอบแลว โจทก
ราชการจึ ง ดํ า เนิ น การตรวจสอบที่ ดิ น พิ พ าทซึ่ ง มี บ า น บรรยายฟองมาครั้งแรกผิดพลาดและขอแกไขเพิ่มเติม
จําเลยปลูกอาศัยและขอออกเลขที่บานหลังดังกลาว จึงมี ฟองเปนความบกพรองของโจทกไมทําใหการสอบสวน
การอางวา ก. ยกที่ดินพิพาทใหเปนที่สาธารณประโยชน ที่ชอบแลวกลับกลายเปนไมชอบไปได โจทกจึงมีอํานาจ
แลว ทั้ง ล. ซึ่งเคยเปนผูใหญบานและเปนกํานันตําบล ฟอง
หนองอิ รุ ณ เป น เจ า หน า ที่ ข องรั ฐ ผู ป กครองดู แ ลที่ ดิ น
พิพาท ยอมตองรูวาที่ดินใดเปนที่สาธารณประโยชน แต คําพิพากษาฎีกาที่ 2565/2543
ล.ก็มิไดดําเนินการอยางใดเพื่อใหเห็นวาที่ดินพิพาทเปน ที่ ดิ น ที่ จํ า เลยซื้ อ จาก พ. เป น ที่ ดิ น มี ห นั ง สื อ
ที่สาธารณประโยชนดังอางเลย จึงรับฟงไมไดวาที่ดิ น รับรองการทําประโยชนซึ่งมีรูปแผนที่แสดงอาณาเขต
พิพาทเปนที่สาธารณ ประโยชนเมื่อจําเลยไดครอบครอง และเขตติ ด ต อ ไว อ ย า งชั ด แจ ง การซื้ อ ขายได มี ก ารจด
และทํา ประโยชน ใ นที่ ดิน พิ พ าทโดยปลู ก ตน มะพร า ว ทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ จําเลยยอมทราบเปนอยาง
และมะขามเทศมาตั้งแต พ.ศ. 2495 และปลูกบานอยู ดีวาที่ดินที่ซื้อดานทิศตะวันตกติดทางสาธารณประโยชน
อาศัยในที่ดินพิพาทเมื่อ พ.ศ. 2530 จึงเปนการที่จําเลยเขา มิใชที่รกรางวางเปลาเมื่อจําเลยปลูกสรางบานและอาคาร
ครอบครองทําประโยชนและอยูอาศัยในที่ดินพิพาทไม โรงงานล้ําเขาไปในทางสาธารณประโยชนจึงเปนการ
เปนการบุกรุก กระทํ า โดยเจตนาเพื่ อ จะยึ ด ถื อ ครอบครองทาง
สาธารณประโยชน เ ป น ของตนเอง จึ ง มี ค วามผิ ด ตาม
คําพิพากษาฎีกาที่ 2068/2543 ประมวลกฎหมายที่ดินฯ
จําเลยกอสรางระเบียงรุกล้ําทางเดินเทาโดยทํา ขอเท็จจริงตามที่ปรากฏในทางพิจารณารับฟง
พื้นเปนคอนกรีตเสริมเหล็กและมีหลังคาอะลูมิเนียมปก ได ว า ตามวั น เวลาเกิ ด เหตุ ใ นฟ อ งจํ า เลยยั ง ยึ ด ถื อ
คลุม เปนการยึดถือครอบครองและทําใหเสียหายทําให ครอบครองที่ พิ พ าทอั น เป น ความผิ ด อยู ย อ มเป น
ไร ป ระโยชน ซึ่ ง ทางเดิ น เท า เป น ความผิ ด ฐานยึ ด ถื อ ขอเท็จจริงที่ตรงกับขอเท็จจริงที่กลาวในฟอง ศาลยอมมี
ครอบครองที่ดินของรัฐ ซึ่งเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน อํานาจพิพากษาลงโทษจําเลยไดหาใชขอเท็จจริงในทาง
ที่ประชาชนใชรวมกัน และฐานทําใหเสียทรัพยที่ใชและ พิจารณาแตกตางจากขอเท็จจริงดังที่กลาวในฟองอันเปน
มีไวเพื่อสาธารณประโยชน เปนกรรมเดียวเปนความผิด สาระสําคัญที่จะตองพิพากษายกฟอง
ตอกฎหมายหลายบท เมื่อลงโทษฐานทําใหเสียทรัพยที่ จํ า เลยเข า ไปยึ ด ถื อ ครอบครองที่ ดิ น ของรั ฐ
ใชและมีไวเพื่อสาธารณประโยชนตามประมวลกฎหมาย หลังจากประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 96 มีผลใชบังคับ
อาญา มาตรา 360 ซึ่งเปนบทที่มีโทษหนักที่สุดแลว จึง แล ว ซึ่ง ตามประมวลกฎหมายที่ดิ นฯ มาตรา 9(1)
ไมอาจอาศัยบทเบาตามประมวลกฎหมายที่ดินฯมาตรา ประกอบมาตรา 108 ทวิ บั ญ ญั ติ ใ ห ก ารเข า ไปยึ ด ถื อ
108 ทวิ วรรคสองมาบังคับใหจําเลยและบริวารออกจาก ครอบครองที่ ดินของรั ฐเป น ความผิ ด ในทันที ที่เข าไป
ที่ดินที่เขายึดถือครอบครองได เพราะประมวลกฎหมาย ยึดถือครอบครองโดยไมจําต องให พนักงานเจาหนาที่
อาญา มาตรา 360ไมไดบัญญัติขอบังคับดังกลาวไว แจงและมีคําสั่งใหจําเลยปฏิบัติตามเสียกอน โจทกไมได

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


315
บรรยายขอ ความดั ง กลา วไว ก็ไ มทํ า ให ฟอ งโจทกข าด จําเลยที่ 2 ที่กระทําลงไปนั้นจําเลยที่ 1 ซึ่งเปนกรรมการ
องคประกอบความผิด ตองร วมรับ ผิดในฐานะสว นตัวด วยจํา เลยทั้ง สองจึง มี
ความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 108 ทวิ วรรค
คําพิพากษาฎีกาที่ 3597/2543 สอง และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 360
พยานหลักฐานของโจทกยังฟงไดไมแนชัดวา
จําเลยรูวาที่ดินพิพาทเปนสวนหนึ่งของที่ดินของรัฐซึ่ง คําพิพากษาฎีกาที่ 8277/2544
เปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ใชเพื่อประโยชนของ เมื่อที่ดินพิพาทไดมีการออกพระราชกฤษฎีกา
แผนดินโดยเฉพาะหรือไม เมื่อจําเลยเขาครอบครองที่ดิน กํ า หนดเป น เขตหวงห า มสํ า หรั บ ใช ใ นราชการทหาร
พิพาทโดยสุจริต เขาใจวาตนเองมีสิทธิจะทําได จําเลยจึง พรอมดวยแผนที่ทายพระราชกฤษฎีกา ประกาศในราช
ขาดเจตนา ในการกระทําความผิดฐานบุกรุกที่ดินของรัฐ กิจจานุเบกษาใหประชาชนทราบแลว ทั้งตอมากรมธนา
พ. รองอธิ บ ดีก รมปา ไม ปฏิบั ติร าชการแทน รักษไดขึ้นทะเบียนที่ดินพิพาทเปนที่ราชพัสดุดวย ดังนั้น
อธิบดีกรมปาไมทําขึ้นสําเนาเอกสารที่ พ. ซึ่งเปนอธิบดี ยอมถือวาประชาชนทุกคนไดทราบแลววาที่ดินพิพาท
กรมปาไมในภายหลังไดสงมาตามหมายเรียกของศาล เป นที่ ดิ น ห ว ง ห า ม มิ ให ผู หนึ่ งผู ใ ด เ ข า ไ ป ยึ ด ถื อ
โดยมีนั ก วิช าการป า ไม 6 กองอุ ท ยานแห ง ชาติ รับ รอง ครอบครอง เว น แต จ ะได รั บ อนุ ญ าตจากพนั ก งาน
สําเนาถูกตองจึงอางเปนพยานหลักฐานได ตามประมวล เจาหนาที่ จําเลยทั้งสองจะอางวาไมมีเจตนาเขาไปยึดถือ
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 238 วรรคสอง ครอบครองในที่ดินพิพาทอันเปนที่หวงหามได จําเลยทั้ง
แม พ. มิไดมาเบิกความก็ตาม สองจึงมีความผิดฐานเขาไปยึดถือครอบครองที่ดินของ
จํา เลยเชื่อ โดยสุ จ ริ ต ว า พ. ซึ่ ง เป น รองอธิ บ ดี รัฐตามฟอง
กรมปาไมขณะนั้นมีอํานาจโดยชอบในการที่จะอนุญาต
ให ส ร า งบั ง กะโลบนเกาะเสม็ ด ได จํ า เลยจึ ง เข า ใจโดย คําพิพากษาฎีกาที่ 3314/2545
สุจริตวาตนเองมีสิทธิจะทําไดตามที่ไดรับอนุญาตจําเลย การที่จําเลยเขาไปยึดถือครอบครองคลองควาย
จึ ง ไม มี เ จตนากระทํ า ผิ ด ฐานยึ ด ถื อ ครอบครองที่ ดิ น ซึ่งเปนคลองสาธารณะโดยใชเสาคอนกรีตปกปดขวาง
ภายในเขตอุทยานแหงชาติตามฟอง ชวงปากคลอง ทําใหประชาชนทั่วไปไมสามารถใช
ขอเท็จจริงที่ไดจากการที่จําเลยตอบคําถามคาน ประโยชนสัญจรผานไปมาในคลองเพื่อออกสูแมน้ําไดนั้น
ของโจทก ถือไมไดวาโจทกนําสืบถึงขอเท็จจริงดังกลาว การกระทําของจําเลยเปนความผิดฐานยึดถือครอบครอง
เพราะในการพิจารณา คดีอาญาโจทกมีหนาที่นําสืบให ที่ดินของรัฐ ซึ่งเปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่
ฟงไดวาจําเลยกระทําความผิด ประชาชนใชรวมกัน และฐานทําใหเสียทรัพยที่ใชหรือมี
ไวเพื่อสาธารณประโยชน เปนการกระทํากรรมเดียวเปน
คําพิพากษาฎีกาที่ 392/2544 ความผิดตอกฎหมายหลายบท ตองลงโทษฐานทําใหเสีย
ที่ ดิ น ที่ ร าชการได รั บ การให แม ท างราชการ ทรัพยที่ใชหรือมีไวเพื่อสาธารณประโยชน ตาม ป.อ.
มิไดใชทําการกอสรางสะพานขามแมน้ําเจาพระยาตาม มาตรา 360 ซึ่งเปนบทที่มีโทษหนักที่สุด จึงไมอาจอาศัย
ความประสงคของผูใหก็ไมไดทําใหจําเลยทั้งสองเกิด บทเบาตาม ป. ที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคสอง มาบังคับ
สิทธิที่จะบุกรุกเขาไปกอสรางอาคารหรือปลูกสรางทา ใหจําเลยและบริวารออกจากที่ดินซึ่งจําเลยเขาไปยึดถือ
จอดเรือลงในแมน้ําเจาพระยาโดยไมไดรับอนุญาตและ ครอบครองตามที่โจทกขอได
แมอาคารที่กอสรางจะถูกรื้อไปแลวก็ไมทําใหความผิดที่
เกิดขึ้นสําเร็จแลวกลายเปนไมผิด การกระทําของบริษัท

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


316

คําพิพากษาฎีกาที่ 548/2546 ประชาชนใชรวมกัน รวมเนื้อที่ประมาณ 2 ไร โดยใชรถ


การไดรับอนุญาตใหใชที่ดินของรัฐตามประมวล ไถเขาไปไถปรับที่ดินเพื่อทําประโยชน แมคดีกอนศาล
กฎหมายที่ ดิ น ฯ มาตรา 9 ไม ไ ด บั ญ ญั ติ ใ ห โ อนกั น ฎีกาจะพิพากษายกคําขอใหจําเลยออกจากที่ดินพิพาทแต
ได และไม มี บ ทกฎหมายหรื อ กฎกระทรวงฉบั บ ใด ก็ฟงขอเท็จจริงวา ที่ดินพิพาทเปนที่สาธารณประโยชน
กําหนดใหผูไดรับอนุญาตโอนสิทธิหรืออํานาจตลอดจน ซึ่งจําเลยเขายึดถือครอบครองหลังจากประมวลกฎหมาย
วิธีดําเนินการตาง ๆ เพื่อเปนการหาประโยชนในที่ดิน ที่ดินใชบังคับแลว เปนการครอบครองสืบเนื่องมากอน
ของรัฐใหแกบุคคลอื่นได การอนุญาตใหใชที่ดินของรัฐ วันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29
ในกรณี ดั ง กล า วกํ า หนดขึ้ น เพื่ อ อนุ ญ าตให ผู ที่ ไ ด รั บ กุมภาพันธ 2514 ใชบังคับ จึงเปนความผิดตามประมวล
ใบอนุ ญ าตเป น การเฉพาะตั ว เท า นั้ น การที่ ผู ไ ด รั บ กฎหมายที่ดิน มาตรา 9,108 สวนคดีนี้จําเลยใชรถไถเขา
อนุญ าตโอนสิท ธิดังกล าวยอ มเปนการฝาฝนประมวล ไปไถปรับที่ดินพิพาทเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2541 โดยไม
กฎหมายที่ดินฯ มาตรา 9 อาจถูกเพิกถอนใบอนุญาตได มี สิ ท ธิ ค รอบครองและมิ ไ ด รั บ อนุ ญ าตจากพนั ก งาน
เนื่องจากตามเงื่อนไขการอนุญาตใหระเบิดและยอยหิน เจ าหนา ที่ จึง เป นความผิด ตามประมวลกฎหมายที่ ดิ น
ระบุใหผูไดรับอนุญาตตองดําเนินการดวยตนเอง จะให มาตรา 9(1), 108 ทวิ วรรคสองซึ่ ง เป น การกระทํ า
ผูอื่น ดํา เนิ น การหรื อ โอนสิท ธิ ให ผูอื่ น ไมไ ด หากผูรั บ หลังจากวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ลงวันที่
โอนเขาไปทําประโยชนหรือใชที่ดินของรัฐโดยระเบิด 29 กุ ม ภาพั น ธ 2514 มี ผ ลใช บั ง คั บ การกระทํ า จึ ง ต า ง
และยอยหินเองโดยไมไดรับอนุญาตตามที่บัญญัติไวใน กรรมต า งวาระแยกต า งหากจากการกระทํ า ในคดี
มาตรา 9 อาจมีความผิดตามมาตรา 108 ทวิ ดังนั้น การที่ กอน และความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา
จํ า เลยทั้ ง สองทํ า สั ญ ญาซื้ อ ขายหิ น กั บ โจทก ใ นสภาพ 108 กับมาตรา 108 ทวิมีองคประกอบแตกตางกัน ฟอง
สังหาริมทรัพย แตใหโจทกเปนผูระเบิดและยอยหินเอง ของโจทกคดีนี้จึงไมเปนฟองซ้ํา
ได นั้ น เป น การทํ า สั ญ ญาเพื่ อ หลี ก เลี่ ย งกฎหมายและ
ขอกําหนดหามโอนสิทธิตามใบอนุญาตระเบิดหินและ คําพิพากษาฎีกาที่ 1399/2548
ยอยหิน ในเมื่อโจทกกับจําเลยทั้งสองมีเจตนาที่แทจริง ความผิ ด ฐานเข า ไปยึ ด ถื อ ครอบครองที่ ดิ น
จะโอนสิ ท ธิ ต ามใบอนุ ญ าตระเบิ ด และย อ ยหิ น แก กั น สาธารณประโยชนของแผนดินโดยไมไดรับอนุญาตยอม
สัญญาดังกลาวจึงมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจง มีขึ้น ตั้งแตจําเลยเขายึดถือครอบครองและยังคงมีอยู
โดยกฎหมาย ย อ มตกเป น โมฆะ ทั้ ง กรณี ห าใช ก ารให ตลอดเวลาที่จําเลยครอบครองที่ดินสาธารณประโยชน
สัมปทานตามประมวลกฎหมายที่ดินฯ มาตรา 12 ไม อยู เมื่อขอเท็จจริงไดความวา ขณะที่โจทกฟอง จําเลย
ยังคงยึดถือครอบครองที่ดินอยู แมจําเลยจะครอบครอง
คําพิพากษาฎีกาที่ 6986/2546 มานานเกิน 10 ป คดีของโจทกก็ไมขาดอายุความ
คดีกอนโจทกฟองวา เมื่อระหวางวันที่ 1
มกราคม 2512 ถึงวันที่ 18 กรกฎาคม2512 จําเลยบุกรุก คําพิพากษาฎีกาที่ 3971/2548
เข า ยึ ด ถื อ ครอบครองที่ ดิ น หนองกก ซึ่ ง เป น สาธารณ จําเลยที่ 1 และที่ 2 ใชรถแบกโฮขุดตักดินในที่
สมบัติของแผนดินที่ประชาชนใชรวมกันเนื้อที่ 9 ไร 2 สาธารณประโยชน อันเปนการทําใหเสื่อมสภาพที่ดิน ที่
งาน 80 ตารางวา ปลูกบานอยูอาศัยและปลูกตนไมคดีนี้ หิน ที่กรวด หรือที่ทรายในบริเวณที่รัฐมนตรีประกาศ
โจทกฟองวา เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2541 จําเลยไดเขาไป หวงหามในราชกิจจานุเบกษา ตอมาจําเลยที่ 3 ซึ่งเปน
ยึดถือ ครอบครอง กนสรางที่ดินเลี้ยงสัตวหนองกก ประธาน สภาตําบลไดจัดทําบันทึกการประชุมสภาตําบล
สาธารณประโยชน ซึ่งเปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ อันเปนเท็จวา ที่ประชุมเห็นชอบใหจําเลยที่ 1 และที่ 2

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


317
ดําเนินการขุด ตักดินได การกระทําของจําเลยที่ 3 มิใช คํานึงวาผูรองทุกขใหดําเนินคดีจะเปนผูใด หรือไดรับ
เป น การเตรี ย มทํ า เอกสารไว ก อ นมี ก ารขุ ด ตั ก ดิ น ในที่ มอบอํ า นาจจากผู เ สี ย หายที่ แ ท จ ริ ง หรื อ ไม โจทก จึ ง มี
สาธารณประโยชนหรือนําไปใชอางอิงในการขุดตักดิน อํานาจฟอง
ดังกลาว อันจะเปนการแสดงเจตนาในการมีสวนรวมเขา
ไปขุดตักดินในที่ สาธารณประโยชนของจําเลยที่ 1 และ คําพิพากษาฎีกาที่ 5332/2550
ที่ 2 ในลักษณะแบงหนาที่กันทํา จําเลยที่ 3 ไมเปน ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคสี่
ตัวการรวมกระทําความผิด กับจําเลยที่ 1 และที่ 2 ตาม ป. บัญญัติวา "ในกรณีที่มีคําพิพากษาวาผูใดกระทําความผิด
ที่ดิน มาตรา 9 (2) ประกอบมาตรา 108 ทวิ ตามมาตรานี้ ศาลมีอํานาจสั่งในคําพิพากษาใหผูกระทํา
ความผิด คนงาน ผูรั บ จาง ผูแ ทน และบริวารของ
คําพิพากษาฎีกาที่ 681/2550 ผูกระทําความผิดออกไปจากที่ดินนั้นดวย" เมื่อศาล
การกระทําของจําเลยนอกจากจะเปนความผิด พิพากษาวาจําเลยกระทําความผิดตามประมวลกฎหมาย
ฐานรวมกันบุกรุกที่ดินราชพัสดุตาม ป.อ. มาตรา 365 (2 ที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคสอง ศาลยอมมีอํานาจสั่งใน
แลว ยังเปนความผิ ดฐานเขาไปยึดถือ ครอบครอง กน คําพิพากษาใหจําเลยและบริวารออกไปจากที่ดินที่เขาไป
สรางและทําดวยประการใดใหเปนการทําลายหรือทําให ยึดถือ ครอบครอง ถมดิน ซึ่งยอมมีความหมายรวมถึงให
เสื่อ มสภาพที่ดิ น ของรั ฐ อั น เปนความผิ ด ตาม ป.ที่ดิ น จําเลยและบริวารรื้อถอนสิ่งปลูกสรางที่ลวงล้ําเขาไปใน
มาตรา 9 (1) (2), 108 ทวิ วรรคหนึ่ง ดวย ซึ่งตาม ป.ที่ดิน ทะเลสาบออกไปไดดวย ตามมาตรา 108 ทวิ วรรคสี่
มาตรา 108 ทวิ วรรคสี่ บัญญัติใหศาลมีอํานาจสั่งในคํา
พิ พ ากษาให ผู ก ระทํ า ความผิ ด คนงาน ผู รั บ จ า งและ คําพิพากษาฎีกาที่ 10325/2550
บริวารของผูกระทําความผิดออกจากที่ดินนั้นได อันมิใช แมเดิ ม ที่ดิ นพิพ าทเป นที่ส าธารณสมบั ติข อง
โทษตาม ป.อ. มาตรา 18 แตเปนมาตรการที่มุงประสงค แผนดินสําหรับพลเรือนใชรวมกัน แตตอมามีคําสั่ง
ใหรัฐสามารถเขาใชประโยชนในที่ดินไดโดยไมจําตอง จังหวัดสุรินทรที่ 3007/2544 ใหเพิกถอนหนังสือสําคัญ
ฟองขับไลจําเลยเปนคดีแพงอีกตางหาก ดังนั้น แมศาล สําหรับที่หลวงเลขที่ 36490 บางสวนซึ่งรวมทั้งที่ดิน
จะลงโทษจํ าเลยตาม ป.อ. มาตรา 365 (2) ซึ่ง เป นบท พิพาทดังกลาว ดังนั้น ที่ดินพิพาทยอมไมเปนที่สาธารณ
กฎหมายที่ มี โ ทษหนั ก ที่ สุ ด เพี ย งบทเดี ย วตาม ป.อ. สมบัติของแผนดินสําหรับพลเมืองใชรวมกันอีกตอไป
มาตรา 90 แตเมื่อเปนความผิดตาม ป.ที่ดิน มาตรา 108 นับแตวันที่คําสั่งจังหวัดสุรินทรมีผลใชบังคับ แตที่ดิน
ทวิ วรรคหนึ่ง ดวย ศาลก็มีอํานาจสั่งใหจําเลยและบริวาร พิ พ าทยั ง คงมี ส ภาพเป น ที่ ดิ น อั น เป น ทรั พ ย สิ น ของ
รื้อถอนสิ่งปลูกสรางและออกไปจากที่ดินของรัฐได แผ น ดิ น อยู ต อ ไป หาได เ ปลี่ ย นแปลงตกไปเป น
กรรมสิทธิ์ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดไม และคําสั่งจังหวัด
สุรินทดังกลาวมิใชบทบัญญัติของกฎหมาย กรณีจึงหาใช
คําพิพากษาฎีกาที่ 5165/2549
มี ก ฎหมายออกใช ภ ายหลั ง ยกเลิ ก ความผิ ด ตาม ป.อ.
ความผิดตาม ป.ที่ดินฯ มาตรา 9 (1), 108 ทวิ
มาตรา 2 วรรคสอง แลวดังที่จําเลยฎีกาไม การกระทํา
เป นความผิดที่ กระทําต อรั ฐ ไมใชความผิดตอ สวนตัว
ของจําเลยจึงเปนความผิดตาม ป.ที่ดิน มาตรา 9, 108 ทวิ
พนั กงานสอบสวนมี อํา นาจสอบสวนไดแ มจ ะไมมีคํ า
รองทุกขตาม ป.วิ.อ. มาตรา 121 ดังนั้น เมื่อพนักงาน
สอบสวนทําการสอบสวนคดีนี้แลว พนักงานอัยการยอม คําพิพากษาฎีกาที่ 2291/2551
มีอํานาจฟองคดีตอศาลไดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 28 (1), 120 บานของกลางทั้ง 2 หลังที่จําเลยปลูกสรางขึ้น
และ พ.ร.บ.พนักงานอัยการฯ มาตรา 11 (1) โดยมิตอง ในเขตอุ ท ยานแห ง ชาติ มิ ใ ช เ ครื่ อ งมื อ อาวุ ธ สั ต ว

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


318
พาหนะ ยานพาหนะหรือเครื่องจักรกลใดๆ ซึ่งบุคคล หนังสือดังกลาวแลวไมปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงาน
ไดใชในการกระทําความผิด หรือไดใชเปนอุปกรณให เจาหนา ที่ แตตามฎี ก าของโจทกกลั บ ไมไดร ะบุ
ไดรับผลในการกระทําความผิดโดยตรง ตาม พ.ร.บ.ปาไมฯ ขอเท็จจริงโดยยอหรือขอกฎหมายที่เกี่ยวกับความผิด
มาตรา 74 ทวิ พ.ร.บ.อุทยานแหงชาติฯ มาตรา 29 ป. ฐานนี้ขึ้นอางเพื่อคัดคานคําพิพากษาศาลอุทธรณภาค 3
ที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคหา จึงไมอาจริบได ที่ ย กฟ อ งโจทก ว า ไม ช อบอย า งไร ฎี ก าของโจทก ที่
พ.ร.บ.อุทยานแหงชาติฯ มาตรา 22 มี ขอใหลงโทษตามฟอง อันหมายถึงขอใหลงโทษจําเลย
เจตนารมณใหดําเนินการรื้อถอนสิ่งปลูกสรางโดยฝาฝน ฐานขัดคําสั่งเจาพนักงานตาม ป.ที่ดิน มาตรา 9, 108
ตอ พ.ร.บ.อุทยานแหงชาติฯ ออกไปใหพนอุทยาน ดวยนั้น จึงเปนฎีกาที่ไมชอบดวย ป.วิ.อ. มาตรา 193
แหงชาติฯ ดังนั้น แมโจทกจะมิไดขอใหศาลสั่งให วรรคสอง ประกอบดวยมาตรา 225 และมาตรา 216
จําเลยรื้อถอนบานของกลางทั้ง 2 หลัง แตเมื่อโจทกมีคํา
ขอใหริบบานของกลางทั้ง 2 หลัง ศาลก็ยอมมีอํานาจสั่ง คําพิพากษาฎีกาที่ 2978/2553
ใหจําเลยรื้อถอนบานของกลางทั้ง 2 หลัง ออกไปให เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา ที่ดินพิพาทอยูในเขต
พนอุทยานแหงชาติได ไมตองหามตาม ป.วิ.อ. มาตรา คลองน้ํ า ดํ า อั น เป น สาธารณะสมบั ติ ข องแผ น ดิ น ที่
192 วรรคหนึ่ง ประชาชนใชรวมกัน ซึ่งแมปจจุบันคลองน้ําดํามีสภาพ
ตื้นเขินโดยการเปลี่ยนแปลงสภาพตามธรรมชาติแตเมื่อ
คําพิพากษาฎีกาที่ 2107/2553 ไมมีการเพิกถอนก็ยังเปนทรัพยสินของแผนดินสําหรับ
โจทกบรรยายฟองวา เมื่อวันที่ 1 มกราคม พลเมืองใชรวมกัน จึงเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
2510 ถึงวันที่ 15 กรกฎาคม 2545 จําเลยเขายึดถือที่ดิน ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1304 (2) และเปนที่ดินของรัฐ จึง
สาธารณประโยชน อันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน ตองหามมิใหบุคคลใดเขาไปยึดถือครอบครองตาม ป.
ซึ่งประชาชนใชรวมกัน ตามคําฟอง จําเลยเขายึดถือ ที่ดิน มาตรา 9 (1) การที่จําเลยเขาไปยึดถือครอบครอง
ครอบครองที่พิพาทกอนวันที่ 4 มีนาคม 2515 อันเปน ที่ ดิ น พิ พ าทโดยการถมที่ ดิ น ในคลองน้ํ า ดํ า เป น การ
วันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กระทํ าแกที่ ดิน ซึ่ งเปน สาธารณสมบั ติข องแผ นดิ น ที่
กุมภาพันธ 2515 ที่แกไขเพิ่มเติม ป.ที่ดิน มาตรา 108 ประชาชนใชรวมกันจึงเปนความผิดตามมาตรา 108 ทวิ
ทวิ ใชบังคับ การครอบครองที่ดินพิพาทของจําเลยนับ วรรคสอง
แตวันที่ 1 มกราคม 2510 ตลอดมาเปนการครอบครอง
สืบเนื่องมาจากการเขายึดครอบครองในครั้งแรก เมื่อ คําพิพากษาฎีกาที่ 8033/2553
ป.ที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา นับตั้งแต
นายอําเภอทายางออกหนังสือรับรองการทํา
วันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ใชบังคับผูกระทํา ประโยชน (น.ส.3 ก.) สําหรับที่ดินพิพาทใหแก ม. และ
การฝาฝน มาตรา 9 ตองระวางโทษจําคุก ฯลฯ เชนนี้ ย. ในป 2520 ในที่ดินพิพาทมีโรงสีและบานของ ม.
การกระทําของจําเลยจึงไมอาจมีความผิดฐานเขาไป ปลูกสรางอยูโดยไมมีชาวบานเขาไปใชประโยชนใด ๆ
ยึ ด ถื อ ครอบครองที่ ดิ น อั น เป น สาธารณสมบั ติ ข อง ในที่ดินพิพาทในลักษณะที่เปนสาธารณะมานานแลว
แผนดินตาม ป.ที่ดิน มาตรา 9, 108 ทวิ ได สวน
ยอมเปนเหตุใหจําเลยเชื่อโดยสุจริตวา ม. และ ย. มีสิทธิ
ความผิดฐานขัดคําสั่งเจาพนักงานตาม ป.ที่ดิน มาตรา ครอบครองที่ดินพิพาทและจําเลยยอมเสียคาตอบแทน
9, 108 นั้น แมโจทกบรรยายฟองและนําสืบวา วันที่ 27 เปนเงินถึง 120,000 บาท ในการซื้อที่ดินพิพาทจาก ม.
ธันวาคม 2544 พนักงานเจาหนาที่มีหนังสือแจงให และ ย. ขอเท็จจริงจึงรับฟงไดวา จําเลยเขาครอบครอง
จําเลยออกจากที่ดินพิพาทภายใน 90 วัน จําเลยซึ่งรับ ที่ ดิ น พิ พ าทโดยไม มี เ จตนาที่ จ ะบุ ก รุ ก ที่ ดิ น อั น เป น

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน


319
สาธารณประโยชนแตอยางใด ถึงแมตอมาจําเลยจะได
ทราบจากหนังสือของนายอําเภอทายางวาที่ดินพิพาท
เปนสวนหนึ่งของศาลาสระน้ําหนองขานางสาธารณ
ประโยชน ซึ่ง เป นสาธารณสมบั ติข องแผ นดิ นก็ เป น
เพียงหลักฐานที่ยังยันกันอยูกับหนังสือรับรองการทํา
ประโยชน (น.ส.3 ก.) ที่เปนเอกสารสิทธิของที่ดินพิพาท
ทั้งจําเลยก็มิไดออกจากที่ดินที่พิพาทและกลับเขาไป
ยึดถือครอบครองใหม แตครอบครองที่ดินพิพาทดวย
เจตนาเดียวกันตลอดมาโดยจําเลยเขาใจมาแตตนวาตน
มี สิ ท ธิ ค รอบครองในที่ ดิ น พิ พ าทซึ่ ง ไม อ าจถื อ ได ว า
จําเลยมีเจตนาบุกรุกที่ดินพิพาท การที่จําเลยอยูในที่ดิน
พิพาทตลอดมาดวยเจตนาเดิมและดวยการกระทําที่ไม
เป น ความผิ ด มาตั้ ง แต แ รก จึ ง ไม อ าจถือ ว า จํ าเลยเกิ ด
เจตนาบุกรุกขึ้นมาใหมหลังจากทราบจากนายอําเภอทา
ยางวาที่ดินพิพาทเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
จําเลยเริ่มเขายึดถือครอบครองที่พิพาทตั้งแต
ป 2523 เปนตนมาอันถือเปนวันเริ่มตนกระทําความผิด
ก็ตาม แตเมื่อปรากฏวาหลังจากนั้นจําเลยยังคงยึดถือ
ครอบครองที่พิพาทตลอดมา จึงเปนความผิดตอเนื่อง
อยูทุกขณะ ตราบเทาที่จําเลยยังคงยึดถือครอบครองที่
พิพาทอยู เมื่อโจทกฟอ งยังไมเกิน 10 ปนับแตวัน
กระทําความผิด คดีจึงไมขาดอายุความ

ชัยชาญ สิทธิวิรชั ธรรม กรมที่ดิน

Vous aimerez peut-être aussi