Vous êtes sur la page 1sur 86

โรคติดเชือ้ เฉียบพลัน

ระบบหายใจในเด็ก
* โรคติดเชือ้ เฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ( acute
respiratory tract infection in children – ARIC)
พบบอยทั้งในประเทศที่กําลังพัฒนา และ พัฒนาแลว
* เปนสาเหตุที่ทําใหเด็กอายุต่ํากวา 5 ป มีอัตราปวย
และ อัตราตายสูงสุด
* ผูปวยบางรายที่รอดชีวิตอาจจะมีความผิดปกติของ
ระบบหายใจตามมา เชน หลอดลมโปงพอง
หลอดลมอักเสบเรื้อรัง หรือ ความผิดปกติระบบอื่น
เชน สมองพิการ
* โรคติดเชือ้ เฉียบพลันระบบหายใจ หมายถึง โรคติด
เชือ้ ตั้งแตชองจมูกจนถึงถุงลมในปอดแบบเฉียบพลัน
มีอาการไมเกิน 4 สัปดาห
* โรคติดเชือ้ เฉียบพลันระบบหายใจสวนบน หมายถึง
การติดเชื้อตั้งแตชองจมูกถึงเหนือกลองเสียง
* โรคติดเชือ้ เฉียบพลันระบบหายใจสวนลาง หมายถึง
การติดเชื้อตั้งแตสวนบนหลอดลมจนถึงถุงลมในปอด
Upper

Lower
การติดเชือ้ ทางเดิน
หายใจสวนบน
1. โรคหวัด (common cold)

* การติดเชื้อทางเดินหายใจสวนบนที่มีอาการไมรุนแรง
ไดแก คัดจมูก น้ํามูกไหล ไอ จาม เจ็บคอ ไขต่ํา ๆ
* โดยเฉลี่ยเด็กมีโอกาสเปนหวัด 6 – 8 ครั้งตอป และ
พบนอยลงเมื่อเด็กโตขึ้น มีรายงานวาเปน 12 ครั้งตอป
10 – 15%
* เด็กที่เลี้ยงใน day care center มักเปนหวัดบอยกวา
สาเหตุ และ ระบาดวิทยา
* มักเกิดจากเชื้อไวรัส เชน rhinovirus, coronavirus
* มักพบในฤดูกาลที่มีอากาศเย็น ความชืน้ สัมพัทธต่ํา
เชน ฤดูหนาว (เนื่องจากอุณหภูมิเหมาะสมตอการ
เติบโตของไวรัส และ เยื่อบุจมูกแหงมีโอกาสติดเชื้อ
ไวรัสไดงาย)

Rhinovirus Coronavirus
ลักษณะอาการทางคลินิก
* โดยทั่วไปมักเกิดอาการมากที่สุดหลังรับเชือ้ 1 - 3 วัน
* น้ํามูกใสในวันแรก ๆ ตอมาอาจเปลี่ยนเปนสีเขียว
เนื่องจากการตอบสนองของรางกายตอการกําจัดเชื้อ
(น้ํามูกสีเขียว หรือ เหลืองจึงไมจําเปนตองมีการติด
เชือ้ แบคทีเรียแทรกซอนเสมอไป)
* คัดจมูก จาม ไอ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตัว ตาแดง
* อาการเหลานี้มักเปนอยู 2 – 7 วัน (ถาเปนนานเกิน 2
สัปดาห อาจมีภาวะภูมแิ พ, ไซนัสอักเสบ หรือ ติดเชื้อ
แบคทีเรียรวมดวย)
การตรวจทางหองปฏิบัติการ
* สามารถวินิจฉัยไดจากประวัติ และ การตรวจรางกาย
ไมจําเปนตองสงตรวจทางหองปฏิบัติการ
การรักษา
* เพือ่ บรรเทาอาการจนกวาจะหายเองตามธรรมชาติ
* เพือ่ ปองกันการแพรระบาดของโรค
* เพือ่ ลดภาวะแทรกซอน (หูอักเสบ, ไซนัสอักเสบ,
ปอดอักเสบ หรือ กระตุนใหมีอาการหอบในเด็กที่มี
ภาวะหลอดลมไว)
การรักษา
1. ไข : เช็ดตัว ใหยาลดไข เชน acetaminophen ไม
แนะนําใหใช aspirin ไมควรให ibuprofen ยกเวน
กรณีไขสูง หรือ มีประวัติชักจากไขสูง (ระมัดระวัง
ในฤดูกาลที่มีการระบาดของไขเลือดออก)
2. ลดน้ํามูก : ผาสะอาดเช็ดน้ํามูก น้ําเกลือหยอดจมูก
(เด็กเล็กใชลูกยางแดง เด็กโตใหสั่งน้ํามูกเอง)
3. Antihistamine : ไมแนะนําใหใชรักษาโรคหวัดใน
เด็กทั่วไป (ภาวะแทรกซอน – งวงซึม ชัก กระวน
กระวาย)
การใชลูกยางแดงดูดจมูกในเด็กเล็ก
การรักษา
4. Decongestant : มีทั้งรูปแบบรับประทาน หรือ หยอด
* ในผูใหญพบวาชวยลดอาการบวมของเยื่อบุจมูก
แตในเด็กไมมีหลักฐานถึงประโยชนของยากลุมนี้
* ยาหยอดไมควรใชติดตอนานเกิน 3 วัน ไมแนะนํา
ใหใชในทารกอายุ < 6 เดือน
* ฤทธิ์ขางเคียงของยารับประทาน – หัวใจเตนเร็ว
รองกวน หงุดหงิด
5. Mentholated balms ไมแนะนําใหใช
การรักษา
6. ไอ : ดื่มน้ําอุน หรือ น้ําผึ้งผสมน้ํามะนาวบอย ๆ
* ยากดการไอ ยาขับเสมหะ ไมพบวามีประโยชนใน
การรักษาโรคหวัดในเด็ก
* ยากดการไอ จะทําใหเด็กไอไมออก มีเสมหะคาง
และ อุดตันหลอดลม
7. ยาปฏิชีวนะแนะนําใหเฉพาะรายที่มีการติดเชื้อ
แบคทีเรียแทรกซอน การใหยาปฏิชีวนะโดยไมจําเปน
อาจทําใหเชื้อดื้อยา ไมไดทําใหโรคหวัดหายเร็วขึ้น
ไมสามารถปองกันภาวะแทรกซอน
การปองกัน
* ติดตอไดจากการสัมผัสน้ํามูกของผูปวยโดยตรง หรือ
ผานการสัมผัสน้ํามูกที่ปนเปอนสิ่งของที่ใชรวมกัน
- ลางมือบอย ๆ
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกลชิดผูที่เปนหวัด
- ไมพาเด็กเล็กไปในที่ชุมชน
- ใชผาปดปาก และ จมูกเวลาไอจาม
- ขณะเปนหวัดมีไข ไอมากควรพักอยูบาน 2 - 3 วัน
- ยังไมมีวคั ซีนจําเพาะ เนื่องจากมีไวรัสกวา 200 ชนิด
- ไมมีหลักฐานสนับสนุนวา วิตามิน C ปองกันหวัดได
2. คออักเสบ (acute pharyngitis)

* การติดเชื้อบริเวณคอหอย (oropharynx, nasopharynx)


สาเหตุ และ ระบาดวิทยา
* สวนใหญเกิดไดจากการติดเชื้อไวรัส แตอาจเกิดได
จากแบคทีเรีย เชื้อที่พบบอยที่สุด group A β
hemolytic streptococci
* พบบอยในเด็กกอนวัยเรียนจนถึงเด็กโต
อาการทางคลินิก
* คออักเสบจากเชือ้ ไวรัส
- ไข ออนเพลีย เบื่ออาหาร เจ็บคอ อาการเปนมากขึ้น
มากที่สุดในวันที่ 2 – 3 อาจมีเสียงแหบ ไอ น้ํามูก
- ผูปวยบางรายมีตาแดง ถายเหลวรวมดวย
- ตรวจรางกาย : คอแดงมาก อาจพบแผลที่เพดาน
ออน
- สวนใหญมีอาการไมนานเกิน 5 วัน
คออักเสบจากการติดเชื้อไวรัส
อาการทางคลินิก
* คออักเสบจากเชือ้ แบคทีเรีย
- มักพบในเด็กอายุมากกวา 2 ปขึ้นไป
- ไขสูง เจ็บคอ กลืนลําบาก เบื่ออาหาร
- ตรวจรางกาย : คอแดง ตอมทอนซิลโต อาจมีจุด
หนองที่ตอมทอนซิล มักพบตอมน้ําเหลืองที่คอโต
และ กดเจ็บ
การตรวจทางหองปฏิบัติการ
* การซักประวัติ ตรวจรางกายเพียงพอตอการวินิจฉัย
การรักษา
1. การรักษาแบบประคับประคอง และ รักษาตามอาการ
- ดื่มน้ํา หรือ ใหสารอาหารที่เปนน้ําใหเพียงพอ
- ยาลดไข
- พักผอนใหเพียงพอ
- กลั้วคอดวยน้ําอุน หรือ น้ําเกลือ
- หามใชยาอมตาง ๆ ในเด็กโดยเฉพาะที่มียาชาผสม
- ยาพนคอ ยาชาชนิดทา หรือ น้ํายากลัว้ คอ ไมมี
ประโยชนในการฆาเชือ้ หรือ ลดอาการเจ็บคอ
การรักษา
1. การรักษาจําเพาะ
- รายที่เขาไดกับคออักเสบจากเชือ้ แบคทีเรีย ใหยา
ปฎิชวี นะนาน 10 – 14 วัน
ภาวะแทรกซอน
* คออักเสบจากเชือ้ ไวรัส พบภาวะแทรกซอนไดนอย
* คออักเสบจากเชือ้ streptococcus อาจทําใหเกิดหนอง
รอบตอมทอนซิล ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ
เยื่อหุมสมองอักเสบ ไตอักเสบ ไขรูหมาติก
3. ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน (acute sinusitis)
* การอักเสบ ติดเชื้อของเยื่อบุโพรงอากาศรอบจมูก
(paranasal sinuses) ตั้งแต 1 ไซนัสขึ้นไป
* ชนิดเฉียบพลัน หมายถึง การอักเสบของเยื่อบุโพรง
อากาศรอบจมูกที่เปน < 4 สัปดาห และ อาการหาย
ไปอยางสมบูรณ
* เปนภาวะแทรกซอนของโรคหวัดได 0.5 – 5%
* เกิดไดในทุกอายุรวมทั้งในเด็กทารก
สาเหตุ
* สวนใหญเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ไดแก
S. pneumoniae H. influenzae และ M. catarrhalis
อาการทางคลินิก
* ในเด็กที่เปนหวัดควรนึกถึงไซนัสอักเสบเฉียบพลันที่
เกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย เมื่อมีอาการหวัดเรือ้ รังนาน
กวาปกติ เชน ไอ และ น้ํามูกนานเกิน 10 วัน
(หวัดจากเชือ้ ไวรัสมักมีอาการมากที่สุด 7 วัน และ
คอย ๆ ดีขึ้นเอง)
อาการทางคลินิก
* ในเด็กที่เปนหวัดควรนึกถึงไซนัสอักเสบเฉียบพลันที่
เกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย เมื่อมีอาการหวัดที่รุนแรงกวา
ปกติ ไดแก ไขสูง น้ํามูกขนเปนหนอง บางรายมี
อาการบวมรอบตา กดเจ็บบริเวณไซนัส หรือ ปวด
ศีรษะรวมดวย
* บางรายอาจมีลมหายใจมีกลิ่นเหม็น จมูกไมไดกลิ่น
เสียงขึ้นจมูก หรือ ปวดฟน
การตรวจรางกาย
* พบน้ํามูกเขียว เด็กเล็กอาจพบน้ํามูกใสได มักตรวจ
พบเสมหะเหลือง หรือ เขียวที่ดานหลังคอ
* อาจมีไข ตอมน้ําเหลืองที่คอโต คอแดง
* เด็กโตอาจกดเจ็บที่ไซนัส
* อาจพบการบวมรอบตา

* การตรวจสองจมูกพบเยื่อบุจมูกบวม เห็นน้ํามูกเขียว
เหลือง
การตรวจทางหองปฎิบัติการ
* การถายภาพรังสีไซนัส
- โดยทั่วไปมักไมมคี วามจําเปน ยกเวนในรายที่ตอง
วินิจฉัยแยกโรคจากโรคอืน่ หรือ ไมตอบสนองตอ
การรักษา
- ความผิดปกติที่พบ : เยื่อบุไซนัสหนา ฝาทึบของ
ไซนัส หรือ มีระดับลม และ น้ําอยูภายในโพรงไซนัส
(การแปรผลความผิดปกติจากภาพรังสีตองคํานึงถึง
อาการทางคลินิกรวมดวย)
⇐ ฝาทึบของไซนัส


มีระดับลม และ น้ําในโพรงไซนัส ⇒
การตรวจทางหองปฎิบัติการ
* การทํา CT scan
- ใหผลแมนยํากวาการถายภาพรังสีธรรมดา
- มีอาการอยูนาน อาการไมดีขึ้นหลังใหการรักษา
สงสัยภาวะแทรกซอน หรือ ตองการสงตรวจเพือ่
พิจารณาผาตัด
* การเก็บสารคัดหลั่งจากรูเปดไซนัส เพือ่ ยอมเชื้อ หรือ
เพาะเชือ้
- อาจนํามาเปนขอมูลบอกเชือ้ ที่เปนสาเหตุได
การรักษา
มีจุดมุงหมายดังนี้
* ใหหายขาดจากอาการของโรค
* ปองกันภาวะแทรกซอน
* กําจัดเชื้อกอโรค
* ลดการบวมของเยื่อบุจมูก และ โพรงไซนัส
* มีการระบายหนองจากโพรงไซนัสไดอยางปกติ
* ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพในการทํางานของโพรงไซนัส
การรักษา
1. การรักษาแบบประคับประคอง รักษาตามอาการ
1.1 Antihistamine ควรใหเฉพาะกรณีที่มีภูมแิ พรว ม
ดวย ควรเลือกใชยารุนใหม เพราะมีประสิทธิภาพ
และ ความปลอดภัย
1.2 Decongestant ชวยลดบวมของเยื่อบุจมูก ทําให
หนองในโพรงไซนัสระบายออกงายขึ้น ผูปวยรูสึก
สบายขึ้น แตตองระวังวาอาจทําใหน้ํามูกขน
เหนียว หรือ ภาวะแทรกซอนจากยา เชน ใจสั่น
กระสับกระสาย นอนไมหลับ
การรักษา
1. การรักษาแบบประคับประคอง รักษาตามอาการ
1.3 ยาพนจมูกสเตียรอยด ลดการอักเสบ ลดบวมของ
เยื่อบุจมูก ทําใหการระบายหนอง และ ถายเท
อากาศในโพรงไซนัสดีขึ้น (ยังไมมีการวิจยั แสดง
ถึงประโยชนในเด็กที่มีไซนัสอักเสบเฉียบพลัน)
อาจใชในกรณีไซนัสอักเสบเรือ้ รัง กลับเปนซ้ํา
หรือ กรณีมีโรคจมูกอักเสบจากภูมแิ พรว มดวย
การรักษา
1. การรักษาแบบประคับประคอง รักษาตามอาการ
1.4 การลางจมูกดวยน้ําเกลือ เพือ่ ชวยใหน้ํามูกเหนียว
นอยลง และ การทํางานของขนกวัดดีขึ้น ทําให
การระบายน้ํามูกดีขึ้น ในกลุมเด็กที่มีไซนัสอักเสบ
เรือ้ รัง
2. การรักษาจําเพาะ
2.1 การใหยาตานจุลชีพ ระยะเวลาของการรักษา
ไซนัสอักเสบเฉียบพลันใหนาน 10 – 14 วัน
การรักษา
2. การรักษาจําเพาะ
2.2 การรักษาโดยการผาตัด พิจารณาเฉพาะรายที่มี
อาการอักเสบรุนแรง เปนซ้ํา เปนรุนแรง และ มี
การอักเสบเฉียบพลันรวมมากกวา 5 ครัง้ ตอป
มีโรคแทรกซอน เชน ฝหนองในเบาตา หรือ
ภายในกะโหลกศีรษะ
(ในรายที่เปนรุนแรง เรื้อรัง ควรคํานึงถึงภาวะภูมแิ พ
กายวิภาคโพรงจมูกผิดปกติ หรือ มีโรคอื่นรวมดวย
เชน ภาวะกรดไหลยอน ภูมคิ มุ กันผิดปกติ เปนตน)
ภาวะแทรกซอน
* การอักเสบรอบกระบอกตา
* ฝภายในกะโหลกศีรษะ
แนวทางการปองกัน
* แนะนําการเลือกสถานรับเลี้ยงเด็กออนที่สะอาด และ
ไมแออัดเกินไป
* เนนการลางมือ
* เลีย่ งควันบุหรี่ มลพิษ และ สารกอโรคภูมแิ พ
เนื่องจากมีผลตอเยือ่ บุจมูก และ โพรงไซนัส
* ควบคุมอาการภูมแิ พที่จมูก
* การใหวคั ซีน ยังไมมีรายงานที่ชัดเจนวาชวยปองกัน
โรค (วัคซีน IPD)
4. หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis media)

* เปนโรคที่พบบอย ที่ทําใหผูปวยเด็กมาพบแพทยที่
หองตรวจผูปวยนอก
* มักเกิดรวม หรือ ตามหลังโรคหวัด
* หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน คือ ภาวะที่มีการอักเสบ
ของหูชั้นกลาง ทําใหมีน้ําในชองหูชั้นกลาง รวมกับมี
อาการแสดงของการติดเชื้อที่เกิดขึ้นเร็ว ไมเกิน 3
สัปดาห
สาเหตุ
* การศึกษาในตางประเทศพบวา เกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย
เชน S. pneumoniae H. influenzae M. catarrhalis
รายงานวาเกิดจากเชือ้ ไวรัสได 36 – 42% และ อาจพบ
ทั้งไวรัส และ แบคทีเรียรวมกันได
* รายงานในประเทศไทยพบเชือ้ แบคทีเรีย 77.3%
อาการ
* ไข ปวดหู (ในเด็กเล็กอาจจะแสดงดวยการดึงหูบอยๆ)
บางรายมีอาการไอรวมดวย
อาการแสดง
* ตรวจพบน้ําในหูชั้นกลาง หรือ เยื่อแกวหูแดง ขุน
หรือ ทึบแสง เยื่อแกวหูโปง บางรายอาจมีหนองไหล
จากหู จากการสองตรวจดวย otoscope
* ควรตรวจหูผูปวยเด็กทุกรายดวย otoscope เมื่อ
เปนหวัด เจ็บหู ไขไมทราบสาเหตุ เด็กเล็กที่รองกวน
ไมทราบสาเหตุ หรือ ดึงหูบอยผิดปกติ
⇐ เยือ่ แกวหูแดง อักเสบ

เยือ่ แกวหูขุน โปง มีหนองดานใน ⇒


การรักษา
* การรักษาตามอาการ
- ใหยาลดไข acetaminophen
- ในรายที่ปวดหู แนะนําใหยาแกปวด เชน ibuprofen
หรือ acetaminophen
- รายที่มีหนองออกจากหู ใหใชผาสะอาด หรือ ไมพัน
สําลีซับใหแหง
- ยาหยอดหู ยาลดอาการคัดจมูก และ ยาแกแพชนิด
รับประทาน ไมมีรายงานวามีประโยชน
การรักษา
* การรักษาจําเพาะ
- สาเหตุสวนหนึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งหายไดเอง และ
แมวา เกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย ก็พบวาสามารถหายได
เองเชนเดียวกัน (แนวทางการรักษาที่นําเสนอใน
ตางประเทศ ไมแนะนําใหยาตานจุลชีพตั้งแตเริม่ แรก
ยกเวนอายุ < 2 ป)
- อาการของผูปวยสวนใหญจะดีขึ้นใน 48 – 72 ชัว่ โมง
- แนะนําใหใชยาตานจุลชีพนาน 10 วัน
การรักษา
* การรักษาจําเพาะ
- อายุ < 2 ป ควรใหยาตานจุลชีพทุกราย
- อายุ > 2 ป
# หากมีอาการปวดหูมาก หรือ ไขสูงควรใหยาตาน
จุลชีพ รวมกับยาแกปวด
# หากไมมีอาการปวดหู หรือ ปวดหูเล็กนอยพิจารณา
ใหยาแกปวด และ ติดตามดูอาการภายใน 48
ชั่วโมง หากไมสามารถติดตามอาการได ใหยาตาน
จุลชีพรวมกับยาแกปวดตั้งแตเริม่ แรก
ขอบงชี้ในการสงปรึกษาแพทยโสต ศอ นาสิก
* ปวดหูรุนแรงตั้งแตเริม่ ตน
* ไดรับยาตานจุลชีพที่เหมาะสมแลวใน 48 – 72 ชั่วโมง
อาการไมดีขึ้น

การเจาะเยื่อแกวหูเพื่อระบายหนอง →
5. ฝหลังคอหอย (retropharyngeal abscess)
* มักพบในอายุ < 5 ป
สาเหตุ
* สวนมากเปนผลจากการติดเชื้อของจมูก ทอนซิล
หูชั้นกลาง หรือ ไซนัสนํามากอน
* สาเหตุอื่นที่มีรายงาน อาจเปนผลจากการกวาดคอ
หรือ การบาดเจ็บตอหลังคอหอย
* สวนใหญเกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย เชน group A
streptococcus S. aureus หรือ เชือ้ anaerobe
อาการทางคลินิก
* ไขสูง เจ็บคอ กลืนลําบาก เบื่ออาหาร น้ําลายไหล
คอบวม คอแข็ง บางรายมีอาการหายใจลําบากจาก
การอุดกั้นทางเดินหายใจสวนบน
การตรวจทางหองปฎิบัติการ
* การถายภาพรังสีดานขางของคอ พบผนังคอหอย
หนาตัว หรือ มีลมแทรกในผนังคอหอย ความโคง
ของกระดูกตนคอหายไป
* การทํา CT scan ชวยยืนยันการวินิจฉัย
ถายภาพรังสีดานขางของคอ พบผนังคอหอยหนาตัว
มีลมแทรกในผนังคอหอย ความโคง ของกระดูกตนคอหายไป
การรักษา
1. เปดทางเดินหายใจใหโลง รายที่มีการอุดกั้นทางเดิน
หายใจ ใหใสทอหลอดลมคอ
2. ใหยาตานจุลชีพเขาหลอดเลือดดํา
3. ใหสารน้ํา
4. ผาตัดเพือ่ ระบายฝหนอง
ภาวะแทรกซอน
* แตกกระจายของหนองเขาไปในชองอก
* การกัดกรอนหลอดเลือดแดงใหญ
โรคติดเชือ้ ทางเดิน
หายใจสวนลาง
1. ครูพ (Viral croup)

* เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ทําใหมีการอักเสบ บวม


ของกลองเสียง หลอดคอ และ หลอดลม ทําใหเกิด
การอุดกั้นทางเดินหายใจสวนบนแบบเฉียบพลัน
* พบบอยในชวงอายุ 6 เดือน – 3 ป
* ผูปวยสวนใหญมีอาการเล็กนอย ประมาณ 1.5 – 6%
ตองรับการรักษาในโรงพยาบาล
* 5% พบวากลับเปนซ้ําได
ลักษณะทางคลินิก
* มีอาการหวัดนํามากอน 1 – 2 วัน ตอมามีอาการไอ
เสียงกอง เสียงแหบ หายใจเสียงดัง (stridor)
รายที่รุนแรงอาจมีอาการหอบ หายใจลําบาก เขียว
การวินิจฉัยโรค
* วินิจฉัยจากประวัติ อาการ และ อาการแสดง
* ไมจําเปนตองถายภาพรังสีบริเวณคอทุกราย อาจทํา
ในรายที่สงสัยในการวินิจฉัย ไมตอบสนองตอการ
รักษาเบื้องตน หรือ ตองการวินจิ ฉัยแยกโรค
การวินิจฉัยโรค
* ภาพรังสีบริเวณคอทาตรง พบลักษณะตีบแคบบริเวณ
ใตกลองเสียง
* ภาพรังสีคอดานขาง พบลักษณะโปงพองบริเวณใต
คอหอย
การรักษา
* ใหการรักษาตามความรุนแรงของอาการ โดยประเมิน
จากอาการไอ หายใจเสียงดัง อาการหายใจลําบาก
เขียว และ เสียงหายใจเขา
ภาพรังสีคอทาตรง พบลักษณะตีบแคบบริเวณใตกลองเสียง
เหมือนปลายดินสอแหลม
การรักษา
* พนยาฝอยละออง (adrenaline)
* ใหยา steroid ในรูปรับประทาน พน หรือ ฉีดเขากลาม
* รายที่มีอาการรุนแรงพิจารณาใสทอหลอดลมคอ
* ผูปวยที่มีอาการขาดน้ํา ใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา
* ยาตานจุลชีพไมมีความจําเปน
ภาวะแทรกซอน
* ภาวะขาดน้ํา หลอดคออักเสบ (bacterial tracheitis)
ปอดบวม
2. หลอดลมคออักเสบ (bacterial tracheitis)
* การอักเสบของกลองเสียง และ หลอดลมคอ ทําให
บนเยื่อบุผิวทางเดินหายใจมีเสมหะขนเหนียว เปน
หนองปกคลุมอยู
* มักพบในเด็กอายุ 6 เดือน – 8 ป
* เกิดภาวะแทรกซอนปอดบวมตามมาได
สาเหตุ
* สวนใหญเกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย โดยมีหลอดลมคอ
อักเสบจากเชื้อไวรัสนํามากอน
ลักษณะทางคลินิก
* ไข ไอเสียงกอง เสียงแหบ เสมหะขน เหนียว
มีลักษณะแบบหนอง จํานวนมาก หายใจเสียงดัง
หายใจลําบาก
การวินิจฉัย
* จากอาการ และ อาการแสดง
* ภาพรังสีคอทาตรงพบการตีบแคบ และ ขรุขระของ
หลอดคอสวนตน
* การสองกลอง พบแผนบาง ๆ คลุมบนเยื่อบุหลอดลมคอ
เสมหะขน เหนียว เปนหนองจํานวนมาก
การรักษา
* โรคนี้มีความรุนแรง ควรรับไวรักษาในโรงพยาบาล
* การรักษาแบบประคับประคอง
- ใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา
- ใหออกซิเจนที่มีความชืน้ ดูดเสมหะเพือ่ ทางเดินหายใจ
เปดโลง
- ใสทอชวยหายใจ ถามีการอุดกั้นทางเดินหายใจรุนแรง
* การรักษาจําเพาะ ใหยาตานจุลชีพที่เหมาะสมเขาหลอด
เลือดดํานาน 1 – 2 สัปดาห
3. ฝาปดกลองเสียงอักเสบ (acute epiglottitis)
* เกิดจากการติดเชื้อของฝาปดกลองเสียง และ สวนที่
อยูเหนือกลองเสียง
* ผูปวยมีอาการของการอุดกั้นทางเดินหายใจสวนบน
* โรคนี้พบไมบอย แตมีความรุนแรง หากไดรับการ
รักษาที่ลาชา อาจเปนอันตรายถึงชีวิต
สาเหตุ
* สวนใหญเกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย ปจจุบันมีการใช
วัคซีน HIB แพรหลาย ทําใหโรคลดลง
รูปแสดง ฝาปดกองเสียงบวม แดง อักเสบ และ มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ลักษณะทางคลินิก
* ไขสูง เจ็บคอ กลืนลําบาก น้ําลายไหลยืด เสียงพูดไม
ชัดเจน ผูปวยมักอยูในทานั่งเอนตัวไปขางหนา เงยคอ
ยื่นคางออกเพือ่ ใหการหายใจโลงขึ้น
* อาการของโรครุนแรง ลุกลามเร็ว อาจเกิดภาวะอุดกั้น
ทางเดินหายใจไดภายใจ 24 ชั่วโมง
การวินิจฉัยโรค
* การตรวจดูคอตองระมัดระวัง โดยเฉพาะการใชไมกด
ลิ้น อาจกระตุนเกิดภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจเฉียบพลัน
ทานั่งในเด็กที่มีภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ
การวินิจฉัยโรค
* การตรวจนับเม็ดเลือด พบเม็ดเลือดขาวเพิม่ ขึ้น
พบลักษณะการติดเชื้อแบคทีเรีย
* ภาพรังสีคอดานขางพบ ฝาปดกลองเสียงบวมคลายนิ้ว
หัวแมมอื (การถายภาพรังสีบริเวณคอ ควรทําดวยความ
ระมัดระวัง มีการเตรียมพรอมในการใหความชวยเหลือ
ผูปวย กรณีเกิดภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจเฉียบพลัน)
ภาพรังสีคอดานขาง แสดงฝาปดกลองเสียงบวมรูปรางคลายนิ้วหัวแมมือ
การรักษา
* การรักษาประคับประคอง
- รบกวนผูปวยนอยที่สุด
- ใหออกซิเจนที่มีความชืน้
- เตรียมพรอมใสทอชวยหายใจ โดยแพทยผูชํานาญ
- เตรียมใสทอชวยหายใจในหองผาตัด เนื่องจากอาจจะ
ตองเจาะคอในรายที่ใสไมสําเร็จ
- เมื่อไดยาตานจุลชีพแลว อาการดีขึ้น หายใจเองได จึง
พิจารณาถอดทอชวยหายใจ
การรักษา
* การรักษาจําเพาะ
- ใหยาตานจุลชีพที่เหมาะสมทางหลอดเลือดดําโดยเร็ว
อยางนอย 1 สัปดาห เมื่ออาการดีขึ้นเปลีย่ นเปนยา
รับประทาน
ภาวะแทรกซอน
* ปอดบวม ปอดแฟบ ปอดบวมน้ํา เยื่อหุมสมองอักเสบ
ขออักเสบติดเชื้อ เยื่อหุมหัวใจอักเสบ
4. หลอดลมฝอยอักเสบเฉียบพลัน (acute bronchiolitis)
* เกิดจากการติดเชื้อทําใหมีหลอดลมฝอยอักเสบ
* พบในเด็กอายุ < 2 ป (ชวงอายุที่พบบอย 2 – 6 เดือน)
สาเหตุ
* สวนใหญเกิดจากเชือ้ ไวรัส RSV มีรายงานวาไวรัส
อื่นก็เปนสาเหตุได
ลักษณะทางคลินิก
* ประวัติน้ํามูกใส ไอนํามากอน บางรายมีไขต่ํา ๆ
ตอมาอีก 1 – 2 วันมีอาการหายใจเร็ว อกบุม หายใจ
มีเสียงหวีด ในรายที่รุนแรงอาจมีการหายใจลมเหลว
* ผูปวยที่มีประวัติคลอดกอนกําหนด ไมไดนมมารดา
ประวัติมารดาสูบบุหรี่ มีความเสี่ยงตอโรคที่รุนแรง
การวินิจฉัยโรค
* ประวัติ การตรวจรางกาย
* การตรวจนับจํานวนเม็ดเลือด อาจพบลักษณะการ
ติดเชือ้ ไวรัส
* ภาพรังสีทรวงอกพบลมคางในทรวงอกทั้ง 2
ขาง บางรายอาจพบปอดแฟบรวมดวยได
(แตไมมีลักษณะจําเพาะ)
* การตรวจหาเชือ้ ไวรัสที่เปนสาเหตุไมมคี วามจําเปน
ภาพรังสีทรวงอก แสดงหลอดลมฝอยอักเสบ
การรักษา
* การรักษาประคับประคอง
- ใหออกซิเจนที่มีความชืน้ ในรายที่หอบ หายใจลําบาก
- ใหสารน้ําใหเพียงพอ ถารับประทานไมได ใหสารน้ํา
ทางหลอดเลือดดํา
- ไมควรเคาะปอด อาจดูดเสมหะเมื่อมีเสมหะมาก
- รายที่มีอาการรุนแรง อาจพิจารณาใสเครือ่ งชวย
หายใจ
การรักษา
* การรักษาตามอาการ
- ใหยาลดไข
- อาจลองใหยาขยายหลอดลมแบบฝอยละออง
* การรักษาจําเพาะ
- การใหยาตานจุลชีพ ไมพบวามีประโยชน
- ไมมีประโยชนในการใชยาตานไวรัส
- ไมมีขอมูลที่ชัดเจนถึงประโยชนในการให
ยาสเตียรอยดทั้งชนิดพน รับประทาน หรือ ฉีดเขาสู
รางกาย
ภาวะแทรกซอน
* การหายใจลมเหลว
* หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน
* กลามเนื้อหัวใจอักเสบ
* หัวใจเตนผิดปกติ
* ภาวะเกลือแรผิดปกติ
* หอบหืด ภาวะหลอดลมไวตอสิ่งกระตุน
* หลอดลมฝอยตีบ อุดกั้นเรื้อรัง
5. ปอดบวม (pneumonia)

* โรคติดเชือ้ ที่ทําใหมีการอักเสบของเนื้อปอด
ที่หลอดลมฝอยสวนปลาย และ ถุงลม
* ปจจัยเสี่ยงตอการเกิดปอดบวม : น้ําหนักแรกเกิดนอย
ไดรับนมแมไมถกู ตองเหมาะสม ทุพโภชนาการ
การไดรับวัคซีนไมครบ สัมผัสมลภาวะทางอากาศ และ
ควันบุหรี่
สาเหตุ และ ระบาดวิทยา
* เชือ้ ที่เปนสาเหตุแตกตางไปตามอายุ โดยพบวาเกิด
จากการติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย
* ผูปวยเด็กอายุ < 5 ปที่เปนปอดบวม สวนใหญเกิด
จากการติดเชื้อไวรัส
* เปนสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในเด็กอายุ < 5 ป
ในประเทศที่กําลังพัฒนา
* อัตราตายสูงถึง 1.6 – 2.2 ลานคนทั่วโลกตอป
ลักษณะทางคลินิก
* ไข (ปอดอักเสบจากการติดเชื้อบางชนิด อาจไมคอ ย
มีไข) ไอ หอบ หายใจลําบาก จมูกบาน อกบุม
รายที่รุนแรงอาจมีรมิ ฝปากเขียว ซึม ดูดนมไมดี
* หายใจเร็วกวาปกติตามเกณฑอายุ
อายุ < 2 เดือน หายใจ > 60 ครั้งตอนาที
อายุ 2 เดือน – 1 ป หายใจ > 50 ครั้งตอนาที
อายุ 1 – 5 ป หายใจ > 40 ครั้งตอนาที
* ฟงเสียงปอดผิดปกติ
การวินิจฉัยโรค
* ประวัติ การตรวจรางกาย
* ตรวจนับเม็ดเลือด (อาจชวยบอกไดวาติดเชื้อไวรัส
แบคทีเรีย)
* ภาพรังสีทรวงอก ชวยยืนยันการวินิจัย ชวยวินิจฉัย
แยกโรค ชวยบอกถึงเชือ้ ที่เปนสาเหตุ ชวยบอกถึง
ภาวะแทรกซอน
* การยอมเชือ้ จากเสมหะ การเพาะเชือ้ จากเสมหะ
หรือ เลือด

ภาพรังสีทรวงอก แสดงปอดอักเสบขางขวา
การวินิจฉัยโรค
* การตรวจทางน้ําเหลือง
* การทดสอบเชือ้ วัณโรค
* ในรายที่มีภาวะแทรกซอน น้ําในชองเยื่อหุมปอด
อาจตองเจาะเอาน้ําออกมาตรวจเพิม่ เติม

ยอมเสมหะพบเชื้อโรค →
การรักษา
* การรักษาประคับประคอง
- ใหออกซิเจนในรายที่หอบ เขียว มีภาวะขาดออกซิเจน
- ใหสารน้ําใหเพียงพอ รายที่หอบมาก อาจงดอาหารทาง
ปาก พิจารณาใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา
- ใหยาพนขยายหลอดลม ในผูปวยบางราย
- ใหยาขับเสมหะ หรือ ยาละลายเสมหะ ในกรณีให
สารน้ําแลว แตเสมหะยังเหนียวอยู
- การทํากายภาพบําบัดทรวงอก
การรักษา
* การรักษาตามอาการ
- ใหยาลดไข
- ไมรบกวนผูปวยโดยไมจําเปน
- รายที่รุนแรง การหายใจลมเหลว ควรใสทอชวยหายใจ
และ ใชเครือ่ งชวยหายใจ
* การรักษาจําเพาะ
- ใหยาตานจุลชีพในกรณีสงสัยติดเชือ้ แบคทีเรีย
กรณีปอดบวมจากไวรัส ไมมียารักษาจําเพาะ
ภาวะแทรกซอน
* ปอดแฟบ

* น้ํา หรือ หนองในชองเยื่อหุมปอด

* ฝในปอด
สรุป
* การรักษาผูปวยเด็กที่มีการติดเชื้อเฉียบพลันระบบ
ทางเดินหายใจ มีวัตถุประสงค ใหผูปวยรอดชีวิต
และ ปองกันความพิการตามมา
* การปองกันการเกิดโรค (สิ่งที่สําคัญที่สุด)
- รักษาความอบอุนของรางกาย โดยเฉพาะฤดูหนาว
- หลีกเลี่ยงการพาเด็กไปในที่ชุมนุมแออัด
- หลีกเลี่ยงควันบุหรี่
- สงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนมแม
สรุป
* การปองกันการเกิดโรค (สิ่งที่สําคัญที่สุด)
- ใหวัคซีนตามโปรแกรม เชน หัด คอตีบ ไอกรน
วัณโรค เยื่อหุมสมองอักเสบฮิบ อาจพิจารณาวัคซีน
พิเศษ เชน ไขหวัดใหญ IPD
- ใหความรูแ กผูปกครองในการดูแลเบือ้ งตน และ
หลีกเลี่ยงการใชยาโดยไมจําเปน เพือ่ ปองกันการ
แพยา อาการไมพึงประสงคจากยา เชือ้ ดื้อยา

Vous aimerez peut-être aussi