Vous êtes sur la page 1sur 60

บทที่ ๑
ครูทหาร
( The Army Instructor)
------------------------
๑. ความมุงหมาย
๑.๑ เพื่อใหผทู ี่มีหนาที่อบรมสั่งสอนผูอื่นมีความรูและความเขาใจหลักเบื้องตน ในการเปนครู
หนาที่ของครู ความจําเปนที่ตองเรียนรูวชิ าครู ลักษณะของครูที่ดี การปรับปรุงครู การสรางความสัมพันธ
อันดีใหเกิดขึน้ ระหวางครูกบั นักเรียน และขอแนะนําการปฏิบัติของครูที่พึงมีตอนักเรียน
๑.๒ ความสําเร็จในการรบของกองทัพ ยอมขึ้นอยูก บั ความมีประสิทธิภาพในการสอนที่บุคคลและ
หนวยไดรับระหวางการฝก ความสําเร็จของแผนกการฝก ยอมขึ้นอยูก ับครูที่ทําหนาที่อบรมสั่งสอนดียิ่งขึ้น
๒. ความจําเปนที่ตองเรียนวิชาครู
๒.๑ การดําเนินอาชีพใด ๆ จําเปนตองเรียนรูในหลักวิชาชีพนั้น ๆ เพื่อประกอบอาชีพของตนใหดี
ที่สุด หลักวิชาจึงเปรียบเปนธงชัยที่นําไปสูความสําเร็จ การศึกษาหลั o กm
วิชานอกจากจะมีความเขาใจในทฤษฎี
.c
แลว ยังจะตองสามารถปฏิบัติไดดว ย จึงจะสัมฤทธิผลดวยดี
z ag
๒.๒ ผูที่เปนครูจะตองเรียนหลักวิชาครู zซึig ่งประกอบดวยทฤษฎีและการปฏิบัติหากไมรูหลักวิชาใน
อาชีพของตนก็เปรียบเสมือนผูเดินทางเข.าg eคoวามมืด การปฏิบัติตาง ๆ ยอมจะเกิดขอบกพรองขึ้นไดอยาง
ไปสู
ไมมีปญหา ตรงขามหากเขาใจซาบซึ w w้ง ยอมจะสงเสริมใหกาวหนายิ่งขึน้
w
๒.๓ เหตุผลในการเรียนวิชาครู สามารถสรุปไดดังนี้.-
๒.๓.๑ เพื่อเปนหลักในการสั่งสอน อบรมผูอื่น
๒.๓.๒ เพื่ออบรมสั่งสอนตนเอง
๒.๓.๓ เปนอุปกรณสงเสริมวิชาชีพของตน
๓. วิชาครู คือ “ศาสตร” และ “ศิลป”
๓.๑ ความรูแขนงใดที่รวบรวมโดยวิธีการของวิทยาศาสตร คือ จากความจริง การทดทดลอง การ
สังเกต การปฏิบัติ และจากการพิสูจนจนปรากฏเปนทฤษฎีที่แนนอน และเปนหลักเกณฑที่นาํ ไปปฏิบัติได
แลว เรียกวา “ศาสตร”
๓.๒ เมื่อศึกษาหลักการสอน หลักการเรียนไปแลว ครูนําไปสอนวิชาเฉพาะอยางหนึ่งอยางใด จะใช
อุปกรณการสอนอยางใด เมื่อไร จึงจะเปนประโยชนและคุมคา เชนนี้จัดวาเปน “ศิลป” ทั้งนี้หมายถึงการจัด
ชั้นเรียน การปกครองชั้น และการจัดทําอุปกรณการสอนดวย
๔. ครู คืออะไร
๔.๑ ครู หมายถึง บุคคลที่ทําหนาที่อบรมสั่งสอนผูอื่น ใหรูจักใชความสามารถที่ตนมีอยูใหเกิด
ประโยชนแกตนเองและผูอื่น

๔.๒ คําวา ครู มาจากศัพทบาลี สันสฤตวา ครุ หรือ คุรุ แปลวา “หนัก” อาเทศเปน ค ร ว
แปลวา เคารพ ซึ่งหมายถึงวา ผูเปนที่เคารพแหงศิษย ผูทําหนาที่หนัก และผูทําหนาที่อบรมสั่งสอน
๕. หนาที่ของครู
๕.๑ ประสิทธิ์ประสาทวิชาการใหแกศิษย
๕.๒ ถายทอดแบบอยางอันดีงามใหแกศิษย
๕.๓ อบรมศิษยใหเปนคนดี มีความรูความสามารถ และมีจิตใจสูง
๕.๔ นําศิษยใหปรับตัวเขากับสังคมได
๕.๕ พัฒนาศิษยใหไดรับความเจริญยิ่งขึ้นตอไป
๖. ลักษณะของครู
๖.๑ บุคคลที่จะประกอบหนาที่อันใดอันหนึ่งใหบรรลุเปาหมายไดนนั้ ยอมจะตองอาศัยคุณสมบัติ
หรือลักษณะพิเศษบางอยางเปนเครื่องชวย สําหรับครูก็เชนเดียวกัน ตามคําขวัญที่กลาววา “เรียนใหรู เปน
ครูเขา” คํากลาวนี้เปนขออนุมานไดอยางหนึ่งถึงลักษณะและคุณสมบัตขิ องผูที่จะเปนครู แตมิไดหมายความวา
คนที่มีความรูส ั่งสอนเขาไดจะเปนครูที่ครบองคแหงลักษณะคุณสมบัติของครูก็หาไม จะตองมีคุณสมบัติอยาง
อื่นประกอบอีกดวย
๖.๒ ลักษณะของครูที่ดี ครูที่ดี ก็คือ ครูที่มีความสามารถอบรมให
o m คนเปนคนดี มีความรู
ความสามารถดี ไมใชบุคคลที่มีความรูดี แตไมสามารถอบรมสั่งสอนศิ g c
ษ.ยใหเปนคนดี มีความรูความสามารถ
ได คุณลักษณะของครูที่ดีมีดังนี.้ - i g za
z
๖.๒.๑ ความรูในบทเรียนที่สอน gเปeนo ที่แนนอนที่สุดที่ครูจะตองมีความรูมีในบทเรียนทีส่ อน
และดียิ่งกวานัน้ ถาเปนไปไดควรจะตองเปw นผูw
.
มีประสบการณทั้งในสนาม และความรอบรูในเรื่องการฝกดวย
จะเปนความเขาใจผิดอยางมาก ถw
าครูจะคิดเพียงวาประสบการณในสนามเทานัน้ ก็เพียงพอที่จะสอน
นักเรียนได โดยไมตองมีการเตรียมการ และการศึกษาเรื่องการฝกที่ตอเนื่อง ประสบการณในสนามชวยให
ครูสามารถประเมินอุปกรณการฝก และดําเนินการสอนคลายกับของจริง ครูจะตองมีความกวางขวางมากกวา
เรื่องที่จะสอนจริง และควรเตรียมการแกปญ  หาหรือตอบคําถามใด ๆ
๖.๒.๒ ความรูในเทคนิคการสอน ความรูเกี่ยวกับวิธีการสอน เปนสิ่งแรกทีจ่ ะทําใหการสอนดี
และนี่เปนเหตุผลอยางหนึ่งทีต่ องศึกษาเกีย่ วกับการสอน ครูจะตองเปนผูสามารถนําเอาหลักการ วิธีการ และ
เทคนิคการสอนตาง ๆ ไปใชใหบังเกิดผลดี
๖.๒.๓ บุคลิกลักษณะ
๖.๒.๓.๑ บุคลิกลักษณะ อาจนิยามไดวา คือ ลักษณะตาง ๆ ที่มีในตัวของครูซงึ่ จะทํา
ใหมีผูเคารพรักใครนับถือ หรือไมเคารพรักใครนับถือ บุคลิกลักษณะเปนสิ่งที่สามารถสรางเสริมปรุงแตงได
มิใชมีมาแตกําเนิดแตอยางเดียว
๖.๒.๓.๒ บุคลิกลักษณะมีสวนสําคัญในการสอน การบังคับบัญชา การอบรม และ
การนําผูอื่น บุคลิกลักษณะจะชวยใหครูสั่งสอนแนะนําโดยงาย ผูที่ทําหนาที่เปนครู ผูบังคับบัญชา,
บุคลิกลักษณะนับวาเปนองคประกอบสําคัญ ใหงานในหนาที่บรรลุผลสําเร็จ

๖.๒.๔ ความสามรถในการเปนผูน ํา ครูที่มคี วามเปนผูนําดีสามารถที่จะพัฒนาวินัยการเห็น
คุณคา และคุณลักษณะในตัวของนักเรียนไดอยางเหมาะสม การรักษาไวซึ่งระเบียบวินยั อันดี จะทําให
นักเรียนปฏิบัติตัวเยีย่ งทหารอยูตลอดเวลา ลักษณะเชนนี้จะชวยใหการควบคุมปกครองชั้นเปนไปดวยความ
เรียบรอย
๖.๒.๕ มีทัศนคติที่ดีตออาชีพ (วิญญาณครู)
๖.๒.๕.๑ ครูที่มีความพอใจในอาชีพครูของตน มักจะขวนขวายเพิ่มพูนความรูความ
ชํานาญใหแกตนในวิชาที่ตนสอน และพยายามที่จะปรับปรุงตนเองใหมคี วามสามารถในการสอนอยาง
ตอเนื่อง ครูจะตองมีความเห็นอกเห็นใจ เขาใจถึงปญหาของนักเรียน และมีความยุติธรรมในการปฏิบัติตอ
นักเรียนแตละคน
๖.๒.๕.๒ ทุกสิ่งทุกอยางที่ครูพูดและทําในระหวางชั้นเรียน รวมถึงกริยาทาทางที่ครูพูด
และทําสิ่งตาง ๆ จะสะทอนใหเห็นทาทีหรือทัศนคติของครูที่มีตอนักเรียน, วิชาทีต่ นสอนและโปรแกรมการ
ฝกนั้น ๆ บรรดาทาทีหรือทัศนคติของครูที่มีอิทธิพลอยางมากมายตอทาที และขวัญของนักเรียน เพราะ
นักเรียนมักโอนเอียงไปตามทาที และแงความคิดของครูที่มีตอวิชา และการฝกนัน้ ๆ
๗. การปรับปรุงครู
เพีm
๗.๑ ครูทุกสามารถปรับปรุงการสอนของตนเองได
c o ยงแตพยามที่จะแกไขปรับปรุงอยูเสมอ
เทานั้น การสอนแตละครั้งครูจะตองไมคิดวาตนเองไดสอนอยgา.งดีแลว พอใจแลว แตจะหาวิธีที่จะทําใหการ
สอนดียิ่งขึ้นในครั้งตอไป i g za
oz บปรุงการสอนของครูใหดียิ่งขึน้
๗.๒ หัวขอตอไปนี้เปนหลักปฏิบัติใeนการปรั
w .g สิ่งแรกที่ครูจะตองเขาใจปจจัยตาง ๆ ที่จะทําใหการสอนดี
w w
๗.๒.๑ รูหลักและเทคนิ ค การสอนดี
เสียกอน เพื่อเปนการวางมาตรการใหแกตนเอง
๗.๒.๒ สังเกตการสอนของผูอื่น การสังเกตการสอนของบุคคลอื่น ครูจะตองระลึกถึงการสอน
ของตนเองอยูเสมอ การสังเกตจะตองตั้งความมุงหมายไววา จะเรียนรูว ิธีการสอนที่เขานํามาใช สิ่งสําคัญบาง
ประการที่ควรศึกษาพิจารณา ไดแก บุคลิกลักษณะ และเทคนิคการสอนทั้ง ๓ ประการนี้ จะชวยใหการสอน
สัมฤทธิผลมากที่สุด
๗.๒.๓ วิเคราะหลักษณะของตนเอง การประเมินและการวิเคราะหการสอนของตนเองเปน
ความจําเปนในการปรับปรุง เพราะจะไดขอดีขอเสียของตนเอง สิ่งใดที่เปนขอดีจะดีสรางเสริมใหดยี ิ่งขึ้น
หรือสิ่งใดเปนขอเสียก็จะไดปรับปรุงแกไขเสียใหม
๗.๒.๔ เพงเล็งปจจัยตาง ๆ โดยปจจัยที่จะตองพิจารณา ไดแก เทคนิคการสอนและแผนการ
ปรับปรุง ครูจะตองทัศนคติและความตั้งใจที่จะปรับปรุงในแงคิดตาง ๆ โดยเฉพาะเกี่ยวกับการสอน
๗.๒.๕ ใหครูผูอื่นชวยเหลือ ครูยอมจะไมสามารถประเมินการสอนของตนเองถูกตอง
เสมอไป ทางที่ดีควรจะใหผูอื่นชวยวิจารณการสอนของตนเอง และจะตองนอมรับคําวิจารณเหลานั้นดวย
ความเต็มใจ
๗.๒.๖ พยายามปรับปรุงเสมอ ความพยายามเปนวิธีที่ดีที่สุดเมือ่ จบการสอนแตละครั้ง ครูจะ

ตองถามตนเองวา จะมีวิธีอยางไรที่จะทําใหการสอนดีกวานี้อีกและจะตองไมพอใจในสิ่งหนึ่งสิ่งใด นอกจาก
คําวา “ดีที่สุด” เทานั้น ครูจะตองพยายามตื่นตัวเพื่อที่จะหาวิธีที่ดีที่สุดในการสอนอยูเ สมอ
๘. ความสัมพันธระหวางครูกับนักเรียน
๘.๑ เพื่อใหบงั เกิดผลสําเร็จ ครูจะตองไดรับความเคารพนับถือจากนักเรียน การที่จะไดรับความ
เคารพนับถือ ครูจะตองแสดงทัศนคติอยางถูกตองตอนักเรียน แสดงความสนใจอยางจริงใจและอยางมี
จุดมุงหมาย ครูจะตองใหความเสมอภาคตอนักเรียนโดยไมคํานึงถึง ชนชั้น ผิว ภูมภิ าค หรือภาษา
๘.๒ การพัฒนาทัศนคติอยางเหมาะสมตอนักเรียน ครูจะตองระลึกวา นักเรียนมีลักษณะ ดังนี้
๘.๒.๑ มีความเปนผูใหญทั้งสุขภาพรางกาย อารมณ และจิตใจ
๘.๒.๒ มีความจริงจังที่จะรับการฝกมากที่สุด
๘.๒.๓ มีความสนใจอยางแทจริงในการปฏิบัติตาทฤษฎีและความรูที่ไดรับ, การเรียนเปน
สิ่งจําเปนและปรารถนาสําหรับเขา
๘.๒.๔ มีความเคารพนับถือผูมีความรูความสามารถในการสอนเขา และจะเสื่อมศรัทธาตอผูไร
ความสามารถ
๘.๒.๕ มีสภาพรางกาย สติปญญา การศึกษา ประสบการณ การพิจารณา หรือความตองการที่
จะใหบรรลุผล และสภาวะทางอารมณที่แตกตางกัน สภาวะแตกตางเหลานี้ เปm
c o นสิ่งทีค่ รูจะตองนํามาพิจารณา
ดวย แตอยางไรก็ตาม สวนมากแลวคนโดยทั่วไปสามารถที่จะรับการฝ g ก.ได ถาไดรับการสอนดี
a
๙. ขอแนะนําสําหรับครูตอไปนี้เปน “กฎการปฏิบตั ”ิ ของครูiพgงึ ยึzดถือในการสอน
๙.๑ ไมสอนอยางขาดความรู ครูจะตองรูgเรืe o่สzอนโดยตลอด แตกอ็ าจจะมีคําถามที่ครูไมสามารถ
่องที
ตอบไดเกิดขึ้น กรณีเชนนี้ครูจะตองยอมรัw บw
.
และหาคําตอบที่ถูกตองมาใหในวันตอไปโดยเร็วที่สุด
w การกระทําเชนนีจ้ ะเปนการเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของครู และ
๙.๒ ไมใชถอยคําลามกหรือหยาบคาย
เสื่อมความเคารพนับถือจากนักเรียน
๙.๓ ไมพูดเยยหยัน นักเรียนไมมีทางที่จะโตตอบ ทําใหเกิดอารมณขนุ มัวจิตใจ ก็ไมรับรูเรื่อง ที่ครู
สอน
๙.๔ ไมยกตนเอง ครูจะตองทําใหนกั เรียนรูสึกวา ครูเปนผูโชคดีไดรับเกียรติใหเปนผูมาถายทอด
ความรูหรือประสบการณแกนักเรียนเพื่อรวมอาชีพเดียวกัน
๙.๕ ไมลดความพยายาม ความชาหรือความไมสามารถที่จะเขาใจบทเรียนที่ครูสอนได อาจ
หมายถึงครูจะตองใชวิธีการสอน และเทคนิคอยางอื่น

บทที่ ๒
หลักการสอน
(Principles of Instruction)
------------------------
๑. กลาวทั่วไป
๑.๑ ครูที่มีความนึกคิดในเรื่องการเรียนของนักเรียนอยูใ นวงจํากัด ยอมเปนการยากที่จะประสบ
ผลสําเร็จในการสอนได
๑.๒ การที่จะใหประสบผลสําเร็จอยางสูงสุดนั้น ครูจะตองรูถึงลักษณะของการเรียนกระบวนการ
สอนและหลักการโดยทัว่ ไป หรือแนวทางอื่นทีจ่ ะเปนการเสริมสรางการเรียน การสอนใหบังเกิด
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
๒. ลักษณะของการเรียน
๒.๑ ผลลัพธของการสอนทุกชนิดที่ตองการ ก็คือ การเรียนของนักเรียนนัน่ เอง, หลังจากจบบทเรียน
หนึ่ง ๆ แลว ถานักเรียนไมสามารถทําอะไรใหดีขึ้นกวาที่เปนอยูเดิมm ได ก็หมายความวา ยังไมมีการเรียน
o
.cอการเรียนของนักเรียน ถาการเรียนซึ่งครู
อะไรที่เปนผลมาจากการสอนเกิดขึ้นเลย ครูจะตองรับผิดชอบต
g
a และการดําเนินการสอนของตนเอง ซึ่งเปนเหตุ
g วzเอง
รับผิดชอบอยูนี้ไมมีผลอะไรเกิดขึ้น ครูจะตองสํารวจตั
i
ที่มาของการไมเกิดผลนี้เปนประการแรก eoz
๒.๒ ลักษณะของเรียนที่ครูคw .g ามาพิจารณาใหเกิดผลดี ไดแก
วรจะนํ
๒.๒.๑ เรียนดวw
w
ยการกระทํา การเรียนอาจนิยามไดวาเปนกระบวนการรับความรู ทักษะ เทคนิค
และความซาบซึ้งใหม ๆ ซึง่ สามารถที่จะชวยทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ไมสามารถทํามากอนได เมื่อพิจารณาแลวจะ
เห็นวาการเรียนนั้นเนนอยูที่ “การกระทํา” ดังนั้น การเรียนจึงจําเปนตองใหมกี ระบวนการเคลื่อนไหวเกิด
ขึ้นอยูตลอดเวลา ไมควรปลอยใหเปนไปอยางเฉื่อยชา ครูจะตองใหนักเรียนไดเรียนตามความหมายดังกลาว
ขางตน โดยมอบงานที่เปนประโยชนใหนักเรียนทํา วิธีนจี้ ะทําใหนกั เรียนตองใชทั้งสมองและรางกายอยู
เสมอ
๒.๒.๒ เรียนโดยผานประสาทหลายทาง การเรียนอาจนิยามไดวาเปนการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม อันเปนผลเนื่องมาจากรางกายและจิตใจใหสนองตอบตอสิ่งเราประสาททั้งหา ซึ่งเปนเสมือนสื่อ
สําคัญยิ่ง ในการสนองตอบตอสิ่งเหลานี้ไดแกการมองเห็น การไดยนิ การสัมผัส การลิ้มรสและการดมกลิ่น
ซึ่งเปนการสัมผัสสิ่งตาง ๆ รอบ ๆ ตัวของนักเรียน ผลของการสัมผัสเหลานี้จะกอใหเกิดการสนองตอบ
อันจะเปนการนําไปสูการรับความรู ทักษะและทัศนคติใหม ๆ ในเรือ่ งนี้ครูจะตองรับผิดชอบ โดยจัดใหมี
สถานการณการเรียน ที่ทําใหตองใชประสาทสัมผัสหลาย ๆ ทาง และดวยเหตุนี้ การทําแบบฝกหัด การใช
เครื่องชวยฝก และการสาธิต จึงเปนสิ่งที่มคี ุณคายิ่งตอการเรียนของนักเรียน

๒.๒.๓ ประเภทของการเรียน การเรียนของนักเรียน อาจแบงไดเปน ๓ ประเภท ไดแก เรียน
ใหเกิดความรู ทักษะ และทัศนคติ
๒.๒.๓.๑ ความรูความเขาใจ มักเปนเรื่องที่เกี่ยวกับความเปนจริง หลักการ ความหมาย
แนวความคิด และความสัมพันธเกี่ยวกับของตาง ๆ
๒.๒.๓.๒ ทักษะ หมายถึงความสามารถทางรางกาย และสมอง เชน ความเคยชินอยาง
ใดอยางหนึ่งโดยเฉพาะ ความคุนเคย และการปรับตัว ทักษะทางสมอง หรือความสามารถนี้ หมายรวมถึงการ
แกปญหา วิจารณญาณ การวิเคราะห และการตัดสินตกลงใจดวย
๒.๒.๓.๓ ทัศนคติ หมายถึงการเห็นคุณคา อุดมคติ ความฝกใฝและคานิยมตาง ๆ หรือ
จะพูดงาย ๆ ทัศนคติ ก็คือ สภาพจิตใจ หรือความรูสึกนึกคิดของบุคคล หรือความคิดเห็นของบุคคลที่มีตอ
สิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยแสดงพฤติกรรมออกมาอยางใดเปนทีป่ รากฏตอผูอื่น
๓. กระบวนการสอน
๓.๑ กระบวนการสอนเปนวิธีหลักสําหรับการสอนบทเรียนหนึ่ง ๆ หรือทุกขั้นตอนของบทเรียน
กระบวนการสอนประกอบดวยขั้นทั้ง ๓ ดังนี้.-
๓.๑.๑ การสอน (โดยครู)
๓.๑.๒ การปฏิบัติ (โดยนักเรียน)
o m
๓.๑.๓ การประเมิน (โดยครู) g .c
a
ดzของนักเรียนใหเกิดขึน้
๓.๒ การสอน การสอนเปนการสรางแนวความคิ
z i g แนวความคิดของ
นักเรียนจะเกิดขึ้นไดโดยการศึกษางานที่มอบหมายกํe o ฟงการอธิบายของครู การมีสวนรวมในการ
w . g าหนด
w
ถกแถลง หรือโดยการสาธิตใหชม การสอนในทางทหารส วนมากแลวถาตองการใหเกิดประสิทธิภาพอยาง
wกจิ กรรมการเรียนของนักเรียน เขากับการบอกและการสาธิตของครู
แทจริงนั้น จะตองประกอบดวยการสนธิ
๓.๓ การปฏิบัติ การสอนของครูจะตองใหนกั เรียนมีโอกาสนําเอาความคิดใหม ๆ ที่ไดรับจากชั้น
การสอนไปใชปฏิบัติ ขั้นปฏิบัตินับวาเปนขั้นสําคัญที่สุด การเรียนทุกชนิดตองการใหนักเรียนสนองตอบดวย
รูจักคิดและประสบผลสําเร็จในการวางแผน และดําเนินการสอน ครูพึงระลึกเสมอวา “สิ่งที่ครูสอนจะตอง
พูดหรือทําไมมากจนเกินไป นอกจากเปนเพียงสาเหตุใหนักเรียนกระทํานั้น”
๓.๔ การประเมินผล ครูตรวจสอบการสนองตอบของนักเรียน เพื่อที่จะบอกใหนักเรียนทราบ
ความกาวหนา และเปนการปองกันใหพน จากการปฏิบัติที่สนองตอบไมถูกตองดวยการประเมินผล หมาย
รวมถึงการทดสอบปกติ เมือ่ จบหวงระยะเวลาหนึ่ง ๆ หรือเมื่อจบขัน้ ตอนการสอนแลว แตอยางไรก็ตาม
ที่สําคัญที่สุดของการประเมินผล ไดแก การทดสอบที่ไมเปนไปตามปกติ และการกระทําควบคูกับขั้นการ
สอนและการปฏิบัติ การประเมินผลโดยวิธีนจี้ ะสามารถบรรลุผลสําเร็จไดโดยการซักถามนักเรียนหลังจาก
การอธิบายหรือสาธิตแลว โดยการสังเกตนักเรียนอยางใกลชิดระหวางปฏิบัติ เพื่อหาขอบกพรองและการ
จัดการแกไข โดยการตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนที่เกี่ยวของสัมพันธกับการสอนครั้งกอน

๔. หลักการสอน
หลักการสอน เปนเรื่องที่กลาวถึงสภาวะความตองการ เพื่อทีจ่ ะใหการสอนบังเกิดประสิทธิภาพดี
ยิ่งขึ้น และนัน่ ยอมหมายความวา การเรียนยอมจะบังเกิดประสิทธิภาพดวย หลักการตาง ๆ เหลานี้ เปนสิ่งที่
จะชวยใหครูสามารถใชกระบวนการสอน เลือกใชวิธีสอนตลอดทั้งเทคนิคการสอนไดอยางเหมาะสม
หลักการสอนเหลานี้ ไดแก.-
๔.๑ การเราใจ กอนจะตองใหนกั เรียนเกิดความตองการเรียนเสียกอน ที่เขาจะไดรับการสอน
การพัฒนาความตองการเรียนของนักเรียนใหเกิดขึ้น และคงมีอยูโดยตอเนื่องนัน้ จะทําใหนักเรียนมีความ
ตั้งใจตอการสอน และคําแนะนําในการฝกปฏิบัติเปนอยางดี ซึ่งเปนลักษณะพึงประสงคที่สําคัญตอการสอน
ที่จะใหบังเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ตอไปนี้เปนเทคนิคตาง ๆ ที่ครูจะนํามาใชเพื่อเราใจนักเรียนใหเกิด
ความตั้งใจตอการสอนของครูยิ่งขึ้น
๔.๑.๑ บอกความจําเปน เราไมอาจรูไดวานักเรียนจะจดจําความสําคัญของบทเรียนที่ไดรับการ
สอนมาแลว เพราะเรื่องที่สําคัญหลายเรื่อง อาจจะไมมคี วามเกีย่ วของกับหนาทีก่ ารงานของนักเรียนเลย เมื่อ
เริ่มไดยนิ ไดฟง ครั้งแรก ดังนั้น การสอนจะตองเหตุผลอยางถูกตอง อธิบายใหทราบวาสิ่งที่สอนไปนี้จะ
นําไปใชวิธีใด หรืออยางไร
๔.๑.๒ พัฒนาความตั้งใจเรียน กอนจะไดรับการสอน ครู
o mจะตองใหนกั เรียนรูวา นักเรียนจะตอง
มีหนาที่ที่รับผิดชอบตอการเรียนของตน การจะจัดใหมีเพีgยงการฝ c
. กหรือการสอบทางรางกายอยางเดียวนัน้
ยอมไมเปนการเพียงพอ ครูจะตองเตรียมจิตใจของนัiกgเรีz
a
ยน ใหมีความพรอมใจในการเรียนดวย และจะตองมี
การตรวจสอบความกาวหนาของนักเรียนอยูเe oz นักเรียนที่มีความรับผิดชอบตอการเรียนมากเทาไร ก็ยิ่ง
ตองมีความเขาใจมากขึ้นเทานั้น ww
.g สมอ

w
๔.๑.๓ รักษาความสนใจอยู เสมอ ความสนใจเปนสิง่ จําเปนยิ่งถาตองการที่จะใหเกิดความตั้งใจ,
การใชอํานาจในตัวเอง ความกระตือรือรน การแสดงตัวอยางและภาพพจนประกอบจะทําใหมคี วามสนใจอยู
ในระดับสูง ยิ่งใหนักเรียนสนใจในสิ่งที่นํามาสอนมากขึ้นเทาไร ความพรอมทีน่ ักเรียนตองการก็ยิ่งมากขึ้น
เทานั้น
๔.๑.๔ พยายามใหสําเร็จแคเริ่มแรก การกระทําที่ประสบความสําเร็จตั้งแตเริ่มแรกจะเปนการ
เราใจนักเรียนใหเกิดความตองการเรียนมากขึ้น ปกติคนเรายอมมีความยินดี และพอใจในความสําเร็จของตน
การฝกในระยะแรกของทุกขัน้ การฝก จะตองกําหนดกิจกรรม เพื่อใหนักเรียนกระทําไดสําเร็จอยางสมบูรณ
เรียบรอย
๔.๑.๕ ใหความยอมรับและเชื่อถือ การยอมรับและเชื่อถือ เปนการสรางกําลังใจตอการเรียน
อยางสูง นักเรียนยอมหวังที่จะไดรับความเชื่อถือตองานที่ปฏิบัติไปแลวเปนอยางดี ครูจะตองกลาวถึงสวนที่
เปนขอปฏิบัติที่ดี ไมกลาวถึงสิ่งที่ผิดมากเกินไป และเสียทั้งหมดโดยเริ่มตนกลาวขอคิดเห็นที่เปนสิ่งที่ดี และ
นําไปสูขอแนะนําเพื่อจะปรับปรุงแกไข
๔.๑.๖ หลีกเลี่ยงความรูสึกและอารมณขุนมัวครูพงึ หลีกเลี่ยงอารมณและความรูสึกขุนมัว ซึ่ง

เปนอุปสรรคขัดขวางตอการเรียนที่ดี ความรูสึกยอมจะมีอิทธิพลเหนือการเรียน นักเรียนยอมมีความโกรธ
ความเคือง แคน ความตืน่ กลัว ความขวยเขิน หรืออารมณ ในลักษณะนีจ้ ะคิดถึงสิ่งที่เปนเหตุที่กอใหเกิด
อารมณมากกวาที่จะคิด ถึงเรือ่ งการเรียน
๔.๑.๗ การแขงขันระหวางเพื่อน เปนการเราใจตอการเรียน เชน การแขงขันกันระหวาง
นักเรียนสองกลุมหรือมากกวา โดยปกติจะทําใหเกิดผลสําเร็จในการเรียนไดเปนอยางดี ถาการแขงขันนั้นไม
กระทํามากไปจนเปนผลเสียตอการเรียนถาไปเปนได ควรใหมกี ารแขงขันเปนกลุม จะดีกวาทีจ่ ะใหนกั เรียน
แขงขันเปนรายบุคคล การใหนักเรียนแขงขันลบลางหรือทําลายสถิติของตนเปนวิธีการแขงขันที่มี
ประสิทธิภาพ
๔.๑.๘ การใหรางวัลและการลงโทษ รางวัลเปนสิ่งจูงใจมาก การลงโทษบางโอกาสเกิด
ประโยชนนอยที่สุดในการเราใจ การลงโทษที่นักเรียนมีความรูสกึ วาไมเปนธรรม หรือรุนแรงเกินไป
อาจนํามาซึ่งความโกรธเคือง การโตตอบ และไมปรารถนาที่จะเรียนบทเรียน ซึ่งมีการลงโทษนั้น ๆ
๔.๒ บอกความมุงหมาย การเรียนยอมจะเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เมื่อนักเรียนไดรูแนนอนวาเขา
ตองเรียนอะไรและอะไรจะเกิดขึ้นกับเขา เมื่อเริ่มสอนแตละครั้งครูจะตองเริ่มดวยการบอกความ มุงหมาย
ซึ่งจะนํานักเรียนไปสูความสําเร็จเปนการแนนอนที่สุดที่จะกลาวสิ่งที่นักเรียนมาสารถทําไดและทําไดเพียงใด
นั้นเปนผลมาจากการสอนของครูยิ่งกวานีค้ รูควรจะบอกนักเรียนวาแตละบทเรียm นมีความเหมาะสมอยางไร
และหลักสูตรนี้มีวัตถุประสงคอยางไรตองานในหนาของนักเรียน g. c o
๔.๓ การตอบสนอง ครูจะตองทราบความจริงวig าz
a
นักเรียนแตเฉพาะสิ่งที่เขาจะตองทําหรือมีการ
สนองตอบเทานั้น การสนองตอบอาจแสดงออกไดe ozปแบบ การฟง การสังเกต การจํา การบันทึก
.g
หลายรู
การทอง การขีดเขียน การฝกปฏิบัติหw รือwการแกปญหา กระบวนการสอนทั้ง ๓ ซึ่งไดแก การสอน
การปฏิบัติ การประเมินผล เปนการเพ wงเล็งการใชหลักการสอนของครูในเรื่องนี้ การสอนทุกครั้งครูจะตอง
คอยสังเกตและประเมินผลนักเรียน “การปฏิบัติจะทําใหเกิดผลสมบูรณได” ตอเมื่อนักเรียนไดปฏิบัติไดอยาง
ถูกตองเทานั้น
๔.๔ การใหความรูเพิ่มเติม การเรียนที่มปี ระสิทธิภาพ จะตองใหนกั เรียนรูวาการสนองตอบของเขา
นั้นถูกหรือผิด การนําหลักการขอนีม้ าใชเหมือนเปนหัวใจของขั้นประเมินผลซึ่งกําหนดขัน้ เปนอยางดีใน
จิตวิทยาการเรียน เพราะเมือ่ นักเรียนรูวาสิ่งที่นักเรียนสนองตอบถูกหรือประสบความสําเร็จ เขาจะ “จําใสใจ”
ในทํานองเดียวกัน ครูก็จะตองบอกสิ่งที่นักเรียนสนองตอบไมถูกตองดวยเหมือนกัน และใหเขามีโอกาสใน
สิ่งบกพรองหรือไมถูกตองเหลานั้น โดยอุดมคติแลว นักเรียนควรรูสิ่งที่เขาทําถูกหรือทําผิดในทันทีทันใด
หลังจากที่มีการสนองตอบแลวแตละครั้ง เพราะยิ่งปลอยไวนานเทาไรการเพิ่มความรูก็จะลดนอยลงเทานั้น
การสอนควรจะวางแผนใหมกี ารประเมินผลอยูดวยตั้งแตขั้นการสอนและการปฏิบัติ การแกไขขอผิดพลาดใน
ทันทีทันใด เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งตอการสอน และการเรียนที่มีประสิทธิภาพ, การสอบ, ปกติมีการกระทํา
หลังจากจบชัว่ โมงหนึ่ง หรือจบขั้นการสอน แลวยังไมเปนการเพียงพอที่จะบรรลุหลักการเพิ่มเติมความรูได
เพราะการสนองตอบ และความรูที่เปนผลเกิดขึ้น ไดปลอยไวนานเกินไป

๔.๕ ความสมจริง ครูจะตอประกันวาสิ่งตาง ๆ ที่เรียนนั้นมีความสัมพันธเกี่ยวของใกลชิดกับการ
ปฏิบัติจริง ดังนั้น บทเรียนแตละบทหรือหัวขอสําคัญของบทเรียนจะตองนํามาพิจารณาตอบปญหาตอไปนี.้ -
๔.๕.๑ วิธีนี้เปนวิธีที่นกั เรียนจะตองใชสิ่งเหลานี้ ในการปฏิบัตจิ ริงหรือไม สิ่งที่นํามาใชสอน
จะตองพิจารณาวา มีความสมจริงในสวนที่สําคัญของการปฏิบัติ แตอยางไรก็ตาม ในขั้นของการสอน
บทเรียนนัน้ ความสมจริง ไมควรจะเพงเล็งมากเกินไปจนกลายเปนอุปสรรคตอการเรียน จริงอยูในการ
ปฏิบัติการรบ ทหารอาจจะตองดูแผนที่ทา มกลางพายุหมิ ะ ขณะที่ตกอยูภายใตอํานาจการยิงของขาศึก แตนั่น
มิไดหมายความวา การสอนการอานแผนที่เบื้องตนจะตองสอนภายใตสถานการณคลายคลึงกันเชนนี้ เครื่อง
กีดขวางที่มีความสมจริง ควรจะนํามาใชฝกปฏิบัติหลังจากนักเรียนไดเรียนรูห ลักการและเทคนิคเบื้องตนมา
อยางดีแลว
๔.๕.๒ การสอนของครู มีความสมจริงเกินกวาระดับของนักเรียนที่จะเกี่ยวของ หรือการสอน
ที่เกนระดับความรูของนักเรียนยอมจะไมสมจริง แตอยางไรก็ตาม เนื้อหาวิชาทีย่ ากและสัมพันธเกี่ยวของกัน
สามารถจะนํามาสอนนักเรียนในระดับตางกันได ถาไดนํามาปรับปรุงเพื่อใหเหมาะสมแกความจําเปน
การสอนจะยังมีความสมจริงยิ่งขึ้น โดยการอางอิง เชน “นี่ สิ่งนี้ทานหมายความวาอยางไร” หรือ “ทานจะ
ใชสิ่งนี้โดยวิธีนี้”
๔.๖ ความรูเดิม การเรียนยอมจะตองอาศัยประสบการณเปนm พืน้ ฐาน ประสบการณใหม ๆ ยอม
จะตองสืบเนื่องมาจากประสบการณในอดีต เชน ครั้งg c o
. ่อคนเห็นเครื่องบินอาจจะเรียกเครื่องบินวา
แรกเมื
“นกประหลาด” เพราะสิ่งที่เห็นใหมนี้มลี ักษณะเหมืig zบaสิ่งที่เขาเคยรูจักเชนนั้นมากอน
อนกั
่งo
z
๔.๖.๑ ครูสามารถที่จะอธิบายสิ
.g e ตาง ๆ ใหม ๆ ไดมากมาย โดยการสรางภาพพจนจาก
ประสบการณของนักเรียนในอดีตw เหลw านีเ้ ขากับสิ่งใหม เชน ความตานทานการไหลของกระแสไฟฟาผาน
เสนลวดที่มีขนาดแตกตางกันw มีลักษณะคลายกับความตานทานการไหลของน้ํา ผานทอที่ขนาด
เสนผาศูนยกลางที่แตกตางกันนั่นเอง เชนนี้เปนตน การอธิบายที่ไมอางประสบการณถึงแมจะเปนการถูกตอง
มากเพียงไรก็ตาม แตจะมีนกั เรียนเพียงสวนนอยเทานั้นที่เขาใจความหมายไดอยาเต็มที่จากการอธิบาย
๔.๖.๒ ประสบการณของนักเรียนในอดีตยอมแตกตางกัน เพราะฉะนั้น นักเรียนอาจจะไม
เขาใจความหมายจากคําอธิบายของครูถูกตองแนนอนเหมือนกันทุกคนได ครูจะตองเลือกและสรางภาพพจน
ดวยความระมัดระวัง เพื่อใหนักเรียนทุกคนเขาใจความหมายถูกตองเชนเดียวกัน ขั้นแรกเมื่อทหารเขามาใหม
การยกตัวอยางจะตอยกตัวอยางประสบการณพลเรือนเสียกอนตอเมื่อการฝกไดผานพนไปแลว อาจจะ
ยกตัวอยางเปรียบกับตอนแรกเมื่อเริ่มรับการฝก
๔.๖.๓ ครูนําหลักการนีม้ าใชในการกลาวนําบทเรียน โดยการทบทวนการสอนครั้งกอน ดวย
วิธีนี้จะชวยใหนักเรียนระลึกวาเขาเรียนเรื่องอะไรมาแลวบางซึ่งเปนการสรางความรูเดิมหรือประสบการณใน
อดีตของบทเรียนที่ไดสอนมาแลวใหแกนักเรียน
๔.๗ การเรียนที่ใชกับเหตุเฉพาะหนา
๔.๗.๑ การเรียนจะมีความสมบูรณไดก็ตอเมื่อ นักเรียนมีทัศนคติ คานิยม การรูคุณคา ความ
สนใจในอุดมคติ และความเคยชินในการปฏิบัติ ซึ่งจะชวยใหนักเรียนนําเอาสิ่งตาง ๆ เหลานี้ไปใชไดอยาง
๑๐
ถูกตองเทานั้น คํากลาวนีม้ ีความสําคัญตอการฝกและการสอนมาก ซึ่งจะตองนํามาพิจารณาหลักเบื้องตน
เพื่อใหเปนแนวทางในการสอนของครู ครูจะตองไมคิดแตเพียงวาตนเองมีหนาที่เกี่ยวของเฉพาะการสอน
และการใหความรูแกนักเรียนเทานั้น แตครูจะตองมีความพรอมอยูเ สมอในการพิจารณาคุณคาและทัศนคติ
อยางถูกตองวา นักเรียนจะนําความรูความสามารถไปใชอยางมีประสิทธิภาพไดอยางไร หลักขอนี้เนนความ
จริง ความจริงครูหรือภารกิจ ประการสุดทายของครูนั้น ก็คือ การฝก ครูไมสอนเนื้อหาของบทเรียนแตเพียง
อยางเดียวเทานั้น
๔.๗.๒ เอกสารการฝกของกองทัพบกเปนจํานวนมาก ไดยอมรับความสมบูรณของหลักการ
เรียนขอนี้ เมื่อตองการจะใหการฝกเปนผลเชิงรุก ความจงใจในการตอสู ความริเริ่มเชาวปญญาและมีจิตใจ
เชิงรุก ขอยุตอิ ันพึงประสงคเหลานี้มิไดมกี ารสอนกันโดยตรง แตนักเรียนจะไดรับการพัฒนาในทางออม
ซึ่งเปนผลมาจากปจจัย ๓ ประการ ดังตอไปนี.้ -
๔.๗.๒.๑ ลักษณะอันพึงประสงคเหลานี้ เปนผลเกิดจากการสอนดี
๔.๗.๒.๒ ความเปนผูนําซึ่งจะเนนไวในความมุงหมายประการสุดทายของการฝก
๔.๗.๒.๓ กําหนดการฝกอยางระมัดระวังที่จะทําใหสถานการณการฝก มีความสมจริง
มากที่สุด ซึ่งจะทําใหมีโอกาสพัฒนาคุณสมบัติเหลานี้ใหเกิดมีขึ้นได
๔.๗.๓ การนําเอาหลักการนี้มาใชในการสอน ครูจะตองพรอมที
om่จะเผชิญกับการพัฒนาทุกสิ่ง
c
ทุกอยางของนักเรียน ครูจะตองระลึกไววา นักเรียนหลายสิ่งหลายอยาgง .ยิ่งไปกวาเรื่องที่นํามาสอน ตัวอยาง
a
ทzี่ดีตอการสอน นักเรียนจะมีปฏิกิริยาในการ
ตาง ๆ ที่ครูยกขึ้นมาจะตองเปนตัวอยางที่ดี และมีทัศนคติ
z i g
เลียนแบบตอทัศนคติของครูไดอยางรวดเร็ว ดังนั้นeo
.g
ครูจะตอละเวนการกระทําทีเ่ ปนขอสังเกต และแสดง
ความคิดเห็น ซึ่งไมเปนการสนับสนุนw ทัศwนคติอันพึงประสงคของนักเรียน ครูควรจะใหขอคิดลวงหนา
เกี่ยวกับ ทัศนคติอันพึงประสงค คุณw คา ความสนใจ อุดมคติ และความเคยชินในการปฏิบัติ ซึ่งอาจเปนผล
มาจากการสอน และพยายามทุกวิถีทางทีจ่ ะมีสวนรวมในการพัฒนาสรางสรรคอยูเสมอ
๑๑
บทที่ ๓
การสอน
(Presentiug Oual Instruction)
------------------------
๑. กลาวทั่วไป
๑.๑ สะพานหรือสื่อที่เปนเครื่องเชื่อมโยงระหวางครูกับนักเรียน เปนสิง่ จําเปนที่จะชวยใหการสอนมี
ประสิทธิภาพ การสอนบทเรียนตาง ๆ ครูจะตองมีความเขาใจเกีย่ วกับการจัดการสอนและดําเนินการสอน
ดวยวิธีแยบยลที่สุด
๑.๒ การสอนวิธีใด ๆ ก็ตาม จะแบงออกเปน ๓ สวน คือ กลาวนํา อธิบายและสรุป หรือ
ทบทวน ซึงเปนการจัดการสอนเบื้องตนที่จะใหมีประสิทธิภาพ หรืออาจจะกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ “จงบอก
นักเรียนในสิ่งที่ทานกําลังจะบอก และจงบอกนักเรียนในสิ่งที่ไดบอกไปแลว”
๒. การกลาวนํา
๒.๑ ครูจะเริ่มตนการสอนดวยการกลาวนํา การกลาวนําอาจจะมี
o m ความสั้น - ยาว แตกตางกันได
ทั้งนี้ ขึ้นอยูกบั ลักษณะของบทเรียนและสถานการณการสอน การกล
g .c าวนํากระทําเพือ่ ความมุงหมายสําคัญ ๓
ประการ
i g za
๒.๑.๑ ความสัมพันธระหวางครูeกo ับนัzกเรียน
w .g ยนในบทเรียนนั้น
๒.๑.๒ เราใหเกิดความสนใจเรี
ww
๒.๑.๓ จงชี้แจงขอบเขตและความมุ งหมายของบทเรียน
๒.๒ การสัมผัส การเราความสนใจเพื่อใหเกิดความตั้งใจ พึงใชหลักการตอไปนี้ หนึ่งประการ หรือ
หลายประการรวมกัน
๒.๒.๑ เทคนิคการพูดที่ดี
๒.๒.๒ กลาวเปดการสอนอยางมีประสิทธิภาพ
๒.๒.๓ ทบทวนบทเรียนที่สอนมาแลวและอื่นๆ ที่นักเรียนสนใจเปนพิเศษ
๒.๒.๔ กลาวในสิ่งที่ดีตื่นเตน
๒.๒.๕ เลาเรื่องตลกหรือยกตัวอยาง
๒.๒.๖ ถามในเชิงโวหาร (ถามตอบเอง)
๒.๒.๗ คํากลาวของบุคคลสําคัญ และภาพเหตุการณทางประวัติศาสตร
๒.๒.๘ สาธิต หรือแสดงการเลียบแบบ (SKIL)
๒.๓ การชี้แจงขอบเขต และความมุงหมายของบทเรียนบอกนักเรียนใหรูวาจะเรียนอะไรและจะ
ประสบ ผลสําเร็จตามความมุงหมายไดอยางไร จงบอกใหนักเรียนเขาใจวาทําไมบทเรียนนีจ้ ึงมีความสําคัญ
สําหรับเขา
๑๒
๓. องคประกอบของการกลาวนํา
ความมุงหมายของบทเรียน และเหตุผลในการเรียน จะตองนํามากลาวในการกลาวนําเสมอ
องคประกอบอื่น ๆ อาจจะนํามากลาวหรือไมก็ได ซึ่งไดแกการทบทวนบทเรียนที่สอนมาแลว และวิธีการ
ดําเนินการสอนหลังจากการกลาวนํา องคประกอบตาง ๆ เหลานี้ไมมีลําดับกอนหลังแนนอน และไม
จําเปนตองเปนแบบเดียวกัน บทเรียนแตละบทเรียนครูควรจะตองเขียนไวจะตองกลาวอยางไร จึงสามารถ
จดจําอยางแมนยํา สิ่งสําคัญ คือ จะตองแนใจวาไดกลาวตอไปนี้
๓.๑ ความมุงหมายของบทเรียน กลาวความมุงหมายโดยสรุปใหชัดเจน ในสิ่งที่นักเรียนจะตองเรียน
จะสามารถทําอะไรได สภาวการณเชนไรที่เขาควรจะปฏิบัติ ตลอดจนมาตรฐานการปฏิบัติที่จะตองสัมฤทธิ์
ผล นักเรียนทีจ่ ะเรียนไดดีทสี่ ุดเมื่อเขาเขาใจความมุงหมายอยางแจมแจง นักเรียนจะมีความรูก็ตอเมื่อเขาจดจํา
วิธีการไดสามารถปฏิบัติได นิยามศัพทไดถูกตอง รูรายละเอียดตาง ๆ ฯลฯ ดวยเหตุผลนี้ครูจึงตองกลาว
ความมุงหมายของบทเรียนใหเห็นอยางจริงจัง และดวยความศรัทธาอยางแรงกลา ไมควรกลาวในทํานองวา
“บทเรียนนี้เปนบทเรียนทีน่ า เบื่อที่สุดในกองทัพบก” หรือ “ไดมีระเบียบกําหนดไวใหตองสอนวิชานี้ ดังนี้จึง
ตกเปนภาระหนักแกขาพเจา”
๓.๒ เหตุผลในการเรียน นักเรียนยอมมีความปรารถนาที่จะรูวา เขาตองเรียนสิ่งนั้นไปทําไม
ในเรื่องนี้ครูจะตองขจัดความอยากรูใหหมดไปโดยสิ้นเชิง ถารูจะตองสอนเรืm
c o ่องที่สามารถใหความปลอดภัย
แกชีวติ ของทหารแลว เรื่องนี้จะตองนํามากลาวทันที พยายามหาเหตุg ชี้ให. นกั เรียนเกิดความรูสึกวา บทเรียนนี้
มีความสําคัญสําหรับตัวเขา จงยกตัวอยาที่เห็นไดจากชีวiิตg zaบายประกอบเลาประสบการณของบุคคล
และอธิ
หรือยกตัวอยางความจริงหรือสมมุติ เพือ่ ใหเห็นคุณeคo
z
บทเรียนนี้มีความสําคัญมากในการรบ ww
.g าของบทเรียนเมื่อสามารถเปนไปได ควรย้ําใหเห็นวา

๓.๓ อธิบายสรุปวิธีดําเนินการสอนw เมือ่ นักเรียนรูวาจะตองทําอยางไร เขายิ่งจะมีความตั้งใจและ


เขาใจยิ่งขึน้ เชน ชี้แจงใหนักเรียนรูวา ใน ๓ ชั่วโมงตอไปนี้ เราจะดําเนินการดังนี้ ครูจะอธิบายขั้นตอน
ตาง ๆ ในการถอดประกอบอาวุธ โดยมีผูชวยครูแสดงใหดู นักเรียนพยายามสังเกตแลัพิจารณาอยางใกลชิด
และถอดประกอบอยางละชิน้ สวน แสดงทันทีหลังจากผูชวยครูแสดงใหดูแลว ผูชวยครูจะชวยตรวจการ
ปฏิบัติของนักเรียนตลอดเวลา เมื่อเสร็จแลวนักเรียนจะไดถอดปรับอาวุธที่โตะนักเรียน ภายใตการกํากับดูแล
ของผูชวยครู นักเรียนมีเวลาเพียงพอทีจ่ ะปฏิบัติซ้ํา ๆ ไดหลายครั้ง การทดสอบการปฏิบัติจะกระทําในหวง
เวลา ๓๐ นาที สุดทาย เพือ่ ใหนกั เรียนแตละคนรูวา “ตนเองสามารถเรียนไดเพียงไร”
๓.๔ ทบทวนบทเรียนที่สอนมาแลวทุกบทเรียนตอเนือ่ งกับการสอนครั้งกอน ครูควรจะเนนหรือ
ทบทวน โดยสรุปเรื่องที่สอนมาแลวในขั้นการกลาวนําอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งเปนการใชหลักการสอน พื้นความรู
เดิม และฟนฟูความจําในสิง่ ที่นักเรียนไดเรียนไปแลว เสมือนเปนการวางพื้นฐานความรูของทุกคนใหอยูใน
ระดับเดียวกันกอนที่จะศึกษาบทเรียนไป
๑๓
๔. อธิบาย
ในการอธิบายเรื่องที่จะตองสอน ความจริงเปนการสอนตามหัวขอการสอนของครูนั้นเอง ครูจะตอง
อธิบายเรื่องที่สําคัญ และพัฒนาใหนักเรียนเขาใจ พรอมกับเราใหนักเรียนเห็นคุณคาของบทเรียนนั้น ๆ
๔.๑ การจัดการอธิบาย ครูจะตองจัดการอธิบายใหนักเรียนสามารถติดตามการสอนไดตามลําดับ
การอธิบายที่จดั ตามความเขาใจของครู หรือผูอื่นที่มีความรูอยูแลว อาจไมมีความเหมาะสมที่จะนําไปใชกับ
นักเรียนซึ่งเพิง่ จะไดรับความรูเปนครั้งแรก ครูจะตองจํากัดหัวขอการสอนสําคัญ ๆ ที่จะนํามาอธิบายหรือถก
แถลง ปกตินกั เรียนจะสามารถจดจําไดงายเพียง ๒ - ๓ หัวขอ เทานัน้ และจดจําถึง ๔ - ๕ หัวขอ ไดดวย
ความพยายามพอสมควร ถายิ่งสอนถึง ๘ - ๑๐ หัวขอแลว ก็อาจจะสรางความสับสนวุนวายมากทีเดียว
การจะชวยใหนักเรียนสามารถติดตามการอธิบายไดโดยตอเนื่อง ครูอาจจะใชอุปกรณการสอนซึ่งเขียนหัวขอ
สําคัญไวประกอบการอธิบาย อีกประการหนึ่งครูจะตองพิจารณาวา เรื่องใดควรจะกลาวกอนหรือเรื่องใดจะ
กลาวในลําดับตอมาจึงจะเปนการเหมาะสม ถาเปนการสอนเกี่ยวกับการปฏิบัติ เรื่องที่จะสอนไมเปนปญหา
สําคัญอะไรเลยเพราะจะตองสอนการปฏิบัติในขั้นทีห่ นึ่งกอนขั้นที่สอง และสามอยูแลว แตบางบทเรียน
อาจจะตองจัดการอธิบายใหเห็น เปนไปตามสถานการณ หรือความเหมาะสมของบทเรียน
๔.๒ การตอเนื่องระหวางหัวขอการสอน การสอนจากขอหนึ่งไปยังอีกขอหนึ่ง เปนปญหาซึ่งครู
บทเรียนที่จm
จะตองนํามาคิดในการดําเนินการสอนดวยเหมือนกัน
c o ะตองสอนไปตามลําดับขั้นการสอนจะ
., ประโยค หรือคํากลาวอื่น ๆ การตอเนื่องซึ่ง
เปนไปอยางราบรื่น เมื่อสวนตาง ๆ เชื่อมโยงกันดวยคําเชื่อมวลี g
กันและกันเชนนี้จะทําใหนกั เรียนสามารถติดตามการสอนได i g zaงายขึน้ และสามารถจะรูไดวา เรือ่ งหนึ่งไดจบ
ไปแลว และเรื่องใหมกําลังจะกลาวถึงเทคนิeคo
z
wา.นีgอ้ าจเปลี่ยนแปลงได และไมควรใชหลักการหนึ่งหรือสองหลักการ
บางประการ ซึ่งจะเปนเครื่องชวยใหครูตอเนื่องการสอนดวย
ความราบรื่นมีดังตอไปนี้ (เทคนิw คเหล
ตลอดเวลาสอน) w
๔.๒.๑ อางความมุงหมายของบทเรียนบอย ๆ ตัวอยางเชน ในการสอนหลักการสงคราม เมื่อจะ
กลาวในขอตอไปโดยอางถึงความมุงหมาย “หลักการสงความอีกขอหนึ่งซึ่งเราจะตองนํามาพิจารณา ไดแก
มวลชน” วิธีที่ดีควรจะเขียนชารทประกอบดวย เพื่อใหเห็นความเกีย่ วเนื่องซึ่งกันและกันงายขึ้น
๔.๒.๒ สรุปบอย ๆ การสรุปบอย ๆ เปนเทคนิคการสอนที่มีประโยชนมาก เพราะนักเรียนจะ
ไดฟงซ้ําๆกันหลายครั้ง การสรุปยังเปนวิธีการที่ดีเยี่ยมในการเชื่อมโยงจากขอหนึ่งไปยังอีกขอหนึ่งดวย
ตัวอยางเชน บทเรียนเรื่องหลักการสงคราม “เราไดพจิ ารณาถึงหลักความงายเอกภาพในการบังคับบัญชา
และการรุกมาแลว ตอไปเราจะไดพิจารณากันถึงหลักการดําเนินกลยุทธ”
๔.๒.๓ ใชคําถามเชิงโวหาร ตัวอยางเชน “เราสามารถจะใชหลักการอะไรเปนแนวทางในการ
ปฏิบัติ เพื่อใหไดเปรียบขาศึก, เราจะตองใหหลักการจูโ จม” นี่จะเห็นวาครูตอบคําถามของตนเอง
๔.๒.๔ เชื่อมคําดวยคําหรือวลี คําตางๆ เชน “ถึงอยางไรก็ตาม” “ยิ่งไปกวานัน้ ” “เพราะฉะนั้น” และ
“ดังนั้น” ทั้งหมดนี้เปนเหมือนสัญญาณแสดงใหรูวาความคิดอยางหนึ่งไดจบลงแลว สวนความเรื่องใหม
กําลังจะกลาวถึง พึงระวังอยาใชคําเชื่อมคําใดคําหนึ่งโดยเฉพาะพึงหลีกเลี่ยงการใชคําวา
“ตอไปนี”้ “ไดถูกตองแลว” “ตอไปเราจะไดกลาวถึง” ซ้ํากันบอย ๆ
๑๔
๔.๒.๕ ลําดับหัวขอ ควรใช “ประการแรก” “ประการที่สอง” “ประการสุดทาย” แทนที่
จะใช “ขอหนึง่ ” “ขอสอง” มิฉะนั้นก็เขียนหัวขอบนสไลดหรือชารท เพื่อสะดวกในการติดตามของนักเรียน
๔.๓ การรักษาความสนใจ ครูตองพยายามหาหนทางที่จะทําใหนักเรียนมีความสนใจระดับสูง
อยูเสมอ ครูไมควรจะกลาวหรือสอใหเห็นวาบทเรียนจืดชืดไมนาเรียน เพราะเมือ่ ครูพดู หรือแสดงเชนนั้น
นักเรียนจะหมดความสนใจทันที่ การที่จะใหนักเรียนมีความตื่นตัวเสมอ และเปนการเสริมการเรียน ครูควร
ใชหลักการตอไปนี้
๔.๓.๑ อธิบายอยางเจาะจง การอธิบายอยางเจาะจง และสิ่งที่มีตัวตน (รูปธรรม) จะทําให
นักเรียนเกิดความสนใจ โดยปกติการอธิบายทั่ว ๆ ไป และสิ่งไมมีตวั ตน (นามธรรม) เปนการยากที่จะ
ติดตาม และทําใหนักเรียนขาดความสนใจ จงอธิบายเจาะจงโดยเฉพาะ และหลีกเลี่ยงการกลาวออมคอม
คลุมเครือกลาวทั่ว ๆ ไป
๔.๓.๒ เลาเรื่องและประสบการณครูทหารสวนมากมักจะมีเรื่องและประสบการณมากมาย ซึ่ง
สามารถนํามาใชกับบทเรียนที่สอนได สิง่ เหลานี้จะชวยใหการสอนมีชีวิตชีวามากขึ้น ครูมีประสบการณใน
การรบ สามารถที่จะเนนความสําคัญของบทเรียนไดเสมอ ๆ โดยการบอกวาไดนําไปใชมาแลวอยางไร
ยิ่งกวานั้น เอกสารทางการของกองทัพบกจะมีเรื่องตาง ๆ และยกตัวอยางซึ่งสามารถนํามาใชไดเปนจํานวน
มาก คํากลาวของผูนําทางทหารที่ดีเดนจะชวยเราความสนใจและทําใหการสอนมี
o mชวี ิตชีวายิ่งขึ้น
๔.๓.๓ ภาพประกอบและตัวอยางการใชภาพประกอบ g และตัc
. วอยางที่เปนเรื่องจริงและสมมุตจิ ะ
ทําใหนกั เรียนจดจําได และทําใหความคิดเปนนามธรรมชัดเจนแจ i g zมaแจงยิ่งขึ้น
๔.๓.๔ คําถาม คําถามเปนเครื่องผูกมัe ดกัo
z
.g
บนักเรียนที่จะตองรวมกัน และทําใหนักเรียนตืน่ ตัวอยู
เสมอ เพราะคําถามเปนการบังคับใหผูที่ไw ดยินw
ตองหาคําตอบ
๔.๓.๕ อุปกรณการสอน wการใชชารท แผนผังแบบจําลองและอุปกรณอื่น ๆ จะชวยใหบทเรียน
นาสนใจยิ่งขึ้น จะใชอุปกรณการสอนในเรื่องที่รูสึกวาบทเรียนไมแจมกระจาง หรือมีชีวิตชีวา นักเรียนเกิด
ความตั้งใจ เราความสนใจของนักเรียน และชวยใหการสอนผานไปดวยความเรียบรอย
๔.๔ เนนหัวขอสําคัญ ถาไมมีเนนหัวขอสําคัญ ๆ ของการสอนเสียแลว นักเรียนอาจไมเขาใจเรื่องนั้น
ได หรืออาจจะลืมไดเร็ว วิธที ี่มีประสิทธิภาพที่สุดอยางหนึ่งในการเนน ก็คือการกลาวซ้ํา ๆ เปนเหตุผลอีกอยาง
หนึ่งที่ใชกับบทเรียน โดยใหมีการสรุปบอย ๆ มีขอพึงระลึกอยูอยางหนึ่งวาการกลาวซ้ํา ๆ นัน้ มีขอจํากัด
จะตองกระทําอยางดี และเปนไปอยางเหมาะสม มิฉะนั้นอาจเปนเรื่องเบื่อหนาย
๕. การสรุปและทบทวน
การสรุปจะใชตอนหนึ่งตอนใดในบทเรียนนี้ก็ได พิจารณาแลววามีความจําเปนจะตอบกลาวซ้ําสั้น ๆ
ในเรื่องนั้นการสรุปบอย ๆ ตลอดบทเรียนที่สอน จะเปนการชวยใหนกั เรียนจดจําและเขาใจขอสําคัญของ
บทเรียนไดอยางแจมแจง บทเรียนที่สอนควรจะตองมีการสรุปอยางสมบูรณเสมอ เรื่องที่สอนมาแลวทั้งหมด
การสรุปหรือทบทวนครั้งสุดทายนี้ เปนโอกาสของครูที่จะฝงหรือผนึกเรื่องสอนลงไปในความทรงจําของ
นักเรียน พึงระลึกไวอยางหนึ่งวา การทบทวนจะตองเปนการอธิบายอยางสั้นๆ ไมใชเปนการสอนซ้ําใน
บทเรียน การสรุปออยางนอยจะตองมีองคประกอบดังตอไปนี้
๑๕
๕.๑ การตอบคําถามของนักเรียน
๕.๒ การกลาวย้ําความคิดทีส่ ําคัญ ๆ ขั้นตอนในการปฏิบัติ และขอพึงระมัดระวัง หรืออันตรายเมื่อ
มีการปฏิบัติ
๕.๓ กลาวปดอยางซาบซึ้ง การกลาวปดควรจะตองกลาว เพื่อทิ้งความประทับใจที่ดีไวแกนกั เรียน
อาจเปนขอพึงระลึก หรือผลดีบางประการสักสองเรื่อง ที่ไดรับจากการใชหลักการที่ถูกตองเหมาะสม หรือ
ความหายนะ อาจเปนผลมาจากการปฏิบัติที่ไมถูกตอง เหนือสิ่งอื่นใดการสรุปจะตองเปนไปตามความ
มุงหมายของบทเรียน และใหนักเรียนมีความรูสึกวา เขาไดบรรลุภารกิจของเขาแลว

-------------------------------------
om
g .c
ig za
z
.g eo
w w
w
๑๖
บทที่ ๔
วิธีการสอน
(Types of Intruction )
------------------------
๑. ความมุงหมาย
๑.๑ ในการสอนความรูหรือทักษะแกนักเรียนนั้น ครูตอ งมีวิธีสอนหลายอยาง เพื่อใหนกั เรียนเขาใจ
และสามารถปฏิบัติไดวิธีสอนแตละแบบยอมจะมีความเหมาะสม แลโอกาสใชแตกตางกัน ซึ้งขึ้นอยูหลาย
ประการ เชน พื้นฐานความรูของนักเรียน จํานวนนักเรียน เรื่องที่สอนและเวลา ปจจัยเหลานี้เปนเครื่องที่นํามา
พิจารณาใชวิธสี อนที่เหมาะสม
๑.๒ แบบหรือวิธีสอนที่ใชเปนหลักในทางทหารนั้น ไดแก วิธีสอนเชิงบรรยาย วิธีสอนเชิงประชุม
และการสอนเชิงแสดง บางบทเรียนจําเปนตองใหนักเรียนปฏิบัติดว ย ซึ่งเปนสิ่งที่ครูจําเปนตองรูเทคนิคการ
สอนตางๆ และวิธีปฏิบัติที่จะทําใหเกิดประสิทธิภาพอยางสูงดวย
๒.วิธีสอนเชิงบรรยาย
om
๒.๑ วิธีสอนเชิงบรรยาย เปนการสอนทีค่ รูเปนผูบรรยายเรื่องสอนแต
g c
. ผูเดียวโดยตลอดจนหมดเวลา
นักเรียนเปนเพียงผูรับฟงและจดจําความรูจากการบอกของครูเg ทาzนั้นa โดยไมมสี วนรวมในการแสดงความ
i
คิดเห็น เมื่อจบการสอนครั้งหนึ่งๆ แลว ครูอาจอนุญาตใหe oซzักถามปญหาได
g
๒.๒ การสอนโดยวิธีการบรรยาย w.ไมเปนการสงเสริมใหนกั เรียนกาวหนาใชความคิดหรือเหตุผล
การสอนแบบนี้ควรใชสําหรับการเรียw
w
นสูงๆ นักเรียนมีความสามารถทางกาย ทางใจ ทางสมอง มีความคิดอาน
และสติปญญา คนคิดสาเหตุดวยตนเองไดแลว
๒.๓ ปกติโอกาสการสอนเชิงบรรยายจะนํามาใชกแ็ ตเฉพาะ เมื่อตกอยูในสภาวะอยางใดหรือหลาย
อยางดังตอไปนี้
๒.๓.๑ นักเรียนจํานวนมาก จํานวนของนักเรียน ขนาดของชั้นนักเรียน เปนสิ่งที่จะนํามาพิจารณา
วาจะใชการสอนแบบใดนักเรียนสามารถที่จะถามคําถามและตอบคําถามของครูใหนักเรียนทั้งชั้นไดยิน
หรือไม ถาไมสามารถทําได การสอนเชิงประชุมก็ไรผล จะตองใชวธิ ีสอนเชิงบรรยาย ควรจะใหนักเรียนมี
สวนรวมในการแสดงความคิดเห็น สามารถทําไดโดยใหทาํ แบบฝกหัด ใหตัวอยาง และใชอุปกรณการสอน
๒.๓.๒ เรื่องที่สอนมากแตมีเวลานอย เมื่อมีเวลานอยไมสามารถดําเนินการสอนโดยวิธีอื่นได ก็
จําเปนตองเลือกการสอนโดยวิธีบรรยาย
๒.๓.๓ เพื่อสอนหลักการเบื้องตน เมื่อเริ่มสอนหลักการ ซึ่งเปนการเริ่มตนของบทเรียนสอน
และเมื่อจําเปนตองกลาวถึงพืน้ ความรูเดิมของนักเรียน
๒.๓.๔ เริ่มตนการสอนวิธีอื่น ครูใชวิธีสอนเชิงบรรยาย เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติ
และเปนการเริ่มตนการสอนวิธีอื่น
๑๗
๒.๓.๕ สรุปเรื่องที่สอน วิธีสอนเชิงบรรยายสามารถชวยใหครูสรุปเรื่องที่สอนไดโดยรวดเร็ว
และใชเวลานอย
๒.๔ การสอนเชิงบรรยายไมควรจะนํามาใชสอนกับนักเรียนระดับต่ําหรือพลทหารเพราะ
๒.๔.๑ นักเรียนไมมีโอกาสคนควาหาสาเหตุผลดวยตนเองได
๒.๔.๒ เพงเล็งเนื้อหาวิชาความรูมากเกินไป ขาดการพัฒนาในดานอื่น นอกจากฟงและจดจําเปน
สวนใหญ
๒.๔.๓ สอนนักเรียนทั้งชั้นเหมือนกัน โดยไมคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล
๒.๔.๔ ความสนใจของนักเรียนมีอยูช ั่วระยะเวลาจํากัด เปนการสอนที่ไมเราความสนใจของ
นักเรียน เพราะครูพูดฝายเดียว
๒.๔.๕ กิจกรรมของนักเรียนจํากัดอยูเ ฉพาะการฟงและการจดจําเทานั้น
๒.๕ ขอแนะนําในการสอนเชิงบรรยาย
๒.๕.๑ เตรียมเรื่องที่พดู ใหตรงกับความมุงหมาย
๒.๕.๒ ใชศิลปในการพูด ไดแก พูดใหชัดเจน เนนจังหวะและเสียงใหนา ฟง ไมพดู เร็ว
จนเกินไปจนนักเรียนตามไมทัน
๒.๕.๓ แบงเรื่องที่สอนออกเปนตอน ๆ เมื่อจบตอนหนึm ่ง ๆ ใหนกั เรียนซักถาม ตั้งปญหาให
.c o
นักเรียนอภิปราย หรือถามใหนักเรียนตอบ g
i g
๒.๕.๔ ใชกระดานดําเปนเครื่องประกอบการสอน za เชน บันทึกหัวขอหรือสรุปขอความเปน
e oz
w.g่อง ๆ อยางเหมาะสม
ตอน ๆ
๒.๕.๕ ใชอุปกรณw การสอนเรื
๒.๕.๖ พยายามใชwภาษางาย ๆ และลําดับเรื่องใหตอเนื่องซึ่งกันและกัน
๓. วิธีสอนเชิงประชุม
๓.๑ การสอนเชิงประชุม เปนวิธีสอนที่ใหโอกาสนักเรียนมีสว นรวม ในการแสดงความเห็น โดย
การถามคําถามแกนกั เรียน และสงเสริมใหนักเรียนตอบคําถาม ดวยความคิดความริเริมและเหตุผลของตนเอง
วิธีนี้จะเปนการเราใจนักเรียนสนใจใหตอบทเรียนตลอดเวลา
๓.๒ วิธีสอนเชิงประชุม เหมาะที่จะใชกับนักเรียนทุกระดับชั้นเรียน, นักเรียนมีนอย,มีเรื่องสอน
นอย และมีเวลามากพอในการซักถามปญหา การสอนแบบนี้ศิลปการถามเปนสิ่งสําคัญมากสําหรับครู ครู
จะตองเตรียมคําถาม และการตอบคําถามอยางดี จะตองแนใจวามีพนื้ ความรูในเรื่องที่สอนพอสมควร
๓.๓ ประโยชนของการสอนเชิงประชุม
๓.๓.๑ นักเรียนจะตองระวังตัวเพื่อตอบคําถามตลอดเวลา
๓.๓.๒ นักเรียนใชความคิดและสนใจตอบทเรียนอยูเสมอ
๓.๓.๓ ครูทราบความรูและความเขาใจของนักเรียน
๓.๓.๔ แกไขความเขาใจผิดของนักเรียนโดยทันทีทนั ใด
๓.๓.๕ ใหโอกาสนักเรียนและแสดงทัศนคติ
๑๘
๔. วิธีสอนเชิงแสดง
๔.๑ ความมุงหมายในการสอนทางทหาร มุงที่จะใหทหารสามารถ “ปฏิบัติ”ได ดวยเหตุนี้เอง ครูฝก
ตองสามารถ “แสดง” ไดดีเชนเดียวกับการ “บอก” ครูจึงตองเตรียมการแสดงในขั้นการสอน เพื่อเปนตัวอยาง
ในการปฏิบัติ และวางมาตรฐานการปฏิบัติอยางดีใหแกนักเรียน
๕.ความสําคัญของการแสดง
๕.๑ การแสดงเปนวิธีการสอนโดยผานประสาทหลายทางโดยเฉพาะ “การเห็น” นับวาเปนประการ
สําคัญที่สุดในการเราความสนใจตอการเรียน การที่นักเรียนไดเห็นจะเปนเครื่องขจัดความเคลือบแคลงสงสัย
ของนักเรียนทีม่ ีอยู และสามารถกระทําดวยตนเอง
๕.๒ ประโยชนการแสดงเหลานี้ จะเปนจริงหรือไมนั้นขึ้นอยูก ับการวางแผนและการสอนของครู
การแสดงที่ไมดีจะบังเกิดผลเสียยิ่งไปกวาไมการแสดงเลยเสียอีก การแสดงใหบังเกิดประสิทธิภาพ ครูจะตอง
เขาใจวา
๕.๒.๑ การแสดงใชเพื่อจุดมุงหมายอะไร
๕.๒.๒ การแสดงจะใชแบบใด
๕.๒.๓ การวางแผนและการดําเนินการแสดง จะใชเทคนิคอยางไร
๖. ความมุงหมายของการแสดง
o m
c
๖.๑ การแสดงไมใชเปนวิธีสอนที่แยกออกไปตางหาก แตเปgนวิ.ธีหนึ่งที่นํามาใชรวมกับการสอนวิชา
a
อื่นๆ ปกติแลวจะใชสอนควบคูไปกับการอธิบาย อาจจะเปiนg วิธzีสอนเชิงบรรยายหรือเชิงประชุม หรือทั้งสอง
z
วิธีรวมกันก็ได เมื่อการแสดงนํามาใชสอนเกี่ยวกัg บทัeกo
ษะหรือเทคนิคแลวจะตองตามดวยการฝกปฎิบัติ ปกติ
ถึงแมวากรแสดงจะนํามาใชเปนวิธีเริ่มตนw w. ย่ วกับทักษะและเทคนิคก็ตาม แตก็สามารถนํามาใช
ในการสอนเกี
เพื่อความมุงหมายอื่นๆ ไดอกี ดวย w
๖.๒ การแสดงจะบังเกิดประสิทธิภาพในการสอนเกี่ยวกับ
๖.๒.๑ รูจักวิธีทํา, ทักษะเปนการกระทําทางกายหรือทางใจ ที่ปฏิบัติดวยความคลองแคลว
วองไว จะตองใหนกั เรียนรูวธิ ีทําอยางถูกตอง และฝกปฏิบัติซ้ําๆ หลายอยาง การแสดงวิธีการกระทําที่ถูกตอง
มีรายระเอียดครบถวนสมบูรณทุกขั้นตอน แตละขั้นตอนตองแสดงซ้ําๆ เพื่อใหนักเรียนเขาใจไดโดยตลอด
เมื่อแสดงแลวตองใหนกั เรียนปฏิบัติกอนที่จะสอนตอไปในแตละขั้นอาจจําเปนตองใหนกั เรียนทําซ้ํา ๆ
หลายครั้ง พึงระลึกวา แมนักเรียนที่ดีทสี่ ุดก็จะจําไดเพียง ๒-๓ อยางเทานั้นในเวลาเดี่ยวกัน ดังนั้นในการ
แสดงขั้นหนึ่งๆ จะตองมีขอบเขตจํากัด
๖.๒.๒ ทฤษฎีและหลักการ การเขาใจหลักเบื้องตน และทฤษฎีเปนสิ่งจําเปนมากตอการ
ปฏิบัติงานที่เกีย่ วกับเทคนิคการแสดง สามารถนํามาใชพฒ ั นาความเขาใจในเรื่องนี้ได
๖.๒.๓ การทํางานของเครื่องกลไก เชน การสอนวิชาปนกล ครูจะแสดงใหเห็นการทํางาน
โดยใชแบบจําลองผาซีกขนาดใหญ หรือภาพยนต ซึ่งแสดงใหเห็นการเคลื่อนที่สวนตางๆ ได
๖.๒.๔ การปฏิบัติทางยุทธวิธี แสดงใหนกั เรียนเห็นการนําเอาทักษะและความรูไปแกปญหาจริง
โดยอาจใชโตะทราย หรือปฏิบัติในสนามจริงเลยก็ได
๑๙
๖.๒.๕ วิธีปฏิบัติรวมกัน แสดงใหเห็นถึงการปฏิบัติงาน เชน การปฏิบัติของศูนยขาว การทํางาน
ฝายอํานวยการและอื่นๆ การแสดงตองใหเห็นวิธีการ และเจาะจงหนาที่ของแตละบุคคลโดยเฉพาะ
๖.๒.๖ การใหเห็นคุณคาแสดงดวยความนุมนวล เพือ่ ใหนกั เรียนเห็นคาของทักษะหรือเทคนิค
๗.แบบของการแสดง
แบบของการแสดงมี ๕ แบบ
๗.๑ แสดงวิธปี ฏิบัติ การแสดงแบบที่ใชแสดงและอธิบาย เกี่ยวกับการถอดประกอบ และการทํางาน
ของอาวุธยุทโธปกรณ ปกติปฏิบัติในหองเรียนตั้งแตการฝกเบื้องตน ถึงขั้นผูเชี่ยวชาญ
๗.๒ แสดงยุทโธปกรณ การแสดงตองใหนักเรียนเห็นทัว่ ถึงในเวลาเดียวกัน ถานักเรียนมากตองแบง
ออกเปนพวกๆ และผลัดเปลี่ยนกันดู
๗.๓ แสดงในสนาม วิธีนี้ใชอยางกวางขวางในการฝกทําการรบ การแสดงที่ยุงยากจะตองทําทีละขั้น
เมื่อจบแลวจึงคอยแสดงทีเดียวโดยตลอดอีกครั้งหนึ่ง ขัน้ ตางๆ จะตองกระทําอยางเหมาะสมกอนที่แสดงใน
ขั้นตอไป
๗.๔ แสดงดวยภาพยนตร การสอนโดยการใชภาพยนตรฝกหรือโทรทัศน จะตองเตรียมการแสดงไว
ใหเรียบรอย วิธีนี้นักเรียนจะมีโอกาสเห็นการทํางานภายในของอาวุธยุทโธปกรณหรือการปฏิบัติการรบของ
หนวย
o m
c
๗.๕ แสดงบนเวที ครูหรือผูชวยครูอาจแสดงการปฏิบgัต.ิ หรือแสดงวิธีการตางๆ วิธีนี้เปนวิธีทดี่ ีในการ
แสดงการปฏิบัติงานของฝายอํานวยการ การดําเนินกรรมวิ i g zธaีตอเชลยศึก และเรื่องอื่น ๆ ในทํานองเดียวกันการ
z
แสดงบนเวทีเปนการพัฒนาทัศนคติของนักเรีeยนo อาจแสดงวิธีที่ผิดก็ได แตตองแนใจวานักเรียนเขาใจวิธีที่
ถูกตอง หรือแสดงวิธีที่ถูกตองตอw w.gง การแสดงจะตองวางแผนโดยรอบคอบ และดําเนินการสอนดวย
มาภายหลั
w กซอมหลายครั้ง ๆ
ความนิ่มนวล วิธีนี้จะตองมีการซั
๘.การวางแผนและการดําเนินการแสดง
๘.๑ การจัดการแสดงก็ดว ยวัตถุประสงคที่จะใหนักเรียนตั้งใจเรียนเปนพิเศษ จึงมีความจําเปนที่
จะตองจัดเครื่องใชและอุปกรณตางๆ ไวใหพรอม และถาตองการจะใหนักเรียนปฏิบัติจากการแสดงแลว
จะตองจัดเตรียมอุปกรณตาง ๆ ไวสําหรับการฝกปฏิบัติดวย
๘.๒ การวางแผนและการดําเนินการแสดง มีหลักดังนี้
๘.๒.๑ วางแผนรายละเอียดในการแสดงอยางรอบคอบในสิ่งตอไปนี้
๘.๒.๑.๑ จัดเครื่องมือและยุทโธปกรณไวใหพรอมเพื่อไมใหเสียเวลา ถาจําเปนตอง
นําไประหวางการแสดง จะตองนําไปไดรวดเร็วและเรียบรอย
๘.๒.๑.๒ ใหนกั เรียนทุกคนเห็นและไดยิน จะตองพิจารณาขนาดของชั้นเรียน
อุปกรณที่ใช และระยะเวลาในการแสดงดวย
๘.๒.๑.๓ ทําแผนบทเรียนไวเพียงพอที่จะมีการแสดง
๘.๒.๑.๔ มีความมุงหมายโดยเฉพาะแสดงสิ่งหนึ่งในเวลาหนึ่ง ถาจําเปนจะตองให
เรียนรูการปฏิบัติมากกวาหนึ่งวิธี จะตองแยกการแสดงไวแตวิธี
๒๐
๘.๒.๒ ตองมีความพรอม
๘.๒.๒.๑ แนใจวานักเรียนสามารถเห็น ขณะแสดงตองยืนอยูขางหนึ่งขางใดของ
อุปกรณ หรือขางหลังเพื่อไมบังนักเรียน พยายามแสดงชา ๆ เทาที่จําเปน เพื่อใหแนใจวานักเรียนเห็นการ
ปฏิบัติใหทั่วถึง
๘.๒.๒.๒ ระหวางการแสดงตองใหนักเรียนดูการแสดง และการฟงอธิบายดวยครูตอง
พูดกับนักเรียนไมใชพดู กับอุปกรณ ถากําลังอธิบายขณะผูชวยครูแสดงตองใหนักเรียนตั้งใจดูการแสดงของ
ผูชวยครู
๘.๒.๒.๓ ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนอยูเสมอ โดยการซักถามเมื่อจบแตละ
ขั้นตอนสําคัญๆ
๘.๒.๒.๔ สงเสริมใหนักเรียนถามคําถาม ระหวางขั้นตอนปฏิบัติที่สําคัญ ๆ ไมควรให
นักเรียนถามขึ้นมาในขณะแสดง
๘.๒.๒.๕ เมื่อแสดงดวยอุปกรณ จะตองมีอุปกรณการฝกอยางเพียงพอ ที่จะแสดงให
เกิดประโยชนไดอยางเต็มที่
๘.๒.๒.๖ สรุปเมื่อจบการแสดงแตละครั้ง
๘.๒.๓ ประสานการอธิบายใหเขากับการแสดง
o m
๘.๒.๓.๑ แสดงอยางไรก็อธิบายการแสดงอยางนัg้น. c
๘.๒.๓.๒ กอนอธิบายแตละขั้น จะตiอgงบอกให za รวู า ตอไปนี้จะทําอยางไร ระหวางการ
แสดงจะตองบอกวากําลังทําอะไร และจะตองบอกวาe ทําo
z
.งเล็gกนอยระหวางการอธิบายเพื่อใหเกิดขอคิด การหยุดนานๆ
ไมจึงตองทําเชนนี้
w
๘.๒.๓.๓ ใหมกี ารหยุ w
ดบ า
w
จะทําใหนกั เรียนขาดความสนใจและไมตั้งใจ
๘.๒.๓.๔ ใชครูผูชวยใหเกิดประสิทธิภาพ การแสดงตองซักซอมมาดีพอ
๘.๒.๓.๕ ถาการแสดงที่มีขั้นที่ยาก ใหบอกนักเรียนกอนที่จะเริ่มปฏิบัติ เพื่อใหมีความ
ตั้งใจ และเอาใจใสอยางใกลชิด
๘.๒.๔ เนนขอพึงระวัง
ขอพึงระวัง กฎ และระเบียบปฏิบัติ ควรจะนํามาสอนตั้งแตเริม่ แรก และตองกลาว
ซ้ําๆ และชี้ใหเห็นขอพึงระวังโดยเฉพาะขณะแสดงดวย

การปฏิบตั ิ
๑. ความสําคัญของการปฏิบตั ิ
๑.๑ การฝกทหารนั้นเนนถึง “การปฏิบัติ” กําหนดการฝกโดยมากแลวอยางนอย ๖๕% ของการสอน
จะเปนเรื่องการปฏิบัติ ครูจะตองเขาใจและมีความสามารถใชวิธีตางๆ ในการปฏิบัติได
๒๑
๑.๒ ประการแรกครูจะตองเขาใจ การเรียนวิธีทําซึ่งเปนขั้นแรกของการเรียนเพื่อใหเกิดทักษะวิธีที่
นํามาใชในการฝกปฏิบัติเบื้องตนมีหลายวิธีครูจะตองมีความเขาใจวามีวิธีใดบางแตละวิธีทําอยางไรและเมื่อไร
จะนํามาใชจึงเหมาะ
๑.๓ ครูจะตองเขาใจขอพิจารณาตาง ๆ ในการวางแผนและดําเนินการฝกความรูท ี่ไดเรียนมาแลว
โดยมีวิธีนจี้ ะทําใหนกั เรียนสามารถปฏิบัติงานในหนาที่ของตนได
๒. โอกาสในการปฏิบตั ิ
โอกาสที่จะนําไปฝกปฏิบัติมีมากที่สุดในการฝกสอนทหาร เชน
๒.๑ การเรียน การตรวจ การใชเครื่องมือ อาวุธยุทโธปกรณ และการฝกการรบ
๒.๒ การสอนการเคลื่อนทีภ่ ายใตการตรวจการณหรือการยิงของขาศึก เทคนิคในการสะกดรอย
การเขียนภาพภูมิประเทศ และการใชเข็มทิศ
๒.๓ การปฏิบัติหนาที่ของเสมียนสงกําลัง การรายงาน และการกรอกแบบฟอรมตางๆ
๒.๔ ฝกเสมียนธุรการในการทํางานประจําวัน และการบันทึกหลักฐานตางๆ
๒.๕ การแกไขเหตุติดขัดของอาวุธ การปรับศูนยเล็งปนกล
๒.๖ การใชคําสั่งยิงเริ่มตน การจําลองยุทธบนแผนที่
๓.การปฏิบตั ิเปนกระบวนการสอน
o m
c
๓.๑ การใหนักเรียนมีสว นรวมตลอดบทเรียน gเป.นลักษณะอันพึงประสงคมากที่สุดไมควรแยก
ระยะเวลาการฝกออกไปตางหาก หลังจากการอธิบายและการแสดง i g za ครูอาจจะพิจารณากระทํารวมพรอม ๆ กัน
ระหวางการอธิบาย การแสดงและการปฏิg บัตe ozละขัน้ ของการสอนใหเกิดทักษะและสถานการณตามความ
ิ ในแต
เปนจริง จะเปนเครื่องชี้ถึงเทคนิคw w. และลําดับขั้นตอน
ที่เหมาะสม
๓.๒ การปฏิบตั ิในหw องเรียนดวยการขีดเขียนเปนวิธีทดี่ ีมากอยางหนึ่ง ซึ่งครูไมควรจะมองขามไปเสีย
เพราะเปนการโดยวิธีแกปญหานั้นเอง
๔. เทคนิคการเรียนเพื่อใหเกิดทักษะ
ในขั้นการปฏิบัติ ทหารทุกคนตองพัฒนาทั้งรางกาย จิตใจและเทคนิคตางๆ หรือศึกษาวิธแี กปญหา
ดังนี้
๔.๑ การเรียนใหเกิดทักษะ หลักเบื้องตน ๓ประการ ในการเรียนใหเกิดทักษะ มีดังนี้
๔.๑.๑ สรางแนวความคิดที่จะใหเกิดทักษะ เปนการเรียนรูว าทักษะประกอบดวยอะไรบาง
การที่เกิดทักษะปกติจะทําไดโดย
๔.๑.๑.๑ การแสดง
๔.๑.๑.๒ การอธิบาย
๔.๑.๑.๓ แนะนํานักเรียนเรื่องอื่นๆ เชน ศึกษางานมอบ ศึกษาเอกสารที่จา ยใหและ
หลักฐานในลักษณะเดียวกัน
๔.๑.๒ พัฒนาทักษะใหเกิดขึน้
๔.๑.๒.๑ นักเรียนปฏิบัติตามการแสดง
๒๒
๔.๑.๒.๒ ปฏิบัติตามคําสั่ง
๔.๑.๒.๓ ครูประเมินผลความกาวหนาของนักเรียน และใหนักเรียนประเมินผล
ความกาวหนาของตนเองดวย
๔.๑.๓ ปฏิบัติดวยความถูกตอง รวดเร็ว และเปนไปโดยอัตโนมัติ
๔.๒ การแกปญหา ความมุงหมายเบื้องตนในการพัฒนาเทคนิคในการแกปญหา ก็คือ การสอน วิธี
แกปญหาไมใชวิธีการเขาถึงเฉลยปญหา ที่รับรองแลว นักเรียนควรจะใชกระบวนการเชนเดียวกันกับที่ใช
ประมาณสถานการณ โดยสรุป กระบวนการนี้ไดแก
๔.๒.๑ จดจําปญหา
๔.๒.๒ รวบรวมหลักฐานที่เกีย่ วกับปญหา
๔.๒.๓ พิจารณาแกปญ  หาที่นาจะเปนไปได
๔.๒.๔ ประเมินการแกปญหาที่นาจะเปนไปได
๔.๒.๕ เลือกการแกปญ  หาที่ดีที่สุดเพื่อถือเปนแนวทางปฏิบัติ
๕. วิธีหลักที่นํามาใชในการปฏิบัติ
วิธีใชในการปฏิบัติมีหลายวิธี วิธีที่ดีที่สุดที่ใชขึ้นอยูก ับภาวะการฝก และทักษะที่กําลังเรียน
๕.๑ วิธีการปฏิบัติภายใตการควบคุม
o m
๕.๑.๑ การปฏิบัติภายใตการควบคุม นักเรียนทุกคนในชัg้นจะต c
. องทําในเรื่องเดียวกันพรอม ๆ กัน
และเวลาเดียวกัน ภายใตการกํากับดูแลของครู ขั้นการปฏิบัตiิดg ังนีz้
a
e oละขัzน้ ใหนักเรียนสังเกต
๕.๑.๑.๑ อธิบายและการแสดงแต
๕.๑.๑.๒ ใหนกั เรียw นทํw
.g
าตามขั้นที่แสดง และทําการแกไขขอผิดพลาด
๕.๑.๒ วิธีนํามาใชแตลw ะขั้นตอน จนกวาการปฏิบัติจะสําเร็จลงอยางสมบูรณ การฝกเพื่อใหเกิด
ทักษะและการปฏิบัติเกี่ยวกับการถอดประกอบอาวุธ ควรจะใชปฏิบัตภิ ายใตการควบคุม
๕.๑.๓ การปฏิบัติวิธีนี้ ครูสามารถควบคุมและสังเกตการปฏิบตั ิ และแกไขขอบกพรองในแตละ
ขั้น ขอแนะนําบางประการครูควรจะตองชี้แจงใหแจมแจง เชน เมื่อเริม่ ตนการเรียนการถอดประกอบอาวุธครู
ควรจะบอกนักเรียนวา
๕.๑.๓.๑ ครูจะอธิบายและแสดงกรรมวิธีการถอดประกอบแตละขัน้ ใหดู
๕.๑.๓.๒ นักเรียนตองตัง้ ใจฟงคําอธิบาย และดูการแสดงใหดี
๕.๑.๓.๓ นักเรียนจะตองไมทําอะไรจนกวาการอธิบาย และการแสดงไดจบลงแลว ครู
จะบอกใหนกั เรียนเริ่มปฏิบัติได
๕.๑.๓.๔ นักเรียนตองปฏิบัติตามขั้นที่แสดงเทานั้น จะปฏิบัติลวงหนากอนไมได
๕.๑.๔ การปฏิบัติภายใตการควบคุม เหมาะสําหรับขั้นแรกในการเรียน เพื่อเกิดทักษะเทานัน้
คือ ไดแนวความคิดและปฏิบัติตาม สําหรับขั้นสุดทายซึ่งเปนขั้นที่สาม การเกิดทักษะโดยอัตโนมัติ จะตองใช
วิธีที่ไมจํากัดการปฏิบัติของนักเรียน ซึ่งเปนการใหปฏิบตั ิโดยเสรี
๒๓
๕.๒ วิธีปฏิบัติโดยไมควบคุม วิธีนี้นกั เรียนปฏิบัติตามความสามารถของตัวเอง ไมมีการควบคุมแต
อยูภายใตการกํากับดูแลของครูโดยตลอด การปฏิบัติโดยไมมีการควบคุมนี้ นักเรียนสามารถจะเกิดทักษะได
และสามารถปฏิบัติไดอยางอัตโนมัติ
๕.๓ วิธีใชครูฝก วิธีนี้ใชสําหรับการสอนนักเรียนที่มีพนื้ ฐานในทางทักษะแลว โดยจะจัดนักเรียน
เปนคู และผลัดเปลี่ยนกันเปนครู-นักเรียน ภายใตการสั่งการ และการกํากับดูแลของครูและผูชวยครู วิธีนี้จะ
ชวยใหนกั เรียนคิดเหมือนทําดวยตนเอง เปนการพัฒนาความคิดริเริ่ม และความเชือ่ มั่นตนเองในการปฏิบัติ
เพื่อใหเกิดทักษะ วิธีนํามาใชสอนเรื่องตางๆ ไดมาก เชน การฝกดาบปลายปน การตอสูดวยมือเปลา การปฐม
พยาบาล และการฝกพลแมนปน
๕.๔ วิธีปฏิบัติเปนชุด การใชวิธีนี้นกั เรียนควรจะตองไดรับการฝกบุคคลเบื้องตนมากอนแลวจึงจัด
เขาเปนชุด เชน ชุดรถถัง หมูปนเล็ก หรือการฝกพลประจําปนของอาวุธตาง ๆ การฝกเปนชุด ปกติจะปฏิบัติ
เปน ๒ ขั้น ขั้นที่ ๑ เปนขั้นปฏิบัติในทางเทคนิค ขั้นที่ ๒ เปนการนําเอาเทคนิคตาง ๆ ไปใชในสถานการณที่
สมจริง
๕.๔.๑ ขั้นที่ ๑ เปนขั้นที่เนนหลักเบื้องตนในการปฏิบัติเปนชุด นักเรียนแตละคนจะไดรับการ
ฝกในหนาที่ตา ง ๆ ภายในชุด ครูจะเปนผูแ กไขขอบกพรองที่เกิดขึ้น
๕.๔.๒ ขั้นที่ ๒ เปนขั้นทางยุทธวิธี เมื่อนักเรียนรูหลักm การเบื้องตนมาแลว การฝกในขั้นนีจ้ ะ
ขยายเขตกวางขวางยิ่งขึ้น เปนการรวมขัน้ ปฏิบัติการรบทุกขั้นgตอนไว c o
. ดว ย การฝกอาจจะเปลีย่ นแปลงไปตาม
สภาวะ และความตองการของชุดที่จะพัฒนาการตัดสิig
a
นใจz ความสะดวกในการใชทักษะและเทคนิค แกปญหา
ทางยุทธวิธีเปลี่ยนแปลงไปและเกิดขึ้นใหม eo
z
๖. ขอพิจารณาโดยทั่วไปในการฝกw ปฏิw
.g
บัติ
ความรูในเรื่องขอพิจw
ารณาโดยทั่วไปในการวางแผน และดําเนินการฝกปฏิบัติทุกชนิดจะทําใหครู
สามารถเตรียมปญหาตาง ๆ และวางแผนในขั้นปฏิบัติไดอยางบังเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
๖.๑ ชักจูงใหนักเรียนสนใจเรียนในขั้นการฝกปฏิบัติ นักเรียนจะตองมีความตองการเรียนถาครูไดใช
เทคนิคการสอนที่ดีจูงใจนักเรียนตั้งแตในขัน้ การสอน การจูงใจในขั้นการฝกสามารถกระทําไดโดย
๖.๑.๑ ตั้งความมุงหมายไวโดยเฉพาะ ใหนกั เรียนรูวา เขาตองทําอะไร และทําไมจึงเปนสิ่งสําคัญ
การฝกจะตองเนนหลักการงาย ๆ เพียง ๒ - ๓ เรื่อง ไมใชเปนเรื่องยุงยากหลายเรื่องที่จะทําใหนกั เรียนสบสัน
บอกความมุงหมายสิ่งที่เกีย่ วกับพฤติกรรมของนักเรียน ไมใชเนื้อหาของเรื่องที่สอน ตัวอยางเชน
“ระหวางชัว่ โมงนี้” ครูจะสอนเกี่ยวกับการกําหนดจุดทีอ่ ยูในสนาม
๖.๑.๒ ประเมินความกาวหนา ความรูที่กาวหนาจะทําใหเกิดกําลังใจมากขึ้นในชวงเวลาที่
เหมาะสมจะตองบอกคุณภาพของการปฏิบัติใหนกั เรียนทราบ ถาเปนไปอยางพอใจ นักเรียนจะมีความพยายาม
ทําตอไปอีก ถายังไมเปนทีพ่ อใจ นักเรียนจะเกิดความรูสึกที่จะทําใหดขี ึ้น และปรับปรุงแกไข การ
ยกยองชมเชยจะเปนการเราใจผูเรียน แตการชมเชยไมควรจะเกินขอบเขตจนกลายเปนผลเสีย
๖.๑.๓ ใหมีการแขงขัน การปฏิบัติมีโอกาสที่จะใชวิธีการแขงขันไดมาก ควรใหการแขงขันกัน
ทั้งเปนบุคคลและชุด การแขงขันที่เหมาะสมจะเปนการจูงใจนักเรียนอยางดีที่สุด
๒๔
๖.๑.๔ ผลัดเปลี่ยนหนาที่ วิธีที่ดีทสี่ ุดอยางหนึ่งจะทําใหนักเรียนสนใจในระหวางการที่ตองใช
เวลานานๆ ก็โดยมีการเปลีย่ นหนาที่ เชน การฝกทําการรบ ใหนักเรียนทําหนาที่เปน ผบ.หมวด บาง หัวหนา
ชุดยิงบาง เปนตน
๖.๑.๕ ปฏิบัติใหสมจริง วิธีเหมาะในการฝกเปนชุด แตการปฏิบัติเปนบุคคลบางประเภท
ก็สามารถทําใหสมจริงได เชน การใชเข็มทิศ การเตรียมปอมสนาม การฝกบุคคลทางยุทธวิธี เปนตน
๖.๒ ปฏิบัติอยางสมบูรณ ทหารตองปฏิบัติการรบเชนเดียวกับที่ปฏิบัติการฝก ดังนั้น การปฏิบัติ
จะตองมีการฝกอยางสมบูรณตามกําหนดการฝก การที่จะจัดการฝกปฏิบัติใหมีความสมบูรณครูจะตอง
๖.๒.๑ เริ่มตนดวยความถูกตอง วิธีเริ่มตนดวยความถูกตองนั้น ก็โดยแสดงการปฏิบัติให
นักเรียนดู และใหนักเรียนปฏิบัติตาม การปฏิบัติภายใตการควบคุมเปนสิ่งจําเปนที่จะทําใหเริ่มตนการฝก
ถูกตอง
๖.๒.๒ จัดการฝกอยางเหมาะสม การฝกควรจัดใหมีการแขงขัน การปฏิบตั ิการโดยเฉพาะ
จะตองแยกฝกตางหาก เชน การเตรียมใชดาบปลายปน เมื่อจําเปนจะตองตามลําดับขั้นตอน และการฝกแตละ
ขั้นตอนจะตองจัดเตรียมไวใหพรอม จึงนํามาฝกรวมกันในสถานการณที่ใกลเคียงความจริงภายหลัง จํานวน
ครั้งการฝกขึ้นอยูกับความยากงายตามความตองการ
๖.๒.๓ การใชเทคนิคแกปญหา สิ่งนี้เปนความจําเปนยิ่งสําm
หรับการฝกเปนชุด และใน
c o
สถานการณทนี่ ักเรียนพัฒนาทักษะโดยการฝก การใหนักเรียนแกปgญ.หา จะเปนการเราความสนใจของ
นักเรียน และทําใหการสอนสมจริงยิ่งขึ้นไปอีก i g za
๖.๓ รักษามาตรฐานการฝกใหกาวหนายิ่งขึ้นeo
z
.g
การฝกปฏิบัติในขั้นแรกนักเรียนควรจะปฏิบัติแตละขั้น
โดยตลอดดวยความถูกตอง ภายใตการกําw กับw
ดูแลของครู เมื่อจบกรฝก มาตรฐานการฝก ควรจะกาวหนาสูงขึ้น
คือ ตองทําใหดกี วาและเร็วกวา w โดยไดรับการชวยเหลือนอยลง การแขงขันแทบวาจะไมมีความจําเปน
นอกจากจะวางมาตรฐานการฝกใหสูงขึ้นกวาเดิม ความกาวหนาในการฝกจะตองกระทําดวยความระมัดระวัง
มิฉะนั้นนักเรียนจะรูสึกวาการฝกนั้นกระทําเพื่อใหใหเขามีงานทําเทานัน้
๖.๔ มีสภาพความเปนจริง ตองทําการฝกมีลักษณะคลายความจริงมากที่สุด แตอยางไรก็ตาม
ในขั้นตนก็มักจะเปนการฝกโดยสมมุติ จนกวานักเรียนสามารถปฏิบัติไดถูกตองแลวจะฝกในสภาวะคลาย
ความเปนจริง
๖.๕ ใชวิธกี ารและทักษะตามที่ไดรับการสอน ความสมบูรณในการฝกจะบรรลุไดเพียงแตนกั เรียน
ไดรับการฝกอยางถูกตอง ครูจะตอใหนกั เรียนฝกทักษะหรือเทคนิคเชนเดียวกับที่ไดสอนมาแลว
๖.๖ การชวยเหลือทางออมที่ดีที่สุด ความคิดริเริ่มและเชาวปญญาเปนสิ่งสําคัญที่สุดในการรบ ครู
จะตองฝกนักเรียนใหแกปญหาดวยตนเอง แตพึงระวังอยาใหติดนิสัยในทางที่ผดิ และพยายามกระตุนใหใช
เชาวปญญาของตนเองหลังจากฝกขั้นตนแลว การชวยเหลือควรกระทําโดยทางออมเทานั้น
๖.๗ กําหนดการฝกแตละขั้นใหสมบูรณกอนจะฝกขัน้ ตอไป ไมควรเอาการปฏิบัติหรือหลักการหลาย
ๆ อยาง รวมถึงปญหาอื่น ๆ มาอธิบายในเวลาเดียวกัน ควรแนะนําวิธีปฏิบัติสัก ๒ - ๓ อยาง เพื่อใหเพียงพอแก
๒๕
การฝก การทบทวนการวิจารณในเนื้อหาที่ไดสอนและปฏิบัติไปแลว ทั้งนีใ้ หรวมถึงการทดสอบการปฏิบัติ
ของนักเรียนวาไดผลแลว จึงดําเนินการสอนขั้นตอไป
๖.๘ กํากับดูแลเสมอ ความจริงการที่นักเรียนไดฝก ปฏิบัติมิไดหมายความวานักเรียนกําลังเรียนแลว
จนกวาครูจะไดรับคําตอบจากคําถามตอไปนี้
๖.๘.๑ นักเรียนรูอะไร อยางไร และทําไม หรือไม
๖.๘.๒ การกระทํานั้นเปนไปตามความมุงหมายหรือไม
๖.๘.๓ การปฏิบัติของนักเรียนเนื่องมาจากการสอนหรือเปลา
๖.๘.๔ อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใชและคน ใชประโยชนไดสูงสุดหรือไม
๖.๘.๕ มีมาตรการรักษาความปลอดภัยหรือไม
๖.๘.๖ จัดเวลาเพื่อใหเกิดความสมบูรณในการฝกหรือเปลา
๖.๘.๗ นักเรียนกําลังปรับปรุงตนอยูเสมอหรือเปลา
๗. การฝกปญหา
๗.๑ เปนกรรมวิธีในการใหปญหาและแกปญหา การแกปญหาเปนการปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการ
เทคนิคหรือวิธตี างๆ ที่นําใชกับสถานการณในปญหา ปญหาอาจจะเปลี่ยนแปลงตั้งแตในเวลา ๒-๓ นาที
จนถึงหลาย ๆ ชั่วโมง อาจเปนสถานการณงาย ๆ ดวยปากเปลา และถามคํ
o mาถามใหตอบ หรืออาจใชขอเขียนก็
c
ได การฝกปญหาไมเพียงแตใหนกั เรียนเรียนดวยการกระทําเทgา.นั้นแตยังเปนการใหนักเรียนเผชิญสถานการณ
i g
คลายความเปนจริงอีกดวย ปญหาจะเปนการเราความสนใจให za นกั เรียนใชความคิด ซึ่งเปนความจําเปนอยาง
e oz
w.g กปญหาครูจะตองเตรียมสถานการณและบงการ เตรียมการ
ยิ่งในการเรียน
๗.๒ การเตรียมการฝก w การวางแผนการฝ
แกปญหาของนักเรียนที่จะเกิดw ขึ้นอีกดวย การวางแผนการฝกปญหามีดังนี้
๗.๒.๑ สถานการณบง การ การฝกปญหาประกอบดวยสําคัญ ๒ สวน สวนแรกเปนปญหาที่
เกิดขึ้นหรือกําหนดขึ้น สวนที่สองเปนปญหาที่จะตองแกไข
๗.๒.๒ การเตรียมการ บงการที่ดีจะ เปนการปฏิบัติเกี่ยวกับหัวขอสําคัญของการสอนสวนบง
การจะเปนการใชความคิด และการวิเคราะหอยางละเอียดรอบคอบ
๗.๒.๓ การเตรียมสถานการณ สถานการณจะตองกลาวใหกระทัดรัดชัดเจนโดยใหมคี วาม
สมจริงเทาที่จะเปนไปได แตจะตองคํานึงถึงความรูและภูมหิ ลังของนักเรียนดวย สถานการณไมควรจัดให
จํากัดในการแกปญหาเพียงทางเดียว
๗.๒.๔ ปญหาที่ดี ปญหาที่ดีจะตองไมนําเรื่องที่ไมจําเปนเขามาเกี่ยวของ ทําใหเสียเวลา
โดยเปลาประโยชน
๗.๒.๕ คําแกปญหา (เฉลย) จะตองเตรียมไวตั้งแตเริ่มเขียนปญหา จะตองพิจารณาคําบงการ
อยางสมเหตุสมผลทุกประการเตรียมวิเคราะหคําบงการของนักเรียนทีน่ าจะเปนไปไดมากที่สุด การวิเคราะห
จําตองคํานึงถึงหลักการอยางเหมาะสมที่จะนํามาใช
๗.๓ การปฏิบัติการฝกปญหา มีหลักการในการดําเนินการดังนี้.—
๒๖
๗.๓.๑ ในสถานการณบงการ
๗.๓.๒ ใหนักเรียนแกบงการ
๗.๓.๓ อภิปรายการแกปญหาของนักเรียน

............................

om
g .c
ig za
z
.g eo
w w
w
๒๗
บทที่ ๕
เทคนิคการพูด
(Speech Techniques )
------------------------
๑. กลาวทั่วไป
ผูนําทางทหารที่สามารถพูดไดอยางฉาดฉาน และมีศิลปในการพูดดี มักจะประสบความสําเร็จ
อยูเสมอ ความสามารถในการพูดดีมิใชจําเปนเฉพะผูนําทางทหารเทานั้น แตยังมีความสําคัญในการสอนที่จะ
กอใหบังเกิดผลดีอีกดวย ศิลปในการพูดทีด่ ีควรมีหลักเปนแนวทางปฏิบัติ ดังจะกลาวตอไป
๒.การสัมผัสระหวางครูกับนักเรียน (Instuctor Student Gontact)
ควรจะตองสํานึกเสมอวา ครูไมสักแตเพียงทําหนาทีห่ รือพูดคุยใหนักเรียนฟงเทานั้น แตจะตอง
สนทนากับนักเรียนอยางจริงใจเปนกันเอง จุดประสงคของการพูดก็เพื่อเสื่อแนวความคิดใหนกั เรียนทราบ
ดังนั้น ครูจะตองสรางสัมผัสและรักษาสัมผัสกับนักเรียนทั้งหองตลอดเวลา มีคําแนะนําที่จะชวยใหสําเร็จ
ประโยชนดังนี้.
o m
c
๒.๑ พูดเมื่อนักเรียนตั้งใจฟงแลว (Get tne Attentiou. fo the class First) จงอยาเริ่มสอนจนกวา
z aนgกั เรียนเงียบ และตั้งใจฟง โดยใชคําพูดงาย ๆ
นักเรียนจะตั้งใจฟง บางกรณีการเดินไปกลางเวทีอาจทํ
z ig า ให
เชน “โปรดตั้งใจฟงครับ” e o
๒.๒ มองและพูดกับนักเรียนw(Look
g
. at and Talk to Studet)
อยามองออกนอกหน wาwตาง อยามองพื้นหรือเพดาน แตจงหันหนาใหนกั เรียน มิใชหันหนาเขาหา
เครื่องชวยฝกหรือแผนภูมิ จงทําใหนักเรียนรูสึกวาทานมองเขา และกําลังพูดกับเขา
๒.๓ พูดเชนเดียวกับการสนทนา (Speak in a couveationl Tone)
อยาพูดเพอเจอปราศจากสาระ อยาพูดเลนสํานวนหรือพูดแบบสุนทรพจน จงใชสรรพนามวา
“ทาน” บอยๆ จงทําใหนกั เรียนเห็นวาครูและนักเรียนเทาเทียมกัน โดยใชคําวา “คุณและผม” หรือ “พวกเรา”
จงพูดใหประทับใจวา ครูและนักเรียนก็มบี างสิ่งบางอยางเหมือนๆ กัน
๒.๔ ตองทันตอเหตุการณที่เกิดขึ้นเสมอ (Be alert ! Look a least)
ตองรูวาอะไรกําลังดําเนินอยูใ นหองเรียน ตองใหความสนใจอยางใกลชิดตอการสนองตอบ
หรือการรับรูของนักเรียน ตองรับฟงอยางรอบคอบ และประเมินคาความเห็น และคําตอบของนักเรียน ตอง
ไวตอการไมสนใจของนักเรียน จงมองเขาเดินไปหาเขา หรือถามปญหาเขาพรอมกันนั้นก็ควรถามตัวเองวา
“นักเรียนเขาใจหรือไม” จงตรวจสอบอยูเสมอ เพื่อใหแนใจวาเขาติดตามเรื่องที่ทานสอนไดทัน
๓. ขมความประหมาตื่นเตน (Controlling Nervousness)
ครูเกือบจะทุกคนไดเคยประสบกับความตืน่ เตนทั้งขณะกอน หรือขณะปรากฏตัวครัง้ แรกที่หนาชัน้
๒๘
ครูที่ดี โดยปกติแลวจะคิดอุบายหาวิธีเฉพาะของตนเองที่จะทํางาน ซึ่งกอใหเกิดความประหมา ตื่นเตนแทนที่
จะตอตานหรือหลีกเลี่ยงเสีย เทคนิคบางอยางในการขมความประหมามีดังนี้.—
๓.๑ ตองเตรียมการสอนและวางแผนการสอนมาเปนอยางดี ขั้นแรกทีค่ รูจะขมความประหมาได ก็คือ
เตรียมวิชาทีจ่ ะสอนมาใหทะลุปรุโปรง และวางแผนการสอนไว พึงสําเหนียกเสมอวา นักเรียนตองการเรียน
และสนใจในบทเรียนมากกวาสนใจครู จะตองคิดถึงบทเรียนและผลลัพธที่นักเรียนจะไดจากการสอนความ
ประหมาจะคอยๆ สงบไปเอง
๓.๒ มีทัศนคติที่ดีตอตนเองและนักเรียน (Assume The proper mentar attitude)
อาวุธที่ไววางใจไดมากที่สุดที่จะตองมีเพื่อขมความประหมา ก็คือ ความเชื่อมั่นตอตนเอง
ตอนักเรียน และตอสถานการณทั้งหมด เพื่อที่จะสรางความเชื่อมั่น ครูจะตองฉลาดมีไหวพริบ และวิเคราะห
สถานการณตามหลักแหงเหตุผล ครูจะตองสํานึกวา หลักสําคัญที่จะกอใหเกิดปฏิกิริยาไมราบรืน่ ทั้งกายและ
จิตใจที่ครูจะไดพบเมื่ออยูห นาชั้น คือ ความกลัว ไมใชการถูกทํารายแตเปนสิ่งที่นักเรียนจะคิดเกี่ยวกับตัวครู
และการสอนของครู บรรดานักเรียนตางคาดหวังจะใหครูของตนมีความรูในวิชาที่สอนอยางยอดเยี่ยมและ
สามารถสอนพวกเขาใหไดรับความรูเต็มที่ ถาครูมีความเชี่ยวชาญในวิชาทีเ่ ขาสอน และเตรียมตัวมาอยางดี
เขาก็กําจัดเหตุ คือความกลัวตอการแสดงปฏิกิริยาของนักเรียนอยางแทจริงได ครูมีสิทธิโดยชอบธรรมที่จะ
ทําใหเกิดความมั่นใจในตัวเอง ซึ่งเปนเครื่องนําทางไปสูความสําเร็จแหงการสอนของตน
om
๓.๓ เตรียมการกลาวนําเริ่มตนมาเปนอยางดี (Have Initial Remark g c
. Well in Mind)
๒-๓ นาทีแรก เปนชวงที่คับขันที่สุดจงปลอยให i g zผาaนไป ทุกสิ่งทุกอยางจะดีขึ้นขอแนะนําให
ทองจําการกลาวนําบทเรียนมาใหขึ้นใจ งดดูตําราใดๆeทัo้งสิ้น
z
w .g Prwvinous Instruction)
๓.๔ ทบทวนบทเรียนที่สอนมาแล
w wว (Reyiew
๓.๕ เลาเรื่องตลกขบขัน (Tell story)
ไมมีสิ่งใดที่จะมาชวยแกไขความตึงเครียดไดรวดเร็วเทากับ นําเรื่องตลกขบขันมาพูดแต
เริ่มแรกในการกลาวนําแตจงจําไววาเรื่องตลกนั้นจะตองเปนจุดที่สามารถนําไปสัมพันธกับเรื่องที่สอนได เมื่อ
จะเริ่มพูดเพื่อใหเกิดความขบขัน ก็จงเริม่ ทันที แตอยาทอใจถานักเรียนไมพลอยขันไปดวยนักเรียนชั้นอื่นๆ
อาจกระหายทีจ่ ะรับรูเพิ่มขึ้นก็ได ไมตองแสดงความผิดหวัง ถาเรื่องที่เลาไมกอใหเกิดความตืน่ เตนกลายเปน
ตลกดาน
๓.๖ จงสุขุมและพูดชาลงกวาเดิม (Be Deliberaate-Slow down)
เมื่อเกิดความประหมา บุคคลมักแสดงอาการพูดเร็วขึ้น ครูตองจําใสใจอยูเสมอเมื่อตอง
เผชิญหนากับความประหมาตื่นเตน ตองสุขุมในการเคลื่อนไหว และตองระมัดระวังที่จะไมพดู เร็วเกินไป
หลังจากนัน้ ชัว่ ขณะหนึ่งความตื่นกลัวก็จะหายไป ครูกจ็ ะมีลักษณะทาทางปกติตามเดิม
๔. ลักษณะทาทางที่ดีเสมอ (Maiutaining Bearing)
เพราะนักเรียนจะแสดงปฏิกริ ิยาตอบโตตอสิ่งที่เขาไดเห็นพอๆ กับสิง่ ที่เขาไดฟงและเขาใจครูจะตอง
แนใจไดจริงๆ วานักเรียนจะไดพบเห็นลักษณะทาทางทีถ่ ูกตองแบบทหาร เชน ทวงทีลักษณะทาทาง และ
การควบคุมรางกายทุกสวน, ทาทาง, กายวิญญัติ และการแสดงทาประกอบจะตองดําเนินไปอยางมี
๒๙
ความหมาย อาการดังกลาวสามารถทําใหเห็นความแตกตางกัน ระหวางการสอนเกง เต็มไปดวยความ
กระตือรือรนซึ่งเราใหนักเรียน เรียนอยางมีประสิทธิภาพกับการสอนที่ไมสนุกปราศจากความกระปรี้กระเปรา
บทเรียนไมนาสนใจซึ่งทําใหการสนองตอบของนักเรียนไมไดผล กิรยิ าทาทางวิญญัติใดๆ ที่เสแสรงทําขึ้นก็ดี
การแสดงทาประกอบ ซึ่งทําใหนกั เรียนหันมาดูก็ดี เปนสิ่งนารําคาญ เพราะฉะนั้น จึงเปนอุปสรรคขัดขวาง
การสอนมากกวาจะเปนสิ่งสนับสนุนการสอน การเคลือ่ นไหวจะตองเปนไปตามอิสระ เปนธรรมชาติและ
คลองแคลว ระลึกวาจะตองวางทาทางใหเปนธรรมชาติตลอดเวลา
๔.๑ วางทาเหมาะ (Maintain Good Posture)
ครูจะตองยืนอยูใ นตําแหนงที่สามารถมองเห็นนักเรียนไดทั้งชัน้ และนักเรียนทั้งชั้นก็สามรถ
มองเห็นครูไดชัดเจน ตองยืนทาตรงทิง้ น้ําหนักตัวเองระหวางเทาทัง้ สอง วางทาใหมองดูแลวมีความ
กระฉับกระเฉง และกระปรีก้ ระเปรา อยาเกร็งเพราะตั้งใจเกินไป ยืนอยางสบายปลอยแขนทั้งสองขางหยอนลง
ขางตัวไมปลอยใหมือทั้งสองเปนที่เกะกะสายตาของนักเรียนถายังไมจาํ เปนตองใชมอื ก็ปลอยละขางลําตัว
จะไขวหลังหรือวางมือขางหนึ่งไวบนที่ยืนพูดก็ได อยาบิดแขนไปมาในลักษณะตื่นเตนตกใจ กฎเกณฑ
เล็ก ๆ นอย ๆ ที่ควรจดจํา มีดังนี้
๔.๑.๑ อยายืน ณ จุดเดียวตลอดเวลา
๔.๑.๒ อยาเคลื่อนไหวหรือเดินไปมาตลอดเวลา m เมื่อจะเคลื่อนไหวก็ตองใหมีความ
กระฉับกระเฉงและมีความมุง หมาย เมื่อปฏิบัติจนเกิดความชําg .co องตัวแลว ก็จะพบวาการเคลื่อนไหว
นาญและคล
ที่ไมมีความหมายจะเต็มไปดวยความหมายมากขึ้น igz
a
e oz
.g ่อนที่ของอวัยวะสวนใดสวนหนึข่ องรางกาย เพื่อแสดงออกซึ่ง
๔.๒ การแสดงทาประกอบ (Use Gestures)
การแสดงทาประกอบเป w wน การเคลื
w
ความคิด (a htougth) หรืออารมณ (emotion) หรือเปนการเนนทาทางประกอบคําพูด แขนมือและรางกาย เปน
เครื่องมือหรืออุปกรณการแสดงทาทางที่สําคัญ การแสดงทาทางประกอบ ตองปลอยใหเปนไปตามธรรมชาติ
อยาไดซักซอมทาทางพิเศษ เพื่อนํามาใชกบั การสอนที่มีจุดมุงหมายจํากัด การแสดงทาทางตาง ๆ จะเกิดขึ้นมา
เองจากความกระตือรือรน ความเชื่อมั่นและอารมณ อยาพยายามเนนทุก ๆ คําพูดดวยทาทาง เพราะการกระทํา
เชนนั้นจะทําใหเสียความมุงหมายของการแสดงทาทางไป
๕. การหลีกเลี่ยงลักษณะทาทางที่ไมเหมาะสม (Avoiding Distracting Mannerisms)
มีกฎที่ตองจําอยูวา ครูจะตองหลีกเลี่ยงสิงตาง ๆ ที่จะเปนสาเหตุในักเรียนใหความสนในตอลักษณะ
ทาทางของครูมากกวาวิชาทีส่ อน ครูอาจไมทราบลักษณะทาทางของตน นอกจากวาจะขอใหเพื่อครูดวยกัน
ชวยวิจารณลักษณะทาทางในการพูดของตนดวย ลักษณะดังตอไปนีค้ วรหลีกเลี่ยง
๕.๑ ยืนลักษณะคนกําลังจะสิ้นใจ (The dying Warrior) มักยืนพิงผนังหรือที่ยืนพูดแสดงอาการไมมี
เรี่ยวแรง ไมเคลื่อนไหวเลย
๕.๒ ยืนมือกุมใตเข็มขัด (The fig leaf stance) เอามือเกาะกันไวใตเข็มขัดไมขยับเขยื้อน
๕.๓ เดินไปมาไมหยุด (The Walkie talkie)
๕.๔ ยืนมือลวงกระเปา (The charge counter) ทานับเงินปลีกในกระเปากางเกง
๓๐
๕.๖ ยืนถือไมชี้อยูเสมอ (The Swordman) (นักดาบ)
๕.๗ ลักษณะอื่น ๆ ที่ทําใหเสียบุคลิกลักษณะ
๖. มีความกระตือรือรน (Being Enthusiastion)
ไมมีสิ่งใดมาทดแทนความกระปรี้กระเปราทางรางกาย และการพูดอยางมีความกระตือรือรนได ความ
กระตือรือรนเปนอาการที่ชวนใหผูอื่นพลอยกระตือรือรนไปดวย เปนลักษณะเดนชัดหรือเมื่อไรก็ตามที่ผูอื่น
กําลังทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เขาจะรูสึกชื่นชอบอยางจริงใจ ถาครูสามารถพูดจาชักชวนใหนักเรียนเห็นดีงามในวิชาที่
ตนสอน ทั้งยังทําใหนักเรียนมีความรูสกึ เชนนัน้ ได ก็จะทําใหนักเรียนสนใจและกระหายที่จะเรียน ยิ่งไป
กวานัน้ ครูที่มีความกระตือรือรน จะชวยใหนกั เรียนเห็นคุณคาของบทเรียน มูลเหตุที่จะกอใหครูเกิดมีความ
กระตือรือรน ก็คือ
๖.๑ มีความรูเรื่องที่กําลังสอนโดยตลอด
๖.๒ รูประโยชนของเรื่องที่สอนซึ่งจะเกิดแกนักเรียน
๗. การใชเสียงเหมาะสม (Using the Vocie)
เสียงครูเปนเครื่องมือ หรืออุปกรณการสอนที่ดีที่สุด เพราะเปนวิธีตรงที่จะสื่อความรู ความเขาใจกับ
นักเรียน ทุกคนมีเสียงดังอยางเพียงพอทีจ่ ะสอน เพียงแตไดศึกษาองคประกอบ ๒ - ๓ ประการ ซึ่งจะเปน
พื้นฐานของการพูดเกง ดังตอไปนี้
o m
๗.๑ คุณภาพของเสียง (Vocie Quality) g .c
คุณภาพของเสียงเปนลักษณะพิเศษทีท่ ําใหเสียงของบุ i g zaคคลแตกตางกัน บางคนเสียงนาฟง บางคน
e oนี ้ําzเสียงที่สามารถทําใหผูฟงพึงพอใจได และควรขจัด
wําลึ.กgหรือเสียงแหลมพรา เสียงกระดาง เสียงที่ออกมาจากลําคอ
ไมนาฟง (Unpleasant) อยางไรก็ตาม ครูสวนมากก็ ม
เสียงเหลานีใ้ หหมดไป คือเสียงขึ้นจมูก เสีwยงต่
เสียงที่ไมมีเสียงสูงต่ํา (Monotone) เสีwยงที่ไมมีเสียงสูงเสียงต่ํามีผลทําใหนกั เรียนเฉือ่ ยชา การออกเสียงสูงต่ํา
(Inflect) จะชวยเหลือในการขจัดเสียงระดับเดียว การเนนในที่ควรเนนทําใหการสอนมีชีวิตชีวา และเปดชอง
ใหระดับเสียงขึ้นๆ ลงๆนาฟงซึ่งจะดึงดูดความสนใจของนักเรียนได คําพูดลึกซึ้งคมคายมีความหมายจะ
บรรลุผลสําเร็จไดก็โดยการเปลี่ยนระดับความดังของเสียงจังหวะการพูดหรือรวมเอาทั้ง ๒ อยางเขาดวยกัน
๗.๑.๑ ระดับเสียง (Pitch) ระดับเสียงควรเปนไปตามธรรมชาติ เหมือนเสียงที่ใชในการสนทนา
๗.๑.๒ ความดังของเสียง (Volume of Voice) ครูตองพูดใหดังพอที่นักเรียนทุกคนจะไดยินโดย
ไมมีขอสงสัย อีกประการหนึ่งเสียงทีด่ ังมาก ทําใหนกั เรียนหูอื้อ (Deadening) การฟงหรือความตั้งใจของ
นักเรียนก็จะลดลงอยางรวดเร็ว (Soon dull) เสียงเบาสามารถเปลี่ยนระดับเสียงใหดังขึ้นได แตถาเสียงดังขึ้น
เพียงเล็กนอยยอมไมเปนการเพียงพอ ถาเสียงของครูดังพอเหมาะ นักเรียนจะรูสึกฟงรืน่ หู ครูจะตองปรับระดับ
ของเสียงใหเหมาะสมกับขนาดของหอง และสถานการณการสอนขณะนัน้ ครูสามารถเปลี่ยนความดังของ
เสียง เพื่อเนนพยางคคําพูดที่ตองการเนน เสียงที่ดังเกินไป จะทําใหมีปญหาเมื่อตองการเนนหรือตองการ
เปลี่ยนระดับของเสียง ทั้งจะทําใหนักเรียนประสบความยุงยากยิ่งขึ้นในอันที่จะติดตามการเปลี่ยนแปลงระดับ
เสียงของครู โดยเฉพาะอยางยิ่งความดังของเสียงที่เหมาะสม มีความสําคัญตอการสอนนอกหองเรียน หรือใน
ตัวอาคารที่ไมมีระบบปองกันการสะทอนของเสียง จากการสังเกตปฏิกิริยาของนักเรียน ครูสามารถจะบอก
๓๑
ไดวา นักเรียนประสบความยุงยากในการฟงหรือไม ถาเปนไปไดควรจะมีผูชว ยสักหนึ่งคนอยูขา งหลังหอง
คอยใหสัญญาณใหครูสามารถปรับเสียงไดพอดีใหไดยินทั้งหอง
๗.๑.๓ จังหวะการพูด (Rate of speed) จังหวะการพูดควรกลมกลืนไปพรอม ๆ กับความรูสึก
นึกคิดและอารมณ ซึ่งกําลังถายทอดใหแกนกั เรียน เนื้อหาทีย่ ากควรสอนชา ๆ ควรจะพิจารณาถึง
ความสามารถในการเรียนรูข องนักเรียน กอนที่จะตกลงใจใชการพูดเร็ว การเปลี่ยนจังหวะพูด จะชวยใหเกิด
ความพอใจหรือเกิดความสนุกและกอใหเกิดประโยชน ในการเนนการแสดงออกซึ่งความรูสึก และการ
เปลี่ยนแปลงทาทีจะสัมฤทธิผลไดก็ดวยการเปลี่ยนแปลงจังหวะการพูด ควรพูดเร็วเปนบางโอกาส แตก็ควร
พูดชาลงเปนบางครั้งเพื่อเปลี่ยนทาทีและย้ํา, การเริ่มสอนจะไดเปดเทปการสอนของตนเพื่อตรวจสอบจังหวะ
การพูด ความเร็วในการพูดตามปกติจะอยูห างระหวาง ๑๒๐ ถึง ๑๕๐ คํา ตอนาที ถาพูดเร็วเกิน ๑๖๐ คํา ตอ
๑ นาที นักเรียนจะประสบความยุงยากในการติดตามครูไดทัน ถาครูพูดชากวา ๙๐ คํา ตอ ๑ นาที ก็จะเปนเหตุ
ใหนกั เรียนหมดความสนใจการเรียน พูดเร็วเกินไปมักจะทําใหนักเรียนงงหรือสับสน พูดชาเกินไปมักทําให
นักเรียนอารมณเสีย (Irritate) หรือฉุนเฉียว
๗.๒ พูดใหเขาใจงาย (Being Sure you are Understood)
การสอนจะประสบผลสําเร็จได ขึน้ อยูกับวานักเรียนเขาใจในครูสอนดีเพียงใด หลักสําคัญใน
การวางแผน และการบรรยายที่จะกอใหเกิดความเขาใจสูงสุด มีดังนี้ m
๗.๒.๑ การเลือกใชคําพูด เนื่องจากภาษาพูดเปgน.เครื c่อoงมือที่สําคัญที่สุดเพียงสิ่งเดียวของครู ครู
a
าพูzด ประโยคที่จะพูดก็จะตองใหแจมแจงไมคลุมเครือ
จะตองปรับปรุงคําพูดใหดี ตองพิถีพิถันในการเลือกคํ i g
e oz (right word in the right place) เปนกุญแจนําไปสูการ
w.ยgน การสื่อความหมายคําพูด ขึ้นอยูกับการใชคําพูดที่มคี วามหมาย
และเปนไปตามหลักแหงเหตุผล คําพูดที่ถูกกาลเทศะ
พูดที่มีประสิทธิภาพพอ ๆ กับw การเรี
คลุมเครือซึ่งจะตองทําใหแจมw กระจาง ตองพิจารณาถึงระดับการศึกษาของกลุมนักเรียนที่ครูกําลังสอน จงใช
คําพูดงาย ๆ อยาใชคาํ พูดทีย่ ากไมคุนหูนักเรียน จุดประสงคในการสอนของครู ก็คือความเขาใจแจมแจง มิใช
ทําใหเกิดความสับสน ถาคําพูดที่พูดสับสนเขาใจยาก แตมีความจําเปนตองใชกจ็ งใชคําพูดนั้น แตตองใหคํา
จํากัดความเสียใหมเมื่อเริ่มใช จงใชคํากิรยิ าที่แจกแจงความหมายสนับสนุนคํานั้น ซึ่งจะทําใหนักเรียนเกิด
ความรูสึกเห็นจริงจังไปดวย จงเพิ่มความสนใจและโนมนาวนักเรียนเขาสูการสอนของตน โดยการ
เปลี่ยนแปลงคําพูดที่ทําใหเห็นจริงเห็นจัง ตองเปลี่ยนแปลงคําเชื่อมตอบอย ๆ
๗.๒.๒ รูปประโยคหรือสํานวนที่ใช การเลือกใชคําพูดอยางสุขุมหมายถึงวา ครูตองรวบรวม
คําพูดตาง ๆ ที่มีความหมายเฉพาะเพื่อเนนแนวความคิดใหแจมแจง และถูกตองแนนอน จงขึน้ ตนประโยค
ใหมดว ยการเปลี่ยนระดับเสียง ตัดคําและวลีที่ไมจําเปนทิ้งไปเสีย อยาใชประโยคที่ไมมีน้ําหนัก (Do mot pad
semtences) หรือทําใหคําพูดดังกลาว Delivery สับสนดวยการพูดช้ําซากจนรําคาญหู (Trite expression)
๗.๒.๓ หยุดคิด การหยุดพูดเปนการเปดโอกาสใหคําพูดมีจังหวะเวนวรรค ประโยชนโดยตรง
ของการหยุดพูดดังกลาวมี ๔ ประการ
๗.๒.๓.๑ นักเรียนสามารถรับแนวความคิดของครูไดงายยิ่งขึ้น
๗.๒.๓.๒ ครูมีโอกาสคิดหัวขอหรือขอความลําดับตอไป
๓๒
๗.๒.๓.๓ ครูสามารถเนนแนวความคิดใหความหมาย แปลความหมายของแนวความคิด
ของตน
๗.๒.๓.๔ ครูมีโอกาสหยุดหายใจ
ทั้ง ๔ อยางนี้ ควรทําใหแจมแจงและเปนทีย่ ุติได ครูจะตองไมใหเสียง “เออ” “อา” หรือ “อื้อ” ขณะ
หยุดพูด อันมีลักษณะเหมือนคนขาเสีย ใชไมยันรักแรเวลาเดิน การหยุดพูดโดยเจตนาไมควรทําใหนักเรียนงง
ดวยความไมแนใจ การหยุดชั่วขณะหนึ่งเปนศิลปการพูดอยางหนึ่ง
๗.๒.๔ พูดใหชดั เจนถูกตองทั้งภาษาและสําเนียง ครูจะตองพูดอยางชัดเจนและถูกตอง
จงพยายามใหชัดและถูกตอง พอที่นักเรียนจากภาคตาง ๆ ของประเทศสามารถฟงเขาใจ ไมจําเปนตองเปลี่ยน
ลีลาการพูดทั้งหมด ออกเสียงแตละพยางคใหชัดเจนและถูกตอง อาจจําเปนที่จะออกเสียงดังและชัดถอยชัดคํา
เมื่อสอนจํานวนมาก ใหระมัดระวังทีจ่ ะออกเสียงคําใหมแตละพยางค ซึ่งอาจจะไมเปนคํางายสําหรับนักเรียน
จงหลีกเลี่ยงคําพูดรัว (Slurring) คําพูดอุบอิบอูอี้
๗.๒.๕ คิดขณะพูด การพูดมิใหเปนระบบกลศาสตร คําพูดของครู มิใชเสียงพูดใหถกู ตองและ
ชัดเจนเทานั้น ยังตองเลือกและสรรหาคําที่จะอธิบายใหแจมชัด และนิยามแนวความคิดของครูดวย
แนวความคิดที่จะอธิบายใหแจมแจง จะตองคิดเอาไวเสียกอน แนวความคิดกําหนดออกมาเปนคําพูด การเลือก
คําพูดผิดพลาด ซึ่งจะทําใหการอธิบายมีนา้ํ หนักเบาเปนเครื่องชี้บอกถึงความคิดm ที่ผิดพลาด และปราศจากสาระ
c o
.ระหวางหยุดการพูดซึ่งจะติดตามการ
ใหรูจักคิดขณะยืนอยูหนาชัน้ เรียน จงคิดที่จะยืนอยูบนลําแขงของตนเอง
a g
พูดของตนเอง จงกําหนดประโยคที่จะพูดตอไป ขณะพูดจงคิiดgถึงzสิ่งที่ตนพูด ถาประสบความยุงยากในอันทีจ่ ะ
สรรหาคําพูดที่จะเนนไดเองขณะทีย่ ืนอยูห นาชั้น ใหe oz ยนจุดสําคัญของบทเรียนดวยประโยคสั้น ๆ แต
w.gกระจางและปรับปรุงการสอนของตนเองได โดยการเขียน
พยายามเขี
มีความสมบูรณ ครูสามารถที่ทําความคิดw ของตนให
เรื่องที่ตั้งใจจะพูดใหสมบูรณ w
๘. หลีกเลี่ยงการออกตัว
อยากลาวแกตวั หรือแสดงอาการสอใหเห็นวาแกตัว อยาทําประการใด ๆ ที่จะสังเกตไดวาเปนการ
แกตวั เพราะไมไดเตรียมการสอน ไมมีความรู ไมมีความสามารถที่จะสอนหรือมีสภาพที่ไมสามารถสอนได
เวนแตการกลาวแกตัวเกี่ยวกับเสียงแหบพรา เพราะความกระปลกกระเปลี้ยเทานั้น

๙. การพัฒนานิสัยการพูดใหมีประสิทธิภาพ
ครูสามารถปรับปรุงการพูดของตนเองได เพียงแตเขาจะรูจักวิเคราะหการพูดของตน คนหาจุดออน
และนํามาวางแผนปรับปรุงตนเอง ทั้งยังมีความตองการที่จะปรับปรุงและฝกพูดอยูเ สมอ มีหัวขอสําคัญบาง
ประการเกีย่ วกับการพัฒนานิสัยในการพูดใหมีประสิทธิภาพ ดังนี้
๙.๑ เขาใจติชม
๙.๑.๑ พัฒนาความเขาใจเกีย่ วกับการติชมวา ทําไมการพูดของคนนั้นดี ของคนนั้นไมดี และ
จะตองมีการปรับปรุงแกไข
๙.๑.๒ ขณะฟงวิทยุหรือดูทวี จงพยายามวิเคราะหเทคนิคการพูดที่ตนจะเลือกนํามาใชได
๓๓
๙.๑.๓ เตรียมพรอมที่จะรับรูเรื่องวิธีพูดของผูอื่นอยูตลอดเวลา
๙.๒ มาตรฐานการพูด สรางมาตรฐานการพูดของตนเองโดย
๙.๒.๑ วิเคราะหการพูดของตนเอง
๙.๒.๒ ใหเพื่อนชวยวิจารณ
๙.๒.๓ ฟงเทปการพูดของตนเอง
๙.๒.๔ สงเสริมจุดเดนที่ตนมีอยูแลว
๙.๒.๕ ศึกษาจุดดอยของตนและแกไขใหถูกตองยิ่งขึ้น
๙.๓ ฝกพูด ประการสุดทายฝกพูดใหดีตลอดเวลา บอยครั้งที่เดียวทีเ่ รามักมีปญหาเกีย่ วกับวิธีพูดบน
เวที, การสนทนา แมกระทั่งที่บาน การพูดที่ดีควรจะไดรับการฝกฝนตลอดเวลา จงใชวิธีบันทึกเสียง จงหา
โอกาสไปศึกษาวิธีพูดตอชุมชน และพิจารณาทุกหวงการสอน เพื่อหาชองทางปรับปรุงเทคนิคการพูดของตน

o m
g . c
---------------------------------------------------
i g za
e oz
w .g
w w
๓๔
บทที่ ๖
เทคนิคการถาม
(Questioning Techniques)
-------------------
๑. การมีสวนรวมของนักเรียน (Student Participation)
๑.๑ เรื่องการสอนไมวาจะเปนการสอนในหอง สนามฝกทางยุทธวิธี หรือสนามยิงปน ตองไมเปน
แนวทางเดียวกัน ความเขาใจลึกซึ้งของนักเรียนตอการอธิบายและแสดงแนวความคิดของครูใหผลประกันการ
เรียนรูไดเพียงเล็กนอย เมื่อคิดถึงการรับเอาแนวความคิดและความเขาใจของนักเรียนแลว ครูก็อาจคาดการณ
ลวงหนาไดถึงการซึมซาบ ความรูที่ครูสอนได อยางไรก็ตามความแตกตางระหวางการเรียนรูทางออมกับการ
เรียนรูโดยตรง มักจะเปนสัดสวนกับการมีสวนรวมของนักเรียนในการถกแถลง และการนําไปปฏิบัติตาม
แนวความคิดที่ครูไดสอนไปแลว
๑.๒ เรื่องนีเ้ กี่ยวของกับเทคนิคที่ครูจะนํามาใช เพื่อชักจูงนักเรียนใหอยูใ นสภาพพรอมที่จะเรียน
ถึงแมการปฏิบัติจะไมรวมอยูในแผนบทเรียน วิธีและเทคนิคในการวางแผนฝm กทํางานไดอธิบายไวในบทวา
. c o
ดวยวิธีการสอนแลว
g
๒. ประโยชนของการถาม (Advantages of Questioning) gza
z i
๒.๑ เพิ่มความสนใจ นักเรียนมักมีความสนใจเพิ e o ่มขึ้นเมื่อเขามีสวนรวมในการถาม จะเปนครูถามเอง
w
หรือใหนกั เรียนชวยกันตั้งคําถามก็ได โดยธรรมดาแล
g
. วนักเรียนมักสนใจฟง เพื่อนของตนเองถกแถลงมากกวา
ที่จะฟงครูพูดอธิบายเนื้อหาแตฝายเดียw
w
ว นักเรียนจะรูสึกวาเขามีสวนชวยเหลือในการสอนถาเขาไดรับอนุญาต
ใหถามปญหา และตอบปญหาที่ครูถามดวยตนเอง
๒.๒ เราใหนกั เรียนเกิดความคิด นักเรียนจะตื่นตัวมากยิ่งขึ้นเมื่อเขาจะตองรับผิดชอบตอการเรียน
เขาจะเอาใจใสจดจอและครุนคิดในเรื่องทีว่ า เขาจะรูคําถามที่ครูจะถามหรือไม ดังนัน้ ผูถามปญหาและ
สนับสนุนใหนักเรียนถามปญหา จึงเปนผูส งเสริมใหนักเรียนตั้งใจเรียน
๒.๓ ประเมินระดับการสอน คําถามจะชวยใหครูประเมินคาการสอนตอระดับการเรียนของนักเรียน
ถานักเรียนรับรูหรือสนองตอบอยางผิดพลาดไมถูกตอง ครูจะตองอธิบายใหงายขึน้ หรือเพิ่มเติมการอธิบาย
เรื่องที่เรียนมาแลวใหกระจางยิ่งขึ้น คําถามที่ถามไปยอมแสดงใหเห็นความเขาใจผิด ซึ่งสามารถแกไขใหถกู
จุดได
๒.๔ จูงใจใหนักเรียนแสดงทาทีหรือทัศนคติ การรับรูหรือการสนองตอบของนักเรียน มักแสดงถึง
ความสนใจและทัศนคติที่มีตอ วิชานั้นหรือบางทีก็มีตอแผนการฝกทั้งหมด ทาทีของนักเรียนมีความสําคัญตอ
ครูมาก เพราะทําใหเห็นวานักเรียนไดรับการเราใจหรือไม (Reveal the presence of absence of motivation)
๒.๕ เปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น จากประสบการณหรือการอานของนักเรียน
๓๕
นักเรียนจะเกิดความคิดใหม และปฏิบัติการใหมๆ เกีย่ วกับเนื้อหาวิชา และอาจไดรับการสนับสนุนใหแสดง
ความคิดเห็นตอชั้นเรียน การใหนักเรียนมีสวนรวมเชนนั้น เปนสิ่งพึงปรารถนาที่สุด เพราะเปนการกระตุน
ความสนใจเปลี่ยนแปลงการสอนใหผิดแผกไป และเปนการเพิ่มเนื้อหาแกบทเรียนอีกดวย
๒.๖ เนนจุดสําคัญของบทเรียน การรักษาจุดสําคัญไว ทําโดยการย้ําบอยๆ ขอเท็จจริงเล็ก ๆ นอย ๆ
มีวา คําถามที่จะนํามาถามเฉพาะจุดสําคัญนั้น เปดชองใหมีการเนนแนวความคิดแจมแจงยิ่งขึ้น ครูรับผิดชอบ
ตอคําถามนั้น และประเมินคาของคําถามเปนการชวยสงเสริมใหไดเพิ่มเติมแนวความคิดที่ถูกตองเขาไปใน
ความทรงจําของนักเรียน
๒.๗ วัดผลการสอน วิธีที่ดีที่สุดสําหรับตรวจสอบความเขาใจ ความรูสึกนึกคิดของนักเรียน ก็คือ
การตั้งคําถามถามนักเรียนในระหวางการสอน การถามนี้จะแสดงใหเห็นถึงความมีประสิทธิภาพของวิธีสอน
เทคนิคการสอน และการนําเขาสูบทเรียนที่ครูนํามาใช เมื่อนักเรียนตอบปญหาเหลานี้แลวก็จะเผยใหเห็น
จุดบกพรอง ซึ่งการสอนไดผลนอยที่สุด (The specifier areas Where These instruction has been the least
effective.)
ประโยชนคําถามที่ดี ตองเปนดังนี้
๑. เพิ่มความสนใจ
๒. เราใหคิด
o m
๓. ประเมินระดับการสอน g . c
๔. เปดโอกาสใหนกั เรียนไดแสดงความคิด igz
a
๕. จูงใจใหนักเรียนใชประสบการณeo
z
๖. เนนจุดสําคัญของบทเรีwยนw
.g
๗. วัดผลการสอน w
๓. การเตรียมคําถาม (Planing of Questions)
ประโยชนของคําถามขึ้นอยูกบั การเตรียมคําถามอยางรอบคอบ คําถามที่เตรียมเอาไวควรเขียนไวใน
แผนบทเรียน เพื่อ
- เนนจุดสําคัญ
- เราใหเกิดความสนใจ
- แนใจวานักเรียนมีสวนรวมในทุกขั้นตอน
คําถามที่นึกขึ้นโดยปจจุบันทันดวน ควรนํามาใชเมื่อปรากฏวามีความประสงคจะใช การชักชวนให
นักเรียนตั้งคําถามเปนวิธีการสงเสริมใหนักเรียนไดมีสวนรวม พื้นความรูเดิม และประสบการณของนักเรียน
มีอิทธิพลตอการใชคําถาม และลักษณะของคําถาม อยางไรก็ตาม การขาดความรูและประสบการณของ
นักเรียน มิไดเปนเหตุผลที่ถูกตอง สําหรับการไมใหนกั เรียนมีสว นรวม ครูที่มีความชํานาญสามารถที่จะให
นักเรียนมีสวนรวมบางขั้นตอนในทุกสถานภาพการสอน ครูทุกคนควรเขาใจเทคนิคการถามที่สําคัญ
๓ ประการตอไปนี้
๓.๑ การใชถอยคําเฉพาะเจาะจงของการถาม
๓๖
๓.๒ กระบวนการที่ดีที่สุดสําหรับการถามคําถาม
๓.๓ การควบคุมอยางไดผลในการสนองตอบ
๔. การใชถอยคําในการถาม (Phrasing the Question)
คําถามที่ไมดีกอ ใหเกิดความทอแทในการที่จะมีสวนรวมในการตอบคําถามและมักจะทําใหนกั เรียน
งง หรือเกิดความสับสนดวย คําถามที่ดีควรเปนดังนี้
๔.๑ มีความมุง หมายเฉพาะ คําถามควรจะเขียนใหมีความมุงหมายจํากัด คําถามหนึ่งอาจใชเนน
จุดสําคัญ อีกคําถามหนึ่งใชเพื่อกระตุน ใหเกิดความคิด และขออื่นๆ ควรใชเพื่อเราใหนกั เรียนเกิดความสนใจ
และทําใหนักเรียนตื่นตัวยิ่งขัน คําถามอาจจะมี เชน
- คําถามที่มีจุดประสงคจะตรวจสอบความเขาใจโดยตรง
- คําถามตอมา ณ จุดเดียวกันนั้นอาจถามเพื่อย้ําหรือแทนที่จะถามวา “มีอะไรอีกไหม” ครูควร
จะจํากัดและเชื่อมโยงการไตถามของตนตรงตอความเขาใจที่ครอบคลุมเนื้อหาวิชาโดยตรง

คําถามควรถาม เพื่อ
๑. ย้ําหรือเนนจุดๆ หนึ่ง
๒. การกระตุน ใหนักเรียนใชความคิดm
๓. ทําใหนักเรียนตื่นตัวอยูเสมอ.co
z ag กเรียน
z่เiรีgยนแลว
๔. ตรวจสอบความเขาใจของนั
๕. ทบทวนเนื้อo หาที
.g e
w w
w
๔.๒ นักเรียนเขาใจคําถาม คําถาม ควรจะเลือกใชถอยคําและภาษาเพื่อวาเขาจะไดเขาใจสิ่งทีเ่ ขา
ตองการ ใหหลีกเลี่ยงคําถามที่ยาวๆ ซึ่งจะตองเสียเวลาทําความเขาใจ คําถามที่ใชคําพูดงายๆ ตรงไปตรงมา
และเขาใจงายจะชวยไดมากที่สุด
๔.๓ เนนจุดเดียว จงหลีกเลี่ยงการถามปญหา ๒ อยาง ในคําถามเดียวกัน ถาคําถามกําหนดใหตอบได
หลายทาง จงเฉลี่ยคําถามที่ตองการถามใหนักเรียนอื่นๆ ชวยกันตอบ ยิง่ ไปกวานั้นเปนการไมเหมาะสมและไม
เปนธรรม ที่จะกําหนดใหนกั เรียนคนเดียวตอบปญหายาวๆ และตองแจงรายละเอียด ในเมื่อการเฉลี่ยคําถามที่
ตองการถาม จะกอใหเกิดการมีสวนรวมอยางเปนธรรมมากกวา
๔.๔ ตองการคําตอบที่แนนอน (ไมกวางเกินไป) การกําหนดใหคําถามไดรับคําตอบที่แนนอน เปน
สิ่งพึงประสงค อยาปลอยใหนักเรียนตอบโดยปราศจากความรู คําถามที่เคลือบคลุมไมแนนอน ยอมนํามาซึ่ง
คําตอบที่ไมแนนอน
๔.๕ คําถามที่เดาไมได จงเลี่ยงคําถามที่สามารถตอบวา “ใช” หรือ “ไมใช” เวนแตครูตองการให
นักเรียนอธิบายคําตอบของเขา คําถามที่ชี้แนะคําตอบที่ถูกตองใหไมควรใช ถาการตอบของนักเรียนไมแสดง
ใหเห็นวาเขาเขาใจจุดมุงหมายนั้นหรือไม หรือนักเรียนเดาคําตอบ คําถามนั้นเปนคําถามที่ใชไมได
๓๗
๕. การถามคําถาม (Asking the Question)
จงใชกระบวนการตอไปนี้ใหเปนประโยชนในการถาม
๕.๑ กระตุนใหนักเรียนทั้งชั้นรูความจริงวาจะมีการถามปญหารอชั่วขณะพลางนึกคําถามซึ่งนักเรียน
เพียงสวนนอยจะจําไดไวในใจ ถามคําถามนั้นดวยเสียงปกติ นาสนใจและทํานองการสนทนาและตองใหแนใจ
วาไดยินกันทั่วหอง, วิธีการตอไปนี้ทําใหการสนองตอบไรผลหรือเปนโมฆะ เชน “ผมไมไดยินคําถาม” หรือ
“โปรดทวนคําถามอีกไดไหมครับ”
๕.๒ อานคําถามใหนักเรียนทั้งชั้นฟง กอนที่จะเรียกชื่อนักเรียนคนหนึ่งใหเปนคนตอบการถามอยาง
นี้จะเรียกความสนใจของนักเรียนทั้งหมด นักเรียนแตละคนจะถูกเราใหใชความคิดและคิดคําตอบที่จะตอบ
เพราะเขารูวา เขาเปนคนหนึ่งที่อาจจะถูกเรียกใหตอบ ในทางตรงกันขามถาครูออกชื่อนักเรียนคนใดคนหนึ่ง
กอน นักเรียนที่เหลือก็จะขาดความสนใจ ในขณะที่ที่ครูกําลังถามปญหา
๕.๓ หยุดชั่วขณะหนึ่งระหวางถามคําถามเพื่อเราใหนักเรียนคิด แลวจึงเรียกนักเรียนคนหนึ่งใหตอบ
๕.๔ กระจายคําถามใหนักเรียนทั้งชั้นไดมีสวนรวมในการถกแถลง จงหลีกเลี่ยงการเรียกใหนักเรียน
ตอบคําถามตามลําดับ หรือใหนักเรียนผูตั้งใจเรียนตอบปญหาหลาย ๆ ขอหรือนักเรียนที่เรียนดีเปนผูตอบ
๖. การตอบคําถาม (Handling student answer)
๖.๑ เรียกใหนักเรียนคนหนึ่งแสดงความรูของตนตอนักเรียนทัm
. c o ้งชั้น และใหพูดเสียงดังพอที่จะไดยิน
กันทั่วถึง ถาจําเปนก็ใหนักเรียนผูนั้นตอบซ้ําอีกครั้ง g
g za ความสามารถ อยาปลอยใหตอบโดยที่ครู
๖.๒ บอกใหนักเรียนยกมือ ถาตองการที่จiะแสดงความรู
e oz
ไมไดเรียกใหตอบ
w .กgเรี ยนแตละคนตามความสามารถ ถ าจําเป นก็ให ประเมิ นอยาง
w
๖.๓ ประเมิ น ค า คํ า ตอบของนั
w
ละเอียดลออ หรือใหนักเรียนชี้แจงคําตอบของตนใหแจมแจง เมื่อขอเคลือบคลุมสงสัยจะเปนผลดี หากจะรอ
การประเมินผลครั้งสุดทายเกี่ยวกับคําตอบของนักเรียนผูนั้นจนกวานักเรียนอื่นๆ จะไดคําตอบของตนเองแลว
อยาเพิ่งรวบรัดประเมินคาคําตอบจากการถกแถลงคําถามหรือปญหาเพียงขอเดียวโดยปราศจากความไมแนใจ
วานักเรียนทั้งชั้นเขาใจคําถามถูกตองแลว
๖.๔ สนับสนุนใหนักเรียนไดแสดงปฏิกิริยาโตตอบดวยความสามารถอันยอดเยี่ยมที่เขามีอยูถึงแมวา
เขาอาจจะไมแนใจในความรูของเขาอยายอมใหนักเรียนใชคําพูดวา "ผมไมรู" โดยมิไดใชความพยายามชักจูง
ใหนักเรียนไดแสดงออกถึงสิ่งที่ตนไดรับรูแลว
๗. การสนับสนุนใหนักเรียนตอบปญหา (Encouraging Student Questiom)
๗.๑ สนั บสนุน ให นัก เรีย นถามคํ าถาม ใหเ ขาได รูตั้ง แต เ ริ่ ม แรกเลยวา การถามปญ หาเป น สิ่งพึ ง
ประสงคใหหยุดบอยๆ ในระหวางการอธิบายและเอาใจจดจอตอคําถามที่นักเรียนถามจํานวนคําถามที่
นักเรียนจะถามมักจะเปนเครื่องชี้บอกถึงความสนใจที่นักเรียนมีในวิชานั้น
๗.๒ การถายทอดคําถามของนักเรียนไปยังเพื่อนรวมชั้น เปนเทคนิคที่ยอมรับกันในการที่จะให
นักเรียนมีสวนรวมมากที่สุด
๓๘
๗.๓ อยาตอบโดยปราศจากความรู ในกรณีที่ครูไมสามารถตอบคําถามของนักเรียนไดจงบอกใหเขา
ทราบ จะหาคําตอบมาใหภายหลัง แลวตองรักษาคํามั่นสัญญานั้น

เทคนิคการถาม
๑. ถามปญหา (Ask the Question)
๒. หยุดใหคิด (Pause)
๓. เรียกใหตอบ (Call on the student)
๔. จงจําและประเมินคาคําตอบของนักเรียน (Recognize and Evaluate the student's answer)

om
g .c
ig za
z
.g eo
w w
w
๓๙
บทที่ ๗
อุปกรณการสอน
(Training Aids)
-----------------
๑. คุณคาของอุปกรณการสอน
อุปกรณการสอน มีความสําคัญที่จะทําใหการสอนมีประสิทธิภาพ ในฐานะครูดนี นั้ อุปกรณการสอน
เปนเครื่องมือที่มีคุณคายิ่ง ครูในฐานะมืออาชีพผูที่มีความเชี่ยวชาญ จะตองรูวิธีใชเครื่องมือตามลักษณะอาชีพ
ใหไดรับประโยชนมากที่สุด ครูจะตองเปนผูชํานาญในการเลือกการจัดหาการผลิตและการใชอุปกรณ
การสอน ครูที่ดียอมใชอุปกรณการสอนใหเปนประโยชนเพราะวาครูทุกคนยอมรูจักคุณคาที่แทจริงของ
อุปกรณการสอน ประโยชนของอุปกรณการสอนมีดังนี้
๑.๑ ผานประสาทหลายทาง (Appeal to the senses)
๑.๑.๑ การเรียนเริ่มตนดวยการกระตุน ประสาทใหตื่นตัว บรรดาประสาทหลายทางนําไปสูความ
m
เปลี่ยนแปลงทางการเรียนรู ทั้งนาจะเปนจริงที่วา การเรียนรูจะเขามาแทนที ่ คําพูดไมวาจะเปนชนิดเขียนมาพูด
.cเพีoยงพอที่จะสื่อความหมายอันละเอียดออน
aอgุปกรณการสอน ครูสามารถที่จะเขาถึงจิตใจของ
หรือพูดดวยปาก มักจะเลือนหายไป (จากความทรงจํา) และมักไม
ความเขาใจ การรูคุณคาทางจิตใจของนักเรียนไดโดยการใช
ig z
z
o ยงทางเดียว
บุคคลไดทะลุปรุโปรง มากกวาใหผานประสาทเพี
g e
. มากกวาฟงหรืออาน ยกตัวอยาง ลองพิจารณาสถานการณตอไปนี้
๑.๑.๒ คนทุกคนชอบมาดู w
นักเรียนจํานวนมากไดอานรายละเอีwwยด พรอมวิธีทํางานของปนกล ขนาด ๕๐ คาลิเปอรหรือใหครูอธิบายการ
ทํางานของปนกลดังกลาว โดยไมใชอุปกรณเครื่องชวยฝก ในอุทาหรณทั้ง ๒ อยางนัน้ การบรรยาย
รายละเอียดของอาวุธนั้นเอง อาจมีความละเอียดลออ แตนกั เรียนในชั้นประมาณ ๒-๕ คน เทานั้น จะรับทราบ
หรือนึกภาพออกดังเชนที่ครูอธิบาย หรือที่ตนอานอยางแจมแจง ยังมีนักเรียนอีกจํานวนหนึ่งซึ่งจะตองใหมี
โอกาสไดดูการทํางานของปน ตามขั้นตอนที่ครูอธิบาย จึงจะนึกภาพออก ซึ่งจะเปนลักษณะเดียวกันกับไดดู
ของจริงอยางใกลชิด ที่ครูตองการใหไดผลอยางนั้น เพราะเหตุที่เปนสิ่งลอใจนักเรียนใหไดความรูโดยผาน
ประสาทมากกวาหนึ่งทาง การสอนที่ใหเห็นของจริง จึงมีคามากกวาการใชคําพูดลวนๆ
๑.๒ ทําใหนักเรียนสนใจ (Interrest the student)
อุปกรณการสอนหรือเครื่องชวยฝก เพิ่มความสนใจ และจําเปนที่สุดแกการสอน อุปกรณการ
สอนจะรวมจุดสนใจของนักเรียนไวกับบทเรียนที่ครูกําลังสอน เมื่อใชอุปกรณการสอนอยางถูกตอง อุปกรณ
การสอนจะชวยเสริมการสอนใหเปลีย่ นแปลงไปไดหลายทางในสถานการณการฝกหลายๆ อยางการใชของ
จริง หุนจําลองหรือภาพยนตฝก จะเพิม่ ความสมจริงใหแกวิชานั้นและการเตรียมการเราใจนักเรียนซึ่งชวยให
ยังคงรักษาความพรอมที่จะเรียนเอาไวได
๑.๓ พัฒนาใหนักเรียนเขาใจยิ่งขึ้น (Develop understanding)
๔๐
เหตุผลที่สําคัญที่สุดสําหรับการใชเครื่องชวยฝกก็คอื ทําใหนักเรียนเรียนรูไดงายขึ้น เครื่องชวย
ฝกที่ดีตองงาย เพิ่มการเนน และชวยขจัดจุดที่ยุงยากของเนื้อหาวิชาใหหมดไป เมื่อทําความเขาใจในประโยชน
ของเครื่องชวยฝกแลว ความประทับใจของนักเรียนจะเพิ่มมากยิ่งขึ้น ทั้งจะไดรับความเขาใจในสิ่งที่ครูสอน
กระจางชัดยิ่งขึ้น ความจริงไมเพียงแตกับนักเรียนที่เรียนไดชาเทานั้น แตยังทําใหนกั เรียนที่มีสติปญญาเฉลียว
ฉลาดยิ่งขึ้นอีกดวย อุปกรณการสอนจะชวยใหครูคิดคนแบบหรือวิธีการสอนใหม ๆ และยังชวยใหรักษา
แนวความคิดเปนไปอยางตอเนื่องไมขาดตอนเปนความจริง โดยแนแทในการฝกสถานการณ นักเรียน
ตองจํากระบวนการที่ถูกตองแนนอนหรือในการเรียนหลักการตาง ๆ เชน หลักการยิง และหลักการดําเนินกล
ยุทธ เปนตน
๑.๔ ประหยัดเวลา (Save Time)
เครื่องชวยฝกหรืออุปกรณการสอนชวยใหนกั เรียนเรียนรูไดเร็วขึน้ เปนไปไมไดที่จะสอนวิชา
ทหารใหไดผลมากที่สุดในเวลาที่มีอยู โดยไมใชเครื่องชวยหรืออุปกรณการสอน
๒. การเลือกอุปกรณการสอน (Selection of Training Aids)
๒.๑ ครูตองตรวจสอบจุดมุงหมายของบทเรียนอยางถี่ถวนเพื่อตกลงใจวา จะหาอุปกรณเครื่องชวยฝก
ที่ตองการไดทไี่ หน เพื่อจะนํามาชวยในการเรียนของนักเรียน อยาปรับการสอนเขาหาอุปกรณเครื่องชวยฝก
แตจงปรับอุปกรณเครื่องชวยฝกเขาหาการสอน การใชอุปกรณการสอนมากมายหลายชนิ
o m ดเกินไปจะกอใหเกิด
ความสับสนและเปนอุปสรรคตอการเรียนของนักเรียน จงจําไววา อุปกรณ g c
. การสอนมีมากมายหลายชนิด แตละ
ชนิดก็มีทั้งผลดีและผลเสีย i g za
๒.๒ โดยการใชอุปกรณการสอนหลายๆ อยe
z
างตoางๆ กัน เปนการเพิ่มเติมการเรียนและเพิ่มความสนใจ
ใหแกนักเรียนไดมากยิ่งขึ้น อยางไรก็ดw ี w
.g
ก็อยาใหขดั ขวางกระแสความคิดโดยใชอุปกรณมากมายเกินความ
จําเปนเพื่อเปนเครื่องชวยสนับสนุนตอw จุดมุง หมายของบทเรียนเทานัน้
๒.๓ ครูควรหมั่นตรวจสอบวิชาที่ตนสอน ดวยเจตจํานงที่จะปรับปรุงอุปกรณการสอนและพัฒนาให
ใหมอยูเ สมอ เพื่อใหนกั เรียนเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
๓. ลักษณะของอุปกรณการสอนที่ดี (Characteristics of A good Training Aids)
อุปกรณการสอนที่ดี มีลักษณะดังตอไปนี้
๓.๑ เหมาะสม (Appropriate)
อุปกรณการสอนควรจะสัมพันธ หรือเขากันไดกับเนือ้ หาและพืน้ ความรูของนักเรียนที่กําลังสอน
อยู อุปกรณการสอนควรจะสะทอนใหเห็นรสนิยมอันดี และถือเอาระดับสติปญญาของผูเจริญแลวเปนเกณฑ
ในการวางแผนใชอุปกรณเครื่องชวยฝกนัน้ ครูจะตองพิจารณาถึงขนาดของหองและสถานที่ที่จะใชอุปกรณ
การสอน จะสามารถมองเห็นไดอยางชัดเจนจากหลังหองดวยตัวหนังสือที่เขียนควรจะมีขนาดสูง ๑ นิ้ว
ทุกระยะที่หางจากสายตา ๓๒ ฟุต
๓.๒ เขาใจงาย (Simple)
อุปกรณการสอน ควรจะเขาใจงาย ประสานหรือเหมาะกับระดับของนักเรียนที่จะฝกทัว่ ไป
อุปกรณเครื่องชวยฝกที่ซับซอนเกินไป จะเปนเหตุใหนกั เรียนพุงความสนใจไปทีเ่ ครื่องชวยฝกมากกวาวิชาที่
๔๑
เรียน ใหขจัดขอความและรายละเอียดปลีกยอยที่ไมจําเปนออกทั้งหมด
๓.๓ ถูกตอง (Accurate)
ตองแนใจไดวา ความเปนจริงของอุปกรณและรูปภาพทุกอยางถูกตอง และตัง้ อยูบนหลักความ
นิยมซึ่งใชกนั อยูในปจจุบัน
๓.๔ นําไปใชไดสะดวกและทนทานถาวร (Portable and Durable)
อุปกรณการสอนควรจะมีน้ําหนักเบา หรือทําขึ้นมาดวยสวนประกอบที่ถอดประกอบไดงาย และ
ควรประกันไดวา นําไปมาไดสะดวก อุปกรณการสอนควรจะทําดวยวัสดุที่ทนทานซึ่งจะทนตอการใชนอก
สถานที่ และการหยิบยกที่ไมนุมนวล
๓.๕ ไมใหญเกินไป (Manageable)
อุปกรณการสอนควรงายตอการนําไปปฏิบัติ และโยกยายไปมา (Nanipulate) เครื่องประดิษฐอนั
ประณีตพิเศษมีคุณคาในแตละชนิดของการฝก แตโดยปกติแลวอุปกรณที่มีประสิทธิภาพมากที่สดุ จะตอง
ทําไดงาย ไดสัดสวน เหมาะเจาะ นาจะฝกปฏิบัติ อุปกรณการสอนทีด่ ีควรออกแบบเพื่อชวยเสริมความเขาใจ
ในบทเรียนที่กาํ ลังสอน โดยไมทําใหการดําเนินการตอไปสะดุดหยุดลง อุปกรณการสอนควรจะทําขึ้นเพื่อ
สามารถสอนนักเรียนไดงายราบรื่น ไมทาํ ใหเกิดความเขาใจไขวเขว
๓.๖ ดึงดูดความสนใจ (Attractive)
om
อุปกรณควรจะดึงดูดความสนใจของนักเรียน ปgายบอกชื c
. ่อสะอาดเรียบรอย และชองไฟถูกตอง
จะเปนเครื่องเยายวนสายตาใหมอง และทําใหจุดสํig าคัz
a
ญเดนชัดขึ้น คําอธิบายมากเกินไปจะทําใหอุปกรณ
ยุงเหยิง การระบายสีหากใชอยางระมัดระวังe oวzยเนนจุดสําคัญแตหากระบายสีมากเกินไปจะทําใหเกิดความ
.g
จะช
สับสนลานตา w w
w
๓.๗ มีความจําเปน (Necessary)
อุปกรณสอนแตละชนิด ควรจะแสดงใหเห็นถึงเนือ้ หาวิชาที่สําคัญ และมีสวนชวยเหลือใหบรรลุ
ความสําเร็จในจุดมุงหมายทีก่ ําลังเรียน ไมควรใชอุปกรณการสอนเปนเครื่องกระตุนใหนกั เรียนไมงว งเหงา
หาวนอนตลอดเวลา (Eyewash) หรือเพียงเพื่อใหนกั เรียนเกิดความสนุกสนาน การใชอุปกรณการสอนมาก
เกินไปมักจะลดคาของอุปกรณตอการดําเนินการสอนนั้น คาใชจายและความพยายามในการที่ผลิตอุปกรณ
การสอน ควรจะแสดงความจําเปนโดยการบอกถึงคุณคาของการใชอุปกรณในหลายๆ ทาง เรื่องจริงเกี่ยวกับ
อุปกรณการสอนยอมดีกวาการชวยเหลือใดๆ เพื่อวัตถุประสงคในการประหยัด เมื่อจะขอเสนอเรื่องการผลิต
แบบจําลอง หรือภาพลอกที่มีความละเอียดประณีต ควรพิจารณาใชอุปกรณหลักหรือแผนชารทที่ผลิตไดเอง
ในทองถิ่นกอน จะเมื่อไรก็ตามที่อุปกรณดงั กลาวจะทําใหสําเร็จวัตถุประสงคของบทเรียน
๔. เทคนิคการใชอุปกรณการสอน (Techniques in use of Training Aids)
๔.๑ เตรียมการใชอุปกรณการสอน
ครูตองทราบอุปกรณของตนอยางละเอียด และเตรียมทีจ่ ะตอบคําถามใดๆ ที่เกีย่ วของกับอุปกรณ
ทบทวนบทเรียนหลาย ๆ ครั้ง โดยใชอุปกรณเชนเดียวกับที่จะตองใชในการสอนจริง เตรียมตัวลวงหนาอยาง
ละเอียดลออ เพื่อใชอุปกรณ ตัวอยางเมื่อใชตูเก็บเครื่องชวยฝกประเภทแผนภูมิทางทหาร หรือบานพลิกใหใช
๔๒
กระดาษกลัดติด หรือเสียบกั้นไวเปนเครื่องหมายหรือใชสิ่งประดิษฐอยางอื่นที่มีลักษณะคลายกันกลัดติดไว
ตรงที่ซึ่งจะใชในการสอน เพื่อจําแผนที่จะใชไดงาย เทคนิคอื่น ๆ ก็มี เชน เขียนเบา ๆ ซึ่งหัวขอที่จะใชสอน
ของหนาตอไปไวแตละหนา เทคนิคทั้งสองอยางดังกลาว จะชวยใหการเปลี่ยนจุดสําคัญหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
เปนไปดวยความเรียบรอย
๔.๒ อธิบายอุปกรณแกนักเรียน
อุปกรณที่ประณีตมักจะถูกนํามาใชบอ ย ๆ เพื่ออธิบายหรือใหเปนตัวอยางในวิชาที่ซับซอนมาก
และวิชาพิเศษเมื่อจะแสดงใหดูเปนครั้งแรกซึ่งอุปกรณเชนนั้นตองอธิบายจุดมุงหมายหรือหนาที่ของมัน
โดยยอเสียกอน นอกจากนี้นักเรียนควรจะพยายามหาทางอธิบายอุปกรณดว ยตนเอง โดยครูใหโอกาสแก
นักเรียนอธิบายแทน
๔.๓ ปดไวเมือ่ ยังไมไดใช
แผนชารทขนาดใหญอาจใชแผนกระดาษหอหุมที่มหี วงสําหรับเกีย่ ว หรือใชตะปูตอกตรึงคลุม
ไว ถาแผนชารทมีขอความที่เขียนไวเปนบรรทัด ใหปดดวยกระดาษที่ตัดไดพอดีกบั บรรทัดและเลื่อนไปทีละ
บรรทัด เครื่องยนตกลไก อาวุธและอุปกรณทํานองเดียวกัน สามารถปกปดไวดว ยผาปดเปาหรือวัตถุบางอยาง
ที่มีลักษณะเชนเดียวกัน แผนกระดาษธรรมดาสามารถที่จะสอดเขาไปในระหวางชั้นที่เก็บอุปกรณการสอน
จําพวกแผนภูมิหรือแผนที่ เพื่อหมายหนาปดไวจนกวาครูจะตองใช การกระทําอย
o mางนี้จะปองกันไมใหนกั เรียน
เกดความสับสนในอุปกรณ ในเมื่ออุปกรณนั้นยังไมไดใชงาน g .c
๔.๔ ใหนักเรียนเห็นไดทั่วถึง i g za
e oz นไดอยางทัว่ ถึง ถาอุปกรณเปนชารท หรือ
.g
การแสดงอุปกรณ เพือ่ ใหนกั เรียนสามารถมองเห็
แผนภูมิ ตองใหมองจากหลังหองเห็นไดอw ยาwงชัดเจน จัดที่นั่งใหนักเรียนสามารถเห็นไดดียิ่งขึน้ อุปกรณแมจะ
ดีที่สุดก็จะกลับมีคุณคานอย ถานักเรียwนไมสามารถมองเห็นไดอยางทัว่ ถึง
๔.๕ ไมพดู กับอุปกรณการสอน พูดกับนักเรียน
ครูบางคนติดพันอยูแตกับอุปกรณการสอนจนกระทั่งลืมดูนักเรียนของตนเอง แมเรื่องการถอด
ชิ้นสวนของเครื่องชวยฝก ครูก็ควรรักษาสัมผัสกับนักเรียนตลอดเวลา ขณะอธิบายแผนชารทหรือเขียน
กระดานดํา ถาเปนไปไดใหยนื ขาง ๆ อุปกรณการสอน วิธีนี้จะชวยใหไมตองหันไปพูดกับอุปกรณมากกวาพูด
กับนักเรียน
๔.๖ การใชไมชี้
ไมชี้ชวยดึงดูดความสนใจของนักเรียนไปยังสวนตาง ๆ เฉพาะที่ของอุปกรณการสอนใชชี้ไมชี้
ตรงไปยังสวนของอุปกรณการสอนที่ตองการใหนกั เรียนสังเกต ใหถือไมชี้ดวยมือขางที่อยูใกลอุปกรณมาก
ที่สุด ซึ่งจะทําใหครูสามารถรักษาสัมผัสกับนักเรียนไดดยี ิ่งขึ้น การถือไมชี้ดวยมือขางที่อยูไกลอุปกรณ จะเปน
เหตุใหครูพูดกับอุปกรณมากกวาที่จะพูดกับนักเรียน เมือ่ ไมตองการใชใหวางไมชี้ไว การถือไมชโี้ ดยที่ไมได
ใชจะกอใหเกิดนิสัยสรางความรําคาญใจใหเกิดกับนักเรียน
๔.๗ การใชผูชวยครูใหไดผลมากที่สุด
ถาจะใชผูชวยครูตองแนใจวาผูชวยครูไดรับการซักซอมมาเปนอยางดีแลว เพื่อเขาจะไดรูอยาง
๔๓
แนชัดวาเขาจะตองทําอะไรและเมื่อไร ถาผูชวยครูจะตองเปนผูชวยวางแผนใสบนเครื่องฉาย จะตองกําหนด
สัญญาณกันไวลวงหนา เพื่อผูชวยครูจะไดรูวาเมื่อไรจะเปลี่ยนสไลดหรือปดเครื่องฉาย
๔.๘ ใชเครื่องชวยฝกอยางนุมนวล
เมื่อใชอปุ กรณหลายชนิด ใหจดั อุปกรณไวตามลําดับที่จะใช ถาอุปกรณมีน้ําหนักซึ่งจําเปนตอง
นํามาใชขณะสอนตองแนใจวา อุปกรณนั้นสามารถเคลื่อนยายมาไดอยางนิ่มนวลปราศจากเสียงรบกวนเกิน
สมควร
๕. ชนิดของอุปกรณการสอน (Types of Training Aids)
อุปกรณการสอนมีหลายชนิด แตละชนิดยอมีทั้งผลดีและผลเสียขึ้นอยูกับภารกิจของบทเรียน และ
ลักษณะของเนื้อหาวิชาถาในเวลาเดียวกันจะตองสอนหลายแนวความคิด หรือเรื่องมีรายละเอียดมาก โดยใช
เครื่องชวยฝกอันเดียวกันนัน้ จะเปนเหตุทําใหนกั เรียนสับสน และเปนอุปสรรคขัดขวางตอการเรียนรูของ
นักเรียน มีบอยครั้งที่อุปกรณพิเศษซึ่งถูกสรางขึ้นมา เพื่อเปนสื่อชวยความจําไมประสบความสําเร็จตามความ
ประสงค ครูตองตัดสินใจเลือกอุปกรณชนิดที่จะชวยใหการเรียนของนักเรียนไดผลดีที่สุด เครือ่ งชวยฝกควร
จะทําใหผิดแผกไปจากอุปกรณการฝก และสิ่งอํานวยความสะดวกในการฝก ชนิดของอุปกรณการสอน
ไดจัดลําดับไวขางลางนี้แลว เมื่อจะใชเครือ่ งชวยฝกตามความมุงหมาย ใหแยกออกเปนประเภทๆเชนเดียวกับ
อุปกรณการสอน
o m
๕.๑ ของจริง (Actual Equipmant) g .c
a
่สzุด อยางไรก็ดี ครูจะตองคํานึงถึงรูปรางของนักเรียน
ของจริงเปนเครื่องชวยฝกทีส่ มจริงมากทีi g
e o่อzงการถอดประกอบอาวุธ ควรจัดนักเรียนเพื่อใหนักเรียนทุก
.อgุปกรณการสอนที่ดีที่สุดเสมอไป ตัวอยางเชน เมื่อแสดงวิธีปรับ
เมื่อใชอุปกรณที่เปนของจริง ระหวางการสอนเรื
w
คนสามารถเห็นไดทวั่ ถึง ของจริ
w wงมิ ใ ช
คารบูเรเตอร การปรับจังหวะเครื่องยนต หรือปรับตําแหนงการระเบิดของหัวเทียน ถาใชของจริงจะทําให
นักเรียนเห็นไดยาก ในระหวางการสอนดังกลาวควรใชของจริงรวมกับอุปกรณชนิดอื่นๆหรือโดยการแขวน
กระจกไวบนหองเครื่อง เพือ่ นักเรียนทุกคนสามารถมองเห็นวาครูกําลังทําอะไร
๕.๒ หุนจําลอง (Models)
หุนจําลองมักถูกนํามาใชบอย เพื่อใหรว มกันหรือใชแทนของจริง หุนจําลองยาอมแสดงให
เห็นภาพ ๓ มิติ โดยปกติ หุนจําลองที่ทําขึ้นมาใหไดสดั สวน ตัวอยางของการใชหนุ จําลองอยางมี
ประสิทธิผล ก็คือ การใชหนุ จําลองรถถังขนาดเล็กบนกระดานจําลองภูมิประเทศ หรือบนโตะทราย
๕.๓ แบบจําลอง (mockups)
แบบจําลอง เปนของที่สรางเรียนแบบของจริง อาจเหมือนของจริง แตไมจําเปนตองมี
รูปรางเปนแบบเดียวกับของจริง ขอจํากัดของแบบจําลอง ก็คือ ไมสามารถมองเห็นอีกดานหนึ่ง
๕.๔ แผนภูมิ (Graphic Material)
๕.๔.๑ เครื่องชวยฝกประเภทแผนภูมิ ใหหมายรวมไปถึงแผนชารท แผนผัง แผนกราฟ
ภาพ สเก็ทช การตูน แผนที่และกระดานดํา แผนภูมิ ควรใชรวมกับกลไก หรือเครื่องประดิษฐทกี่ ําลังอธิบาย
๕.๔.๒ สี ชวยเพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณการสอนชนิดภาพหลายเสน เมื่อใชสีครู
๔๔
ควรจะอธิบายความมุงหมายของสี เชน สีแดง ใชเนนระบบไฟฟายานยนต สีเขียว บอกระบบน้าํ มัน และสี
เหลือง บอกระบบไฮดรอลิค สีควรใชเปนขั้นแรกเพื่อเนน
๕.๕ การแสดง (Display)
๕.๕.๑ การแสดง (นิทรรศการ) อาจรวมถึงกลไก หรือเครื่องประดิษฐชนิดตาง ๆ อยาง
กวางขวาง ฝาผนัง พื้นหอง เพดาน ชองทางเดินระหวางอาคาร โรงทหาร สํานักงานของกองพัน หองพักผอน
พื้นที่ฝกนอกอาคาร และลานจอดรถ ครูยอมนํามาใชเพื่อตั้งแสดงวัตถุตางๆ ซึ่งก็กลายมาเปนสวนประกอบ
สวนหนึ่งของการเรียน การแสดงใหเกิดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมใหนาเรียนยิ่งขึน้
๕.๕.๒ เพื่อใหการแสดงสัมฤทธิผล จะตองใชจินตนาการและวางแผนอยางรอบคอบขอบเขต
ของการแสดง และการจัดลําดับจะตองออกแบบใหสนับสนุนการเรียน ความฉลาดในการแสดงเปนผล
มาจากการวางแผนอยางรอบคอบและการทําวางอยางเขมแข็ง
๕.๖ บานเกล็ด (Ventian Blind)
บานเกล็ดเปนอุปกรณการสอนที่มีประสิทธิภาพอยางยิ่ง เมือ่ ใชสรุปจุดมุงหมายของบทเรียน
หรือใชสนับสนุนเนื้อหาวิชาที่สอน ตัวหนังสือที่เขียนบนแผนบานเกล็ดตองสะอาดสวยงามและเปนระเบียบ
ควรจะใชอักษรตัวใหญพอทีน่ ักเรียนทุกคนจะเห็นและอานออกได ขอความจะเปดเผยทีละตอน แตละตอนก็
ควรจะถูกแถลงใหจบกอนทีจ่ ะขึ้นขอความตอไป บานเกล็ดควรจะเขียนขอm ความสรุปตามลําดับที่จะสอน
c o
. วิธีนเี้ ปนการฝกใหนักเรียนเอาใจใส
อีกประการหนึ่ง ควรจะเริ่มสอนจากขางบนและสรุปจากขางบนลงมา
a g
บทเรียน ครูไมควรถามปญหาจากสวนบานเกล็ดทีย่ ังสอนไม i gถz
ึง เพราะเทากับวาครูกําลังจะถามนักเรียนให
e oz
.g
เดาในสิ่งทีย่ ังไมไดสอนในหนาตอไป
๕.๗ กระดานดํา (The Chalkboard)w w
w
๕.๗.๑ คุณลักษณะกระดานดํา (Description)
๕.๗.๑.๑ กระดานดํา เปนอุปกรณการสอนที่มปี ระโยชน เปลี่ยนแปลงใชไดตาม
กาลเทศะ มักใชผิดบอยๆ เพราะขาดความเขาใจเทคนิคการใช และขีดความสามารถของกระดานดํา
๕.๗.๑.๒ กระดานดําสามารถชวยครูไดหลายทาง ครูสามารถเขียนหัวขอทีจ่ ะสอน
เขียนคําถาม วาดภาพ เขียนแผนผัง หัวขอสําคัญ หัวขอยอยที่สนับสนุนหัวขอสําคัญปญหาและคําเฉลยบน
กระดานดํา เมื่อใชเครื่องฉายขามศีรษะ (Overhead Projector) หรือเครื่องฉายภาพทึบ (Opaque Projector)
แผนใส ภาพหลายเสน ขอความที่ตัดจากหนังสือพิมพหัวเรื่องวารสารรายปกษหรือรายสัปดาห ก็สามารถ
นํามาแสดงบนกระดานดําได และใชชอลกลากเสนหรือวาดภาพ
๕.๗.๑.๓ แบบนําการวาด (The Templet) สามารถใชวาดบนกระดานดําไดเมื่อตองการ
การวาดที่มีความถูกตองแนนอน หรือตองการเขียนซ้ํารอยเดิม
๕.๗.๑.๔ ใชดินสอทําเครื่องหมาย หรือลากเสนบนกระดานไวลวงหนาเพียงเบา ๆ แลว
ใชชอลกลากเสนเพื่อใชชัดเจนขณะสอน ภาพนัน้ ก็กลายเปนภาพระดับมืออาชีพ ใชแสดงแกนักเรียนได
๕.๗.๑.๕ กระดานดําอีกแบบหนึ่ง ทําขึ้นมาเพื่อเปนกระดานแมเหล็ก ดังนั้นจึงกําหนดวิธี ใช
กระดานรวมกันหลายๆ วิชา
๔๕
๕.๗.๑.๖ ชอลกเรืองแสง (ใชชอลกธรรมดาแทนได) ใชรว มกับหลอดแบลคไลท
(หลอดไฟคลายหลอดนีออนใชตามเวทีแสดง) ที่ประดิษฐขึ้นมาเปนพิเศษเพื่อสงเสริมใหนักเรียนเกิดความ
สนใจ ตัวอยาง ลูกไฟนิวเคลียร สามารถทําใหเกิดขึ้นไดบนกระดานดําอยางทันทีทนั ใด
๕.๗.๑.๗ กระดานดําเปนเครื่องมือระดับมัชฌิม ที่สนับสนุนใหนกั เรียนมีสวนรวม
นักเรียนจะรูสึกวา พวกเขามีสวนชวยชั้นเรียนเมื่อคําตอบ คําแนะนํา หรือความเห็นของพวกเขาไดรับการ
เสนอบนกระดานดําหนาชัน้
๕.๗.๒ การใชกระดานดํา
๕.๗.๒.๑ ครูจะตองจัดหาทุกสิ่งทุกอยางที่ตองการใชกับกระดานดํา ใหพรอมกอนที่จะ
เริ่มสอน เชน ชอลก ไมบรรทัด แปรงลบกระดาน เปนตน
๕.๗.๒.๒ ตรวจแสงสวาง ตองแนใจวานักเรียนทุกคนจะสามารถมองเห็นการทํางาน
ได ตองตรวจแสงไฟฟา บางครั้งก็จําเปนตองเปดไฟลดเงามือ หรือเปดไฟบางดวง ถากระดานดําเปนเหตุให
เกิดแสงพราตา ใหใชกระดาษปดคลุมใชเปนกระดานดําแทน และลากเสนดวยชอลกสี (มวง หรือ ดํา)
กระดานดําพืน้ เขียว ชวยลดแสงและความลาของสายตาไดมากกระดานดังกลาวสามารถผลิตขึ้นไดโดยใชไม
เรียบคอนขางมาก เชน ไมอัด ทาดวยสีนา้ํ มัน เปนสีเขียวซึ้ง ไมสะทอนแสง (flat green) ชอลกสีเหลือง
แลเห็นเดนชัดกวาชอลกสีอนื่ ๆ สําหรับกระดานดําชนิดนี้ ชอลกสีหm ลายสี สามารถนํามาใชบนกระดานสี
.c o
เขียวมากกวาบนกระดานสีดํา g
๕.๗.๒.๓ ลบกระดานดําใหสiะอาด g za กระดานสกปรกทําใหเกิดความรูสึกวา ครูมิไดมี
e oz
.g
การเตรียมการ
๕.๗.๒.๔ w ราw
งแผนงานไวลวงหนา เขียนไวในแผนบทเรียน กอนเริ่มเรียนใหใชดินสอ
รางงานไวบนกระดานดํา อยาw ใหนักเรียนมองเห็นรองรอย เวลาเขียนหรือวาดภาพครูสามารถใชชอลกลากเสน
ตามรอยดินสอได
๕.๗.๒.๕ เขียนหัวขอใหอานงายและสั้น หัวขอที่สั้น ๆ จะทําใหจําไดงายเขียนเปน
ขอความซึ้งเมื่อครูอธิบายแลวจะทําใหครอบคลุมจุดสําคัญ ๆ ได
๕.๗.๒.๖ พิมพหรือเขียนไหอานงาย และใหตัวโตพอที่จะเห็นไดทั่วทั้งหอง เขียนใหตัว
เสมอกันและเทากันตลอด
๕.๗.๒.๗ ใชชอลกสีเนน และทําใหเห็นความแตกตาง ชอลกสีเหลือง และสีเขียว
บางครั้งก็มีประโยชนในการใชขีดเสนใตขอ ความสําคัญ อยางไรก็ตาม สีบางสีอยาใชเขียนใหเดนชัดเกินไป
ไหพยายามเขียนไวลวงหนา เพราะมันมีคา สําหรับภาพหรือสิ่งที่ทําขึ้นเปนพิเศษเทานั้น
๕.๗.๒.๘ อยาเขียนสับสน (Do not crowd the work) หัวขอทีเ่ ขียนเวนระยะหางกัน
พอเหมาะ ๒-๓ หัวขอ จะมีผลดีกวาเขียนๆ หัวขอปะปนกัน
๕.๗.๒.๙ ลบขอคามที่ไมเกี่ยวของออกใหหมด เพราะถามีขอความอื่นอยูขางบน
กระดานดํา จะทําใหความสนใจไขวเขวไปจากจุดที่ครูกาํ ลังสอน ใหลบดวยแปรงหรือผา อยาใชมือลบ
๔๖
๕.๗.๒.๑๐ เตรียมเขียนภาพประกอบที่มีความซับซอนไวขางหนา และใชกระดาษปด
ไวและเปดออกเมื่อตองการใช วิธีนี้จะชวยประหยัดเวลาและทําใหการสอนดําเนินไปดวยความราบรื่น
สรุป วิธีใชกระดานดํา มีดงั นี้.-
๑. ตรวจอุปกรณที่จะใชกับกระดานดํา
๒. ตรวจแสงสวาง
๓. ลบกระดานใหสะอาด
๔. เขียนแผนงานไวลว งหนา
๕. เขียนขอความที่เขาใจงายและสั้น
๖. พิมพและเขียนใหสวยงาม
๗. ใชชอลกสีเพื่อเนนและแสดงความแตกตางกัน
๘. อยาเขียนใหสับสน
๙. ลบขอความที่ไมเกี่ยวของออก
๑๐. เตรียมเขียนภาพที่มีความซับซอนไวลวงหนา
๕.๘ กระดานสําลี-แมเหล็ก (Blanket and Lagnetic Board)
เครื่องประดิษฐสําหรับใชแสงชนิดนี้ มีประโยชนอยางยิ่งในการสอนวิm
c o ชาบางวิชา เชน การสนธิกําลัง
รูปขบวน และยุทธวิธีซึ่งตองการใหเห็นภาพที่เคลื่อนไหวได หรือสัg ญลั.กษณที่เคลื่อนที่ได หรือภาพขาว-ดํา
ที่ตัดหรือลอกมา กระดานสําลีสามารถทําไดโดยตรึงผาหมนอนทหาร i g za (สักหลาดขนสัตว) เขากับกรอบ แลว
e oz าลี มันก็จะดูดติดกัน หรือจะทําดวยแผน
.่เปgนโลหะก็ได
หากระดาษทรายอยางหยาบ เมื่อไดสิ่งนี้มาแลวก็เอาไปปะกระดานสํ
w
ประกอบติดหรือโรยผงแมเหล็กใชกับกระดานที
w w
๕.๙ ฟลมภาพยนตรฝก (Trainning Flems )
ฟลมภาพยนตรฝก มีประสิทธิภาพในการอธิบายและการสาธิต แนวความคิดและบทบาทที่ยาก
จะอธิบายในหองเรียนดวยวิธีอื่นใด ภาพยนตรฝกมีประสิทธิภาพในการปลุกอารมณและเปลีย่ นทัศนคติ ทําให
สอนไดเร็ว และไดผลสมบูรณกวาการบรรยาย และสามารถเขาถึงแมกระทั่งนักเรียนผูมีการศึกษานอย ครูควร
ทราบกระบวนการใชภาพยนตรดังตอไปนี้ –
๕.๙.๑ ฉายดูและศึกษาภาพยนตรอยางถี่ถวนเปนการลวงหนา เลือกจุดทีสําคัญที่จะเนน
๕.๙.๒ ตรวจฟลมและอุปกรณกอนเขาหอง ฉายภาพยนตรดเู พียงเล็กนอยเพื่อแนใจไดวา
เปนภาพยนตรที่ตองการและเพื่อแนใจวาอุปกรณทุกอยางจัดไวตามลําดับแลว
๕.๙.๓ เตรียมการดังตอไปนี้
เตรียมหองที่จะฉายภาพยนตรที่จะฉายนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร ทําไมจึงตองฉาย,
ความสําคัญของการรบ, จุดสําคัญที่ตองสังเกต, ความเกีย่ วกับการฝกมาแลว, ความชํานาญและหนาที่
กระบวนการบางอยางที่แสดงใหเห็นความแตกตางระหวางการฉายภาพยนตรฝกและการใชภาพยนตรฝกอยาง
ไดผลในฐานะเครื่องชวยสอน
๕.๙.๔ หยุดภาพยนตรเพื่ออธิบายจุดที่ยากหรือเนนจุดสําคัญ
๔๗
๕.๙.๕ บทบาทนี้ตองติดตาม ตองวางแผนไวใหรอบคอบ รวมถึงการชี้แจงจุดสําคัญที่จะเนน
หรือการทดสอบปากเปลาหรือเขียนสั้นๆ ในบางกรณีครูจะใชวิธีเพื่อเนนกระบวนการและเทคนิคที่แสดงไว
ในภาพยนตร ถาทําได เมื่อฉายภาพยนตรแลวควรจะติดตามดวยการฝกปฏิบัติ ถาเวลาอํานวยควรแนะนําการ
ฝกปฏิบัติติดตอกันไป ดวยการฉายภาพยนตรซ้ําแทนการวิจารณ การไดประสบพบเห็นดวยตนเองไดแสดงให
เห็นวา การเรียนรูและการเก็บเกีย่ วความรูจะมีมากขึ้นอยางเห็นไดชดั เมื่อฉายภาพยนตรซ้ํา และเมื่อมีสวนรวม
ในการฝกปฏิบัติ นักเรียนก็จะรวบรวมขาวสารที่เปนความรูเมื่อเขาไดชมภาพยนตรเปนครั้งที่สอง
๕.๑๐ ฟลมสทริพส (Flim Strips)
ฟลมสทริพสประกอบดวยฟลมภาพยนตรมาตรฐานหลายๆภาพ ซึ่งเปนภาพที่เกี่ยวของกับวิชาแตละ
วิชาการฉายฟลมสทริพสนั้น ตองการใหครูมีบทบาทมากขึ้น จะเปนการดีที่สุดที่จะมีผูชวยจัดการกับเครื่อง
ฉาย เพื่อครูจะไดมีอิสระที่จะอธิบาย และใชไมชี้เพื่อดึงความสนใจของนักเรียนไปยังจุดที่มีลักษณะเฉพาะของ
แตละภาพ ครูสามารถจะหยุดภาพตอนใดในเวลาใดก็ได เพื่อถกแถลงหรือชี้แจงทําความเขาใจจุดทีน่ ักเรียนไม
เขาใจ
๕.๑๑ โอเวอรเฮด โปรเจ็คเตอร (Overhead Projector)
๕.๑๑.๑ เครื่องฉายขามศีรษะซึ่งฉายแผนใสขนาดใหญไปยังจอหรือพื้นผิวหนังที่เรียบ ครูทหาร
ใชกันอยางกวางขวาง และจัดหาไดโดยผานทางศูนยโสตทัศนูปกรณ (หรื
o mอหนวยสนับสนุน) สามารถใชไดทั้ง
ในหองที่มแี สงสวางและหองโลง ๆ เปดโอกาสใหนกั เรียนจดบั g c
.นทึกได ครูสามารถหันหนาเขาหาตัวนักเรียน
ขณะทําการฉาย ทั้งยังเปนการรักษาสัมผัสอีกดวย เทคนิ i g zคaนานาประการนอกจากนี้กอ็ าจนํามาใชเพือ่ เตรียมหา
ozยังสามารถชี้ลักษณะเดนปรากฏบนจอ โดยชี้ไปที่วัตถุหรือ
วัตถุตางๆ ที่จะใชกับเครื่องฉายขามศรีษะนี้ทeั้งครู
ขอความบนเครื่องฉายเองได ww
.g
w า ทํางาย เมือ่ ภาพปรากฏจาบนจอ จะทําใหนกั เรียนอานไดงาย แผนใส
๕.๑๑.๒ แผนใสขาว-ดํ
ชนิดนี้ครูสามารถใชหมึกอินเดียนอิงคเขียนบนแผนอาซิเตท ทั้งราคาก็ไมแพง
๕.๑๑.๓ โดยการใชอาซิเตทชนิดนีพ้ ันเปนมวน และดินสอไข ครูสามารถจะเขียนขอความหรือ
ภาพตางๆ ไดดวยตนเอง
๕.๑๑.๔ แผนใสชนิดตางๆ หาไดโดยผานทางโรงเรียนบริการ (หนวยสนับสนุน) ศูนยเครื่องชวย
ฝก และศูนยโสตทัศนูปกรณ
๕.๑๒ โอเปคโปรเจ็คเตอร (Opaque Projector)
๕.๑๒.๑ เครื่องฉายภาพทึบ ใชฉายไปที่ผนังหรือฉาก ซึ่งขอความที่ไดจากหนังสือคูมือ, คูมือ
ราชการสนาม, หนังสือพิมพรายสัปดาห, หนังสือพิมพรายวัน, วิชากลศาสตร, และสิ่งพิมพอื่นๆ ลักษณะเดน
พรอมสีสันทุกอยาง จะปรากฏบนจอในลักษณะเหมือนของเดิม
๕.๑๒.๒ เครื่องฉายชนิดนี้ มีประสิทธิภาพในการชวยเหลือครูผลิตอุปกรณไดมากมายหลาย
อยาง ตัวอยางภาพโครงอุปกรณของจริงสามารถวาดลงบนกระดาษแข็ง กระดานดํา หรือกระดาษเคลือบ โดย
เพียงวางวัตถุที่เปนตัวอยางหรือสิ่งพิมพตรงตําแหนงขางลางเครื่องฉาย แลวเปดแสงเครื่องฉาย ภาพก็ปรากฏ
เปนภาพโครงออกมา
๔๘
๕.๑๒.๓ วัตถุตางๆ สามารถถายทอดออกมาในขนาดเทาของจริงได โดยเลื่อนเครื่องฉายไปขาง
หลังจนกวาจะไดภาพขนาดตามที่ตองการ เทคนิคอยางนีย้ ังมีประสิทธิภาพในการขยายแผนที่ดว ย
๕.๑๒.๔ ขอเสียของการใชโอเปคโปรเจ็คเตอร ก็คือวา หองฉายจะตองมืดสนิท ดวยเหตุนี้
นักเรียนจึงไมสามารถจดบันทึก และครูก็ประสบความยุงยากในการสังเกตนักเรียน และปฏิกิริยาเฉพาะบุคคล
๕.๑๓ เครื่องฉายภาพยนตร (The ๓๕ mm. Porjector)
สไลดขนาด ๓๕ มม. เปนอุปกรณทที่ รงคุณคา และเมื่อจะหามาใชราคาก็ไมแพง ครูสามารถใช
เครื่องขนาด ๓๕ มม. จากการสะสมเปนสวนตัว หรือสั่งจากรานตัวแทน หรือถายภาพเอง ฟลมสไลดสีขนาด
๓๕ มม. สามารถถายรวมกับแผนใส หรืออุปกรณที่เปนของจริงเพื่อใชย้ําการสอน
๕.๑๔ โตะทราย (Sand Tables)
โตะทรายเปนเครื่องชวยฝกที่มีประสิทธิภาพในทางแสดง หรือวาดภาพใหเปนสถานการณทาง
ยุทธวิธี, โครงราง หรือรูปขบวน วิธีการควบคุม และตัวอยางการรบในประวัติศาสตรโดยการใชนุนหรือสําลี
ชุบสีเขียวแทนพืช สีน้ําเงินแทนทะเลสาบและแมน้ํา ดัดกิ่งไมและโลหะใหโคงงอติดกันแทนสัญลักษณ ๆ เอา
รถถังและปนใหญขนาดเล็กใสเขาไป ใชริบบิ้นแทนวิธีการควบคุม สถานการณทคี่ ลายของจริง สามารถดัด
แปรงขึ้นไดดว ยการใชเงินทุนเยงเล็กนอยเมื่อทําทายใหเปยกชื้นแลวก็สามารถวางแผนทําปญหาตางๆ แปลก ๆ
ได แลวสรุปซ้าํ อีกครั้งหนึ่ง
o m
๕.๑๕ สีและชอลกสะทอนแสง (Flourscent Paint and Chalk)g. c
ผลิตผลพิเศษนี้อาจทําขึน้ โดยใชวัตถุเรืองแสงรiวg
a
มกัzบหลอดแบลคไลทก็ได แสงจะทําใหวตั ถุ
เรืองแสงเปลงรัศมีออกมา ชารท บานเกล็ด e o้งzปญหาบนกระดานดําและการแสดง เปนวิธีที่มี
wช.ีวgิตชีวา
การตั
ประสิทธิภาพในอันที่จะเนนและทําใหเนืw อ้ หามี
๖. การผลิตอุปกรณการสอน (Fabrication w of Training Aid)
มีสิ่งประดิษฐงาย ๆ มากมายที่ครูสามารถนํามาผลิตเครื่องชวยฝกดวยตัวเองได เมื่อมีเวลาจํากัด
ความคิดใหม ๆ ยอมจะพัฒนาไดโดยไมองเตรียมตัว หรืออุปกรณการสอนหาไมไดงาย เพื่อนํามาผลิต
อุปกรณมีดังนี้
๖.๑ ปากกาเคมีชนิดตาง ๆ สําหรับเขียนแผนบานเกล็ด ชารทและวาดภาพ
๖.๒ เลคเตอริงกไกด คือ ตัวอักษรที่ทําเปนชดสําหรับเปนตนแบบในการเขียน
๖.๓ ดินสอไขและปากกาชางเขียนสําหรับวาด เขียนลวดลาย เขียนชารทและใชเขียนแผนใสอาซีเตท
๖.๔ เทปและเครื่องเลนแผนเสียง เมื่อใชเครื่องบันทึกเสียง ครูสามารถเพิ่มพูนการสอนของตนโดย
การบันทึกเรื่องละคร เรื่องนาสนใจและวิธีการแปลกๆมาสอนได อุปกรณการสอนเครื่องบันทึกเสียง หาได
จากการใหหนวยเหนือสนับสนุน
๖.๕ กระดาษและกระดาษสี ชอลกสี สีนา้ํ มัน หมึก และดินสอ ทั้งหมดหาไดงายเพื่อนํามาทําให
ชารท หรือสิ่งที่แสดงมีสีสันขึ้น
๔๙
บทที่ ๘
การเตรียมการสอน
------------------
๑. กลาวนํา
๑.๑ ครุจะตองมีภารกิจในการสอนนักเรียน จึงจําเปนตองเตรียมตัวเอง เพื่อจะเตรียมใหนกั เรียนทีจ่ ะ
รับการสอนของครู
๑.๒ การที่บรรลุความมุงหมายนี้ได ครูจะตองรูหลักและแนวทางในการเตรียมการสอนของตนเอง
๒. การพิจารณาความมุง หมายของบทเรียน
๒.๑ ประการแรก ครูจะตองพิจารณาวาจะตองสอนอะไร การจะสอนอะไรนี้ขึ้นอยูกับวาครูตองการ
ใหนกั เรียนสามารถทําอะไรไดผลลัพธที่เกิดจากการเรียนเหลานี้เรียกวา “ความมุงหมายของบทเรียน” ความ
มุงหมายนี้อาจกําหนดไวอยางกวาง ๆ เมือ่ ครูจะตองสอน อาจจะตองเจาะจงความมุงหมายเปนรายละเอียด
เพิ่มเติมอีก โดยพิจารณาจากเอกสารการฝกตาง ๆ หลักการ วิธีการและทักษะ ของคนที่ไมเคยประสบมา เชน
การฝกหมวดรถถัง จะตองพิจารณาเกี่ยวกับรูปขบวนแขนและมือ การเคลื m ่อนที่ในภูมิประเทศ และทัศน
oครูจึงตองคํานึงวา ตองการใหนกั เรียนรู
. c
aๆ gแลว ความมุงหมายของบทเรียนจะตองกลาวไว
สัญญาณอื่น ๆ เปนตน หลักสําคัญในการพิจารณาความมุงหมาย
อะไร หรือทําอะไรได หลังจากครูไดสอนจบบทเรียนนั
ig z


z
oบรรลุความมุงหมายได
e
อยางชัดแจงเพือ่ ที่จะสามารถดําเนินการสอนให
g
๒.๒ ความมุงหมายของบทเรี w ย.นที่ดี
๒.๒.๑ ตองใหw
w
บรรลุตามเวลาที่กําหนด ความมุง หมายกําหนดใหบรรลุภายในระยะเวลาของ
การสอน “ การใชวัตถุระเบิด” อาจจะกวางเกินไปสําหรับการสอนในระยะสั้น ซึ่งเปนการไมบรรลุความมุง
หมาย แตความมุงหมายของบทเรียนเรื่อง “ การใชแผนบันทึกวัตถุระเบิด” ในทํานองนี้สามารถใชเวลานัน้
บรรลุความมุงหมายได
๒.๒.๒ เจาะจงพฤติการณ ใหนกั เรียนสามารถแสดงใหครูสังเกตเห็นได จะตองกําหนดความ
มุงหมายวา จะใหนกั เรียนทําหรือปฏิบัติอะไรไดเสมอเมื่อจบการสอนแลว เพราะครูไมสามารถรูใจของ
นักเรียนไดวาเขารูอะไร นอกจากจะใหเขาทําหรือปฏิบัติใหครูสังเกตเห็นไดเทานัน้ การกระทํานี้อาจกระทํา
โดยถามใหตอบ หรือใชขอเขียนทดสอบ อาจใหปฏิบัติเพื่อสังเกตทักษะของนักเรียนก็ได
๒.๒.๓ กําหนดมีภาวะในการปฏิบัติ การกําหนดภาวะการปฏิบัติอยางถูกตอง ครูควรตอบ
คําถามตาง ๆ ตอไปนี้
๒.๒.๓.๑ จะกําหนดอะไรใหนกั เรียน
๒.๒.๓.๒ นักเรียนจะไมรับรูเรื่องอะไร
๒.๒.๓.๓ จะกําหนดสภาวะอยางไรจึงจะบรรลุเปาหมาย
๒.๒.๓.๔ จะพัฒนาทักษะอะไรเพิ่มเติมอีก
๕๐
๒.๒.๔ กําหนดมาตรฐานที่ตองการ เปนการเจาะจงวาจะใหนกั เรียนสามารถทําอะไรไดมาก
นอยเพียงใด โดยยึดถือหลัก ๔ ประการ ในขอ ๒.๒.๓
๓. พิจารณาเนื้อหาเรื่องที่สอน
๓.๑ วิเคราะหเรื่องที่สอน
๓.๑.๑ เมื่อกําหนดความมุงหมายแลวจะตองพิจารณาวาทักษะความรูอะไรที่จะตองใหนักเรียน
ปฏิบัติจึงจะบรรลุความมุงหมายนั้น ซึ่งเปนการแบงแยกความมุงหมายออกเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ
๓.๑.๒ เมื่อไดหวั ขอลําดับขั้นการสอนแลว จึงหาขอปลีกยอยที่จําเปนประกอบเพิ่มเติมยิง่ ขึ้น
อาจจะเปนหลักการ วิธีการ และเรื่องอืน่ ๆ เพื่อใหสมบูรณในแตละขั้นตอนนัน้ ๆ เรื่องตาง ๆ อาจจะหา
ประสบการณ และหลักฐานอื่น ๆ
๓.๑.๓ ในการเพิ่มเติมหัวขอสําคัญนี้ อาจจะมีตวั อยาง ภาพประกอบ ขอเปรียบเทียบซึ่งจะทํา
ใหเรื่องที่สอนนาสนใจมากยิง่ ขึ้น
๓.๒ หาวิธีเฉพาะที่จะเพิ่มหัวขอการสอน วิธีตาง ๆ อาจจะเปนตัวอยาง หลักฐานอางอิงสถิติและอื่นๆ
ใหมีความสมจริงยิ่งขึ้น
๔. พิจารณาวิธีดําเนินการสอน
๔.๑ การจัดลําดับเรื่องที่สอน
om
๔.๑.๑ ดําเนินเรื่องที่ตองลําดับเวลา ตองจัดเวลาตามลําดัg บ.c
๔.๑.๒ ทําหลักฐานตามลําดับใหเหมาะสมกับการสอน i g za
oz ยดและสรุป
๔.๑.๓ กลาวเรื่องกวางๆ กอนแลวจึงgกลeาวรายละเอี
w .่องที่ยาก
w
๔.๑.๔ พิจารณาเรื่องที่งา ย ไปหาเรื
w
๔.๑.๕ การอธิบายภาพประกอบตองลําดับทางใดทางหนึ่ง เชน จากซายไปขวาหรือจากลาง-บน
เปนตน
๔.๒ วิธีและเทคนิค ใชวิธแี ละเทคนิคที่จะทําใหนักเรียนเขาใจงาย
๔.๒.๑ แบงขั้นตอนออกเปนขอยอย
๔.๒.๒ ใหนักเรียนมีสว นรวมทุกขั้นตอน
๔.๒.๓ มีความตอเนื่องดี
๔.๒.๔ ทุกเรื่องที่ใหปฏิบัติตองแนใจวาปฏิบัติไดสําเร็จ
๔.๒.๕ มีการแกไขขอบกพรองที่เกิดขึ้น
๔.๒.๖ เลือดวิธีที่สามารถควบคุมการเรียนของนักเรียนใหไดมากที่สุด
๕. การเตรียมแผนบทเรียน
๕.๑ แผนบทเรียนเปนหลักฐานที่ครูจัดทําขึ้น เพื่อเปนคูม ือในการสอนแตละบทเรียน ประกอบดวย
เรื่องทางธุรการ เกี่ยวกับบทเรียนซึ่งเปนสวนตัว หัวขอสําคัญในการสอน ซึ่งมีทั้งขอใหญและขอยอย
๕.๒ การใชแผนบทเรียน
๕.๒.๑ เปนหลักฐานบันทึกการสอน
๕๑
๕.๒.๒ เปนแนวทางการสอน
๕.๓ ชนิดของแผนบทเรียน
๕.๓.๑ ชนิดหัวขอ วลี หรือคํา
๕.๓.๒ ชนิดประโยค
๕.๓.๓ ตอนยอหนา
๖. การซอม
๖.๑ ซักซอมทุกขั้นตอนตามลําดับ
๖.๒ ผูชวยครูตองไดรับการซักซอมเชนเดียวกับการสอนจริง
๖.๓ ผูฟงควรมี ๑ คน หรือมากกวาก็ได แตตองเปนผูที่มีความรูพอที่จะปรับปรุงแกไขการสอนได
๖.๔ ถาไมมีเวลาพอที่จะซอมทุกขั้นตอนทัง้ หมดได ก็จดั ซอมเฉพาะหัวขอที่สําคัญ ๆ
๗. การตรวจสอบครั้งสุดทาย
๗.๑ ตรวจอุปกรณทุกอยางที่จะใชในการสอน
๗.๒ ที่นั่ง แสงสวาง
๗.๓ แนใจวาผูชวยครูรูหนาที่ของตน
๗.๔ เครื่องชวยฝกทุกชนิด ตองพรอม
om
๗.๕ แผนบทเรียน หลักฐานการสอนตาง ๆ พรอม g. c
a
๗.๖ การแตงกายของครู และผูชวยครู เรียบรigอzย
e oz
w .g
w w

----------------------------------------------
๕๒
ตัวอยางแผนบทเรียน
เรื่อง แผนบทเรียน
ชนิดการสอน สอนเชิงประชุมและฝกสอน
เวลาสอน ๕๐ นาที
นักเรียน กอง ทม.ร.๑ รอ.
เครื่องมือ อุปกรณผนวก
ครู น. ๑ นาย, ส. ๒ นาย
อุปกรณการสอน ผนวก
หลักฐาน รส.๒๑ - ๖ บทที่ ๑๑
งานมอบ ศึกษาตามหลักฐานที่กําหนด
การแตงกายและอุปกรณ ตามตารางกําหนดการฝก
ลูกมือ ไมมี
ยานพาหนะ ไมมี
๑. กลาวนํา
om
g .c
๑.๑ ความมุง หมาย เพือ่ ใหนกั เรียนมีความรูเกี่ยวกับการวางแผนการสอน และสามารถทําแผน
บทเรียนอยางงายๆ ไดถูกตอง i g za
๑.๒ ครูจะมีความรูดี หรือรูจ ักเทคนิคการสอนดี e oเzพียงไรก็ตาม หากขาดการเตรียมการสอนเสียแลว ก็
จะไมมีโอกาสประสบผลสําเร็จในการสอนเลย w .เพืg่อใหบรรลุผลสมความมุงหมาย ผูจะเปนครูที่ดจี าํ เปนตอง
ศึกษาขั้นตอนตาง ๆ ในการเตรียมการสอน wwดังนี้
๒. อธิบาย (สอนเชิงประชุม ๕๐ นาที)
๒.๑ ขั้นตอนตางๆ ในการเตรียมการสอน
๒.๑.๑ จัดดําลับเนื้อเรือ่ งที่จะสอน
๒.๑.๑.๑ จัดเนื้อเรื่องทีท่ ันสมัย จากหลักฐานที่เชื่อถือได
หมายเหตุ แสดงชารท หมายเลข (๑)
๒.๑.๑.๒ ประมาณสถานการณ
๒.๑.๑.๒.๑ วิเคราะหบทเรียน
๒.๑.๑.๒.๒ ภารกิจ
๒.๑.๑.๒.๓ จํานวนครู
๒.๑.๑.๒.๔ ความตองการอุปกรณการสอน
๒.๑.๑.๒.๕ เวลาที่ใชสอน
๒.๑.๑.๒.๖ สภาวะการฝก
๒.๑.๑.๒.๗ การดําเนินการฝก
๕๓
๒.๑.๑.๒.๘ ปญหาอื่นทีเ่ กี่ยวของ
๒.๑.๑.๓ บรรยาย
หมายเหตุ แสดงชารท หมายเลข (๒) และ (๓)
๒.๑.๑.๓.๑ ขอดี
๒.๑.๑.๓.๒ ขอเสีย
๒.๑.๑.๔ สอนเชิงประชุม
หมายเหตุ หมายเหตุ แสดงชารท หมายเลข (๔)
๒.๑.๑.๔.๑ ขอดี
๒.๑.๑.๔.๒ ขอเสีย
๒.๑.๑.๕ เชิงแสดง
หมายเหตุ แสดงชารท หมายเลข (๕)
๒.๑.๑.๕.๑ ขอดี
๒.๑.๑.๕.๒ ขอเสีย
๒.๑.๒ ซอมทดลอง
หมายเหตุ แสดงชารท หมายเลข ๑–๕
om
๒.๑.๒.๑ สมบูรณ g .c
๒.๑.๒.๒ ซักซอมผูชวยครู igz
a
๒.๑.๒.๓ จัดผูฟง ๑ คนeo
z
.g
หรือมากกวานี้
๒.๑.๒.๔ พูwดเชwนเดี่ยวกับสอน
w ขั้นสุดทาย
๒.๑.๓ ตรวจสอบครู
หมายเหตุ แสดงชารท หมายเลข ๑–๑๓
๒.๑.๓.๑ อุปกรณหองเรียน
๒.๑.๓.๒ ที่นั่ง แสงสวาง การถายเทอากาศ
๒.๑.๓.๓ อุปกรณการสอน
๒.๑.๓.๔ ซักซอมผูชวยครู
๒.๑.๓.๕ เอกสารแจกจาย
๒.๑.๓.๖ แผนบทเรียน
๒.๑.๓.๗ การแตงกาย
๒.๒ แผนบทเรียน
๒.๒.๑ ความมุงหมาย
หมายเหตุ แสดงชารท หมายเลข ๑๔–๒๑
๒.๒.๑.๑ ลําดับขั้นตอนที่เหมาะสม
๒.๒.๑.๒ เลือกเรื่องที่สอนอยางดี
๕๔
๒.๒.๑.๓ แบงเวลาใหอยางเหมาะสม
๒.๒.๑.๔ เลือกวิธีการสอน
๒.๒.๑.๕ การใชอุปกรณการสอนดี
๒.๒.๑.๖ เปนหลักฐานในการสอน
๒.๒.๑.๗ เปนแนวทางการสอนของครู
๒.๒.๒ ชนิดของแผนบทเรียน
หมายเหตุ แสดงชารท หมายเลข ๒๒–๒๕
๒.๒.๒.๑ หัวขอ
๒.๒.๒.๒ ประโยคขอความ
๒.๒.๒.๓ ตอนยอหนา
หมายเหตุ จายตัวอยางแผนบทเรียน
๒.๒.๓ การทําแผนบทเรียน
๒.๒.๓.๑ สวนหัว
๒.๒.๓.๒ หัวขอการสอน
๒.๒.๓.๓ ผนวก
om
๒.๒.๔ การใชแผนบทเรียน g .c
หมายเหตุ แสดงชารท หมายเลข ๒๖–๒๙ i g za
๒.๒.๔.๑ ไมเกาะแผนบทเรียนeo
z
๒.๒.๔.๒ เปนหลักw
.g
ใชบwันทึกการสอน
w อนใช
๒.๒.๔.๓ ตองทบทวนก
๓. ทบทวน (สอนเชิงการประชุม ๓ นาที)
๓.๑ ทําความเขาใจปญหาที่เขาใจยาก
๓.๒ สรุป
๓.๒.๑ ขัน้ การเตรียมการสอน
๓.๒.๒ แผนบทเรียน

..................................
๕๕
บทที่ ๙
การประเมินผล
---------------
๑. กลาวนํา
๑.๑ การประเมินผล เปนขัน้ ที่มีความจําเปนในกระบวนการสอนขั้นหนึ่ง ซึ่งประกอบดวยวิธีตาง ๆ
ที่สามารถจะทําใหครูและนักเรียน ทราบความกาวหนาในการสอนและการเรียนของตน
๑.๒ การประเมินผล เปนกระบวนการตอเนื่องของการเรียนการสอน ครูจะตองประเมินผลการเรียน
และการสอนอยางตอเนื่อง เพื่อทราบขอบกพรองตางๆ ของบทเรียนและวิธีการสอนของครู
๒. นิยามทรัพย
๒.๑ การทดสอบ หมายถึง กระบวนการที่เราใชทุกคําถาม เราใหผูถูกทดสอบแสดงปฏิกิริยาตอบโต
ออกมา หลังจากจบการสอนบทเรียนใดบทเรียนหนึ่งแลว ผลของการทดสอบที่ไดมักจะมีคาเปนตัวเลขมาก
นอย แทนลักษณะของผูถูกทดสอบในแตละเรื่องนั้น
๒.๒ การวัดผล เปนคําที่มีความกวางขวางกวาการทดสอบ m ซึ่งหมายถึงกระบวนการวัดคุณลักษณะ
o วิธีสังเกตสัมภาษณ หรืออื่น ๆ
ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือของบุคคลโดยไมจํากัดวิธี เชน อาจใชวิธ.ีกcารทดสอบ
g
ที่สามารถใชขอมูลเกี่ยวกับลักษณะที่ตองการจะวัดไดgza
z i
e
๒.๓ การประเมินผล หมายถึง กระบวนการพิ o จารณาตัดสินใจในขอมูลที่วัดไดจากการวัดวาเปนไป
ตามความประสงคหรือถูกตองมากนw อยเพี
g
. ยงไร
๓. ความมุงหมายของการทดสอบ wwการทดสอบกระทําเพื่อวัตถุประสงค ๔ ประการ
๓.๑ เพื่อชวยในการปรับปรุงในการสอน
๓.๑.๑ ขอบกพรองในการเรียน ขอสอบที่จัดทําขึ้นอยางเหมาะสมจะเปนเครื่องชี้ใหเห็น
ขอบกพรอง และความเขาใจผิดในการเรียนถามีการทดสอบบอย ๆ ครั้ง ก็ยิ่งทราบขอบกพรองยิ่งขึ้น และ
สามารถแกไขดวยการสอนซ้ําในเรื่องนั้น ๆ ได
๓.๑.๒ เนนหัวขอสําคัญ การทดสอบเปนอุนายของการสอนที่มีคุณคายิ่ง ซึ้งจะทําใหนกั เรียน
จดจําไดนาน และมีความเขาใจในเรื่องที่ทดสอบเหลานัน้ ดียิ่งขึ้น การสอบเปนการสงเสริมทั้งนักเรียนและครู
ในการที่จะทบทวนเรื่องตางๆ ที่ทดสอบไปแลวและจัดขึ้นตอนการสอนเพื่อใหเกิดทักษะ เทคนิค และความรู
๓.๑.๓ ประเมินผลการสอน การสอบไมเปนเพียงแควัดผลการเรียนของนักเรียนเทานัน้ แตยัง
เปนการวัดผลการสอนของครูอีกดวย ผลของการสอบจะทําใหครูสามารถประเมินความมีประสิทธิภาพที่
เกี่ยวกับวิธีสอน เทคนิคตาง ๆ ของตนไดเปนอยางดี
๓.๒ เราใจตอการเรียน
๓.๒.๑ นักเรียนจะเรียนดีขึ้นเมื่อรูวาจะมีการสอน ตัวอยางเชน นักเรียนจะสนใจอยางจริงจัง
๕๖
ตอภาพยนตฝก และยิ่งถารูว าหากจบแลวจะมีการสอบ โดยทัว่ ไปแลวครูที่ใหมีการสอบบอย ๆ จะเห็นวา
นักเรียนจะมีความกระตือรือรน และสนใจเรียนยิ่งขึ้น
๓.๒.๒ แตอยางไรก็ตาม ก็ยังมีผลเสียในการเนนการสอบมากเกินไป หากถือเอาผลของการ
สอบเปนเครื่องเราตอการเรียนเปนหลักแลว จะทําใหนกั เรียนที่สนใจแตเฉพาะคะแนนสอบ มุงที่จะเรียนเพื่อ
สอบใหไดคะแนนดีอยางเดียว โดยไมคาํ นึงถึงคุณคาในอนาคต ดังนั้นครูควรจะใหมีการสอบอยางเขมงวด
และสอบบอย ๆ โดมีวัตถุประสงคใหนกั เรียนนําเอาเรื่องที่เรียนมาแลวนําไปใชได
๓.๓ เปนหลักในการกําหนดระดับการเรียน
๓.๓.๑ ความมุงหมายอีกประการหนึ่งในการสอบ ก็เพื่อทราบวานักเรียนคนใดไดมาตรฐานใน
เกณฑต่ําสูง หรือไมไดมาตรฐานเลยในหลายกรณีการสอบจะเปนเครื่องชี้ใหเห็นวานักเรียนคนใดมีมาตรฐาน
สูงกวา หรือต่าํ กวาที่กําหนดไว
๓.๓.๒ นักเรียนเรียนวิชาตาง ๆ หลายวิชา คะแนนที่บันทึกของแตละคนจึงเปนดัชนีที่ถูกตอง
ของวิชาที่เรียนนั้นดวย เหตุนี้การสอบจึงเปนเครื่องวัดความสําเร็จของนักเรียน
๓.๔ เปนหลักในการเลือกแนะแนว
๓.๔.๑ ครูยอมรูดีถึงการสอบที่จะจําแนกประเภทของนักเรียน และคัดเลือกบรรจุตามตําแหนง
หนาที่ที่เหมาะสม ยิ่งกวานั้นผลของการสอบยังเปนการคัดเลือก และแนะแนวทีm ่ถูกแกบุคคลไดเปนอยางดี
c o
บ. ัติของนักเรียนไดอยางถูกตองผลการ
๓.๔.๒ การสอบที่ไดกระทําอยางดี สามารถวัดการปฎิ g
สอบจะเปนสิ่งที่มีคายิ่งในการพิจารณาวา นักเรียนคนนี้จะตig zaย่ นหนาทีก่ ารงานใหมหรือยังตองการที่จะ
องเปลี
oz งขึ้น
รับการฝกตอไปอีก หรือเสนอแนะใหทํางานที่ตองใชeความสามารถสู
w .g
w w สรุป
ความมุงหมายของการทดสอบ
๑. เพื่อชวยในการปรับปรุงการสอน
๒. เราใจตอการเรียน
๓. เปนหลักในการกําหนดระดับการเรียน
๔. เปนหลักในการเลือก – แนะแนว

๔. แบบของการประเมินผล
แบบในการประเมินผล แบงไดเปน ๓ ประเภทใหญ ๆ ก็คือ การทดสอบขอเขียน การทดสอบ
ปฏิบัติ และการประเมินคาดวยการสังเกต แตละประเภทยอมจะมีวธิ ีการใชประโยชน และขอบเขตจํากัด
โดยเฉพาะของมันเอง สําหรับการสอนในทุก ๆ ดาน เทคนิคทั้งหมดอาจจะตองนํามาใช
๔.๑ การทดสอบขอเขียน การทดสอบขอเขียนสามารถที่จะนํามาใชในการวัดความรูทักษะและ
ความสามารถของนักเรียนไดเปนอยางดี การสอบขอเขียนชนิดใหตอบสั้น ๆ เปนสิ่งที่มีคุณคายิ่งในการวัด
ความรูของนักเรียน ในบทเรียนที่สอนไดเปนจํานวนมาก จะเปนอยางไรก็ตามการสอบขอเขียนก็เปนเพียงการ
๕๗
วัดทักษะโดยทางออมเทานั้น ดังนัน้ จะเห็นวาในการกําหนดการฝกของกองทัพบกมักจะระบุใหมีการทดสอบ
ปฏิบัติดวย แบบตางๆ ของการทดสอบขอเขียนจะไดกลาวในโอกาสตอไป
๔.๒ การทดสอบปฏิบัติ การสอบปฏิบัติเปนการวัดนักเรียนวาสามารถทําหรือปฏิบัติในสิ่งที่
มอบหมายนัน้ ๆ ไดเพียงใด เชน อาจใหปรนนิบัติบํารุง ซอมถอดประกอบอาวุธยุทโธปกรณอยางใดอยางหนึ่ง
และมีการตรวจสอบความเร็ว คุณภาพของงาน และปฏิบัติเปนการวัดทักษะและความสามารถที่จะนําความรู
มาใชในการปฏิบัติภารกิจ ประโยชนของการทดสอบปฏิบัติมีดังนี้
๔.๒.๑ เปนวิธีโดยตรงที่สุดจะพิจารณาวา นักเรียนสามารถปฏิบัติภารกิจนั้นๆ ไดเพียงใด
นักเรียนที่สอบขอเขียนมาไดอยางงายดาย อาจจะทําผิดพลาดหลายอยาง เมื่อมอบภารกิจใหทําจริง ๆ
๔.๒.๒ เปนการทดสอบที่เห็นไดงายกวาการสอบแบบอื่นๆ โดยเฉพาะเรื่องที่ยาก ๆ ที่นักเรียน
จะตองประสบเมื่อกระทําดวยตนเอง และครูสามารถตรวจสอบเพิ่มเติมไดดังนี้
๔.๒.๓.๑ ใชเครื่องมืออยางประสิทธิภาพหรือไม
๔.๒.๓.๒ สังเกตขอพึงระวังเกี่ยวกับความปลอดภัยที่จําเปนหรือไม
๔.๒.๓.๓ ปฏิบัติตามขั้นตอนหรือไม
๔.๒.๓.๔ สามารถปฏิบัติภายใตความกดดันหรือไม
๔.๒.๓.๕ ระมัดระวังในการใชเครื่องมือเหมาะสมหรื
o m อไม
๔.๓ การสังเกต ถาปญหาที่จะประเมินคานักเรียนเกีgย่ วกั c
. บการเปนผูนาํ ผูสังเกตจะตองดูนักเรียยนใน
สถานการณตางๆ ที่เขาแสดงความสามารถในการเปiนgผูz
a
น ําออกมา เชน การใชคําสั่งการอํานวยการตอหนวย
ขนาดเล็ก การตัดสินตกลงใจในทํานองเดียe
z
วกัoน การพิจารณาความสามรถของนักเรียนทีจ่ ะเปนครู ก็ตอง
w .ๆgกัน การสังเกตและเทคนิคการสังเกต เปนสิ่งจําเปนและสําคัญมาก
สังเกตเรื่องควบคุมชั้นภายในสภาวะต
w w าง
จึงจะไดกลาวในโอกาสตอไป
๕. ลักษณะของขอสอบที่ดี
ปจจัยสําคัญทีจ่ ะทําใหการสอบมีคุณภาพนัน้ ประกอบดวยปจจัย ๖ ประการ ซึ่งไมสามารถแยกออก
จากกันได จะตองนํามาพิจารณารวมกันทัง้ หมด ปจจัยเหลานี้ ไดแก
๕.๑ มีความเที่ยงตรงถูกตอง ลักษณะสําคัญที่สุดของการสอบที่ดี คือ ความเที่ยงตรงถูกตอง
หมายความวา สามารถวัดในสิ่งที่เราตองการจะวัด ผูท ี่มีความสามารถจริงในเรื่องที่วัดจะสามารถทําคะแนน
ไดดีในเรื่องนัน้ การสรางขอทดสอบที่ไมความเที่ยงตรงถูกตอง ปฏิบัติดงั นี้
๕.๑.๑ ยึดถือความมุงหมายของบทเรียนเปนหลักในการทดสอบ นั่นก็คือ จะตองจัดทําขอสอบ
ในเรื่องที่สอนมาแลว
๕.๑.๒ บทวนขอทดสอบ และทําขอสอบโดยครูคนอื่น
๕.๑.๓ เลือกแบบ และประเภทของการทดสอบอยางเหมาะสมที่สุด เชน ครูตองการจะวัด
ความสามารถในการปฏิบัติ ก็ตองเลือกแบบทดสอบซึ่งนักเรียนจะตองแสดงความสามารถในการปฏิบัติ
ถาใชวิธีอื่นผลที่ไดจะตองนอยลง
๕๘
๕.๑.๔ บอกวัตถุประสงคของขอทดสอบใหชัดเจน ไมมีลักษณะคลุมเครือ ถานักเรียนไม
สามารถเขาใจปญหาในขอทดสอบอยางถูกตอง ก็ไมสามารถจะตอบไดอยางถูกตองทัง้ ๆ ที่เขามีความรูใน
เรื่องนั้นเปนอยางดี ขอทดสอบเชนนี้ยอมจะขาดความเที่ยงตรงถูกตอง
๕.๑.๕ ขจัดปจจัยซึ่งไมเกี่ยวของโดยตรงกับการวัดผล หัวขอการสอบที่สําคัญออกใหหมดที่จะ
สามารถทําได ขอทดสอบที่ตองใชความรวดเร็วในการอาน อาจจะไมเที่ยงตรงถูกตองสําหรับผูอานระดับปาน
กลางก็เปนได
๕.๒ มีความเชื่อถือได การสอบที่จะเชื่อถือไดนั้น ผลการสอบจะตองไดผลเหมือนกันทุกครั้งที่มีการ
สอบ คือ เสมอตนเสมอปลาย ขอสอบชนิดนี้เมื่อนําไปใชสอบเมื่อไร ผลที่ไดรับทําใหคนที่เกงไดคะแนนสูง
และคนที่ออนไดคะแนนต่ํา ถาเปนเชนนีเ้ สมอไป ยิ่งถือวาเปนขอสอบที่มีความเชื่อถืออยูในเกณฑสูง ปจจัย
ตอไปนี้ จะชวยใหขอทดสอบมีความเชื่อถือไดมากยิ่งขึ้น
๕.๒.๑ การดําเนินการ เปนความจําเปนยิ่งที่นกั เรียนแตละคนจะตองมีเวลา อุปกรณคําแนะนํา
ผูชวย และสภาพแวดลอม การสอบเชนเดียวกัน คําสั่งชี้แจงในการทําขอสอบจะตองเจาะจงโดยเฉพาะ
๕.๒.๒ การใหคะแนน การใหคะแนนตองเชื่อถือได ขอทดสอบจะตองพยายามทุกทางที่จัดทํา
เปนแบบใหคะแนนอยางเปนมาตรฐาน
๕.๒.๓ มาตรฐาน มาตรฐานการปฏิบัติของนักเรียนกลุมหนึ่ง m ควรมีลักษณะเชนเดียวกันกับ
.c o
นักเรียนอีกกลุม หนึ่ง g
i g za
๕.๒.๔ การสอบ การเชื่อถือการสอบจะลดลง หากการสอนของกลุ มหนึ่ง ครูเนนหัวขอสําคัญใน
เo
z
การสอนมากเกินไป ซึ่งเรียกกันวา สอนขอสอบ อันไม
.g e ปนสิ่งพึงประสงคอยางยิ่งการสอนครูควรจะเนนหัวขอ
สําคัญในแตละบทเรียน ตามความมุงหมายเท w wานั้น การที่ครูสอนแตขอสอบไมเพียงแตทําใหผลการทดสอบ
w น่ ประมาทเชาวปญญาของนักเรียนอีกดวย
ขาดความเชื่อถือเทานั้น แตยังเปนการหมิ
๕.๒.๕ ความยาว ยิ่งตองการใหนกั เรียนตอบมากเทาไร ความเชื่อถือก็ยิ่งจะตองบังเกิดมากขึ้น
เทานั้น
๕.๓ มีความเปนปรนัย ขอทดสอบที่เปนปรนัย หมายถึง ขอทดสอบที่ความคิดเห็นของครู ความอคติ
หรือการตัดสินพิจารณาแตละบุคคลไมเปนปจจัยสําคัญในการใหคะแนนขอทดสอบบางประเภท เชน ขอเขียน
ที่ตรวจดวยเครื่องเปนขอทดสอบที่มีความเปนปรนัยสูงขอสอบประเภทอื่น เชน บรรยาย การปฏิบัติ ขอความ
และการใชเทคนิคสังเกต ยอมจะมีความเปนปรนัยลดนอยลงบาง บางครั้งการสังเกตเปนวิธีการเดียวเทานั้นที่
จะนํามาพิจารณา เชน ในการฝกครูบางขั้นตอน ครูตองใชการสังเกตเทานัน้ ซึ่งเสมือนเปนแบบปรนัย
หมายถึง แบบทดสอบที่มีคุณสมบัติ ๓ ประการ คือ
๕.๓.๑ คําถามตองมีความชัดเจน คือ เขียนใหมีความเขาใจงาย ไมตองตีความไดหลายมุม
๕.๓.๒ การใหคะแนนหรือตัดสินผิด-ถูก ตองเปนมาตรฐานคงที่ไมวาจะตรวจกี่ครั้งหรือใครเปน
ผูตรวจ
๕.๓.๓ การแปลความหมายของคะแนนอยางเปนเดียวกัน
๕๙
๕.๔ มีอํานาจจําแนกสูง ขอทดสอบจะตองทําขึ้นในลักษณะที่จะพบ หรือวัดความแตกตางเล็ก ๆ
นอย ๆ ในความสําเร็จ เรื่องนี้เปนสิ่งจําเปนยิ่งถาทดสอบจะตองนํามาใชในการจัดระดับของนักเรียน โดย
ยึดถือความสําเร็จของบุคคลเปนหลัก หรือเปนการบันทึกผล แตจะไมมีความหมายสําคัญเลยถาขอสอบนั้น
จะนํามาใชเพือ่ วัดระดับของนักเรียนทั้งชั้น หรือเปนเพียงการสอบยอยซึ่งมีความมุง หมายเพียงเพือ่ เปนการ
สอนมากกวาการวัดผล ความเที่ยงตรงและถูกตอง ความเชื่อถือได ความเปนปรนัย และความมีอาํ นาจจําแนก
สูงของขอทดสอบจะเพิ่มยิ่งขึ้น โดยการพิจารณา และปรับปรุงประเภทของขอทดสอบแตละประเภท ภายหลัง
การทดสอบแลว การวิเคราะหหวั ขอการสอบจะแสดงใหเห็นความยากงายของแตละขอ และชวงความ
แตกตางระหวางนักเรียนเกง และนักเรียนออนมีอยูบอยครั้ง เมื่อตองการที่จะใหไดรับความเชื่อถือ จําเปน
จะตองเพิ่มความยาวของขอทดสอบ เพื่อใหเห็นความแตกตางมากยิ่งขึ้น การใหเกิดมีอํานาจจําแนกสูง
ขอทดสอบจะตอง
๕.๔.๑ มีชวงหางของคะแนนแตกตางกันอยางเห็นไดชัดเจน
๕.๔.๒ มีขอสอบ ยาก-งาย รวมกันอยูทุกระดับ ขอสอบบางขอจะมีความยากและตอบไดเฉพาะ
นักเรียนที่ดีทสี่ ุดเทานั้น บางขอจะงายพอที่นักเรียนสวนมากสามารถตอบไดถูกตองถาขอใดนักเรียนตอบถูก
ทุกคน ขอนั้นก็ขาดในเองแตกตางกัน
๕.๕ ออกทั่วที่สอน การออกทั่วที่สอนไมไดหมายความวาจะตm องออกทุก ๆ เรื่อง ในบทเรียนที่สอน
c o
.าเร็จของนักเรียนไดอยางเทีย่ งตรงถูกตอง
แตควรออกเรือ่ งที่สําคัญๆ ของบทเรียน เพือ่ ใหสามารถวัดความสํ
a g
๕.๖ สะดวกในการใช ขอทดสอบจะตองจัig ดทํzางาย ใหคะแนนไดงา ย และงายในการตีความหมาย
z บัติดวย
.g eo
การทดสอบควรจะใหมกี ารประเมินความสามารถในการปฏิ
w w
w สรุป
ลักษณะขอทดสอบที่ดี
๑. มีความเทีย่ งตรงถูกตอง
๒. มีความเชื่อถือได
๓. เปนแบบปรนัย
๔. มีอํานาจจําแนกสูง
๕. ออกไดทวั่ ที่สอน
๖. สะดวกในการใช

๖. ชนิดของขอทดสอบ แบบทดสอบที่ใชกันทั่วไปมี ๒ ชนิด


๖.๑ แบบทดสอบอัตนัยเปนแบบทดสอบที่ผูตอบคําถามหรือปญหา ดวยการเขียนบรรยายมาก ๆ ใน
เวลาที่กําหนดให, ขอสอบแบบนี้จะมีจํานวนนอยขอ ลักษณะคําถามจะเปนขอความสัน้ ๆ
๖๐
๖.๒ แบบทดสอบปรนัย เปนแบบทดสอบที่กําหนดใหสั้นๆ หรือเลือกตอบ ขอสอบเหลานี้ มีหลาย
รูปแบบ เชน ถูก-ผิด, จับคู, เลือกคู, เติมคําหรือขอความ, กรอกรายการ, ใหความหมาย

.....................................

om
g .c
ig za
z
.g eo
w w
w

Vous aimerez peut-être aussi