Vous êtes sur la page 1sur 37

Osce ped extern รวมเฉลยถึงรุน

่ แปดโรสอง
1.history of jaundice in newborn

Ans
Newborn Jaundice
1. Etiology
:•benign: physiological (deficiency in glucuronyl transferase), breast feeding
jaundice(due to dehydration), breast milk jaundice (inhibitor of glucuronyl transferase
found inmilk), dehydration•patholgical:onewborn: biliary atresia, idiopathic neonatal
hepatitis, alpha 1-antitrypsin deficiency,infection, hemolysisoolder children:
autoimmunie hepatitis, viral hepatitis, Wilson's disease, biliaryObstruction
2. DDx:•UnconjugatedoPathologic:•Hemolytic•Intrinsic•Extrinsic (Ab related, Coombs
positive)•Non-hemolytic: Crigler-Najjar, Gilberts, polycythemia, sepsis,
hypothyroidism,cephalohematomaoNon-pathologic:•ConjugatedoHepatic: infection,
metabolic (galactosemia, alpha 1-antitrypsin deficiency, hypothyroid,CF), drugs,
TPNoPost-Hepatic: biliary atresia, choledochal cyst
3. History
:•ID:•HPI: OPQRST, emesis, constipation/diarrhea, acholic stool/dark urine,
melena/hematemesis, lethargy, irritable, anorexia, fever•PMHx:•PSHx:•Pregnancy:
HCV, HBV, Rh factor, G#P#•Delivery:•Nutrition:
breastfeeding•Development:•Immunizations: HBV at birth•FHx:•SHx:•All:•Meds:
4. Physical
:•Appearance: jaundice•Vitals: Septic (tachycardic, tachypnea, hypotension)•Growth:
failure to wt gain•H+N: scleral icterus•CVS:•Resp:•GI: hepatosplenomegaly•MSK:
jaundice, palmar creases, bruises•Neuro: LOCoEarly: lethargy, hypotonia, poor
feeding, high-pitched cry and emesisoLate: bulging fontanelle, opishtotonic
posturing, pulmonary hemorrhage, fever,hypertonicity, seizures•Hydration:•Special
Tests:
5. Differential
:•<24hr: hemolytic disease (ABO, Rh incompatibility), sepsis•1-10d: physiologic,
dehydration, enclosed hemorrhage, polycythemia•1-10+d: breast milk jaundice,
infections, Crigler-Najjar syndrome•>7-10d: hypothyroidism, galactosemia, CF,
neonatal hepatitis, biliary atresia
6. Investigations
•Full w/u for jaundice in first 24hr•Hemolytic w/u: CBCd, blood group, peripheral
smear, Coombs test, bilirubin(conjugated and unconjugated)•Septic w/u: CBCd,
blood and urine culture, CXR+LP (febrile, unwell)•Other: TSH, G6PD•Conjugated
hyperbilirubinemia: AST, ALT, PT, PTT, albumin, ammonia, TSH, TORCHscreen,
galactosemia screen, metabolic screen, abdominal U/S, HIDA scan, sweat chloride
7. Treatment
:•Goal: prevent kernicterus (unconjugated bilirubin deposits in basal
ganglia)oComplications: sensorineural deafness, choreothetoid CP, gaze palsy,
MR•Exclude treatable causes•Phototherapy – must admit and watch for
dehydration•Exchange transfusion•Dr.Stephens Rule of Thumb: Tx at 350, never let
it get to 400, normal is 100Xwt in kg
2.photo of seborrheic dermatitis

Ans

 Reddish color.
 Swollen and greasy appearance.
 White or yellowish crusty scale on the surface.

Differential diagnosis

psoriasis, eczema, or an allergic reaction

treatment
-Infants (scalp): Called cradle cap, this tends to completely disappear without treatment. If
treatment is necessary, a dermatologist may recommend:

Shampooing the baby’s scalp daily with a baby shampoo.

Gently brushing away the scale, once scale starts to soften.

Applying a medication to the infant’s scalp.

-Infants (skin beyond the scalp): This, too, will clear. If treatment is needed, a dermatologist may
prescribe a medicine that can be applied to the child’s skin.

-Adolescents and adults (scalp and rest of body): After infancy, seborrheic dermatitis usually does
not go away without treatment. For the best results, a dermatologist will consider many factors
before creating a treatment plan. Treatment may include:

Dandruff shampoos.

Medicine to apply to the skin for short periods of time.

Barrier-repair cream.

3. 1 episode seizure with roseolar infantum diagnosis ,advice


Ans เป็ นไข ้ชักในช่วงอายุหกเดือนถึงห ้าปี ตรวจร่างกายปกติ
่ นทั
ไข ้สูงชักพอไข ้ลงผืนขึ ้ ่วตัว เหมือนกลีบกุหลาบ

approach แบบผูใ้ หญ่เลยก็ได ้ คือ


สาเหตุจากในหัว และสาเหตุจากนอกหัว
ในหัว : infection/trauma/tumor/congenital/vascular
นอกหัว : electrolyte/ metabolic / intoxication
เพราะฉะนั้นเราจะต ้อง DDx ภาวะอืนๆ ่ ไว ้ด ้วยเสมอ

เพราะเมือไหร่ ่
ก็ตามทีเราจะฟั ้ กจากอาการไข ้ หรือเป็ น Febrile seizure
นธงว่าเด็กคนนี ชั
นั้นอาการชักนั้นต ้องไม่เกิดจาก CNS infection, CNS pathology หรือสาเหตุอน ่ื ๆ

ไข ้สูงแล ้วชักในเด็กเกิดจากการทีระบบประสาทของเด็ กยังมีการพัฒนาไม่เต็มที่ ช่วงอายุทพบคื ี่ อ 6 เดือน

- 5 ปี ส่วนมากมักพบร่วมกับการติดเชือในเด็ ่ าให ้มีไข ้สูง เป็ น viral infection ต่าง ๆ ทีพบได
กทีท ่ ้เช่น
่ ่ ้
roseola infantum ทีจะมีไข ้สูงจนเด็กชัก พอไข ้ลงแล ้วผืนขึนเป็ นตน้ พบได ้บ่อยเหมือนกัน
แบ่งเป็ น 2 กลุม
่ ใหญ่
> Simple febrile seizure
้ ว (GTC)
ชักแบบเกร็งหรือกระตุกทังตั
ระยะเวลาในการชักน้อยกว่า 15 นาที
้ั ยวต่อ episode
ชักเพียงครงเดี
> Complex febrile seizure
ชักแบบเกร็งหรือกระตุกเพียงซีกเดียว หรือบางส่วนของร่างกาย (focal)
ระยะเวลาในการชักนานกว่า 15 นาที
มีการชักหลายครงต่ ั้ อ episode
่ ต
อีกสิงที ่ ้องรู ้คือปัจจัยใดบา้ งทีท
่ าใหม้ ผ
ี ลต่อการเกิด recurrent febrile seizure
และปัจจัยใดถือเป็ นปัจจัยเสียงต่ ่ อการเกิดลมชัก ซึงจะมี่ ผลต่อการ management และ advice
ต ้องแยกจาก Epilepsy ซึงหมายถึ ่ ง recurrent unprovoked seizure
อาจแยกได ้โดยการถามประวัตยิ ้อนหลังว่าเคยชักมาก่อนหรือไม่ เคยชักโดยทีไม่ ่ มป
ี ัจจัยกระตุน
้ เช่น
ไม่มไี ข ้แต่ก็ชกั หรือไม่ หรือมีประวัตค
ิ นในครอบครัวเป็ นโรคลมชักเดิม เป็ นต ้น
Physical examination ทีควรตรวจ ่
ตรวจร่างกายหาสาเหตุของไข ้
ตรวจร่างกายระบบประสาท
> Level of consciousness
> Bulging of anterior fontanel
> Meningeal irritation sign
> Focal neurological deficit

Investigation ทีควรท ่
า (ต ้องรู ้ว่าควรทาเมือไหร่
ด ้วยนะ)
LP - CT Brain - EEG
Lumbar puncture for CSF analysis

> ผู ้ป่ วยทีจากประวั ตแิ ละตรวจร่างกายทาใหค้ ด
ิ ถึง CNS infection

> ผู ้ป่ วยเด็กอายุนอ้ ยกว่า 12-18 เดือนทีการตรวจ CNS ไม่ชดั เจน
CT Brain
่ น focal seizure
ทาในรายทีเป็
ตรวจร่างกายมี focal neurological deficit
altered mental status and tensed anterior fontanel
EEG
พิจารณาทาในรายทีเป็ ่ น complex febrile seizure หรือในรายทีสงสั ่ ย epilepsy (มีประวัติ
recurrent unprovoked seizure)
ี่ อาเจียนมาก ทานไม่ได ้ ท ้องเสีย ถ่ายเหลว ขาดนา้
Electrolyte กรณี ทมี
การร ักษา
Tepid sponge - Antipyretics - Treat cause of fever (infection)
ถ ้าพิสจู น์ได ้แล ้วว่าเป็ น febrile seizure จริง การรกั ษาทีเป็่ น specific treatment
คือการร ักษาสาเหตุของไข ้สูง ซึงมั ่ กจะเป็ น viral infection or bacterial infection
ใหร้ ักษาการติดเชือดั ้ งกล่าว พร ้อมกับการติดตามเรืองไข่ ่ แนวโน้มไข ้จะสูงขึน้ พิจารณาเช็ดตัว
้ หากเริมมี
และให ้ยาลดไข ้ก่อนทีจะมี ่ ไขส้ งู
ปัญหาอยูท ่ี
่ อาการชั ่ น่่ ากลัวสาหรบั พ่อแม่เด็กมาก เราจะต ้องทาการ advice
กเป็ นเรืองที
ให้ดีให้เข ้าใจในประเด็นต่อไปนี ้
> ภาวะชักมีผลต่อพัฒนาการหรือสติปัญญาของเด็กหรือไม่
ตอบเลยว่า ถ ้าเป็ นอาการชักจากไข ้สูง มักจะมีอาการชักไม่เกิน 3-5 นาที ไม่เป็ นอันตรายต่อสมองเด็ก
ไม่มผี ลต่อพัฒนาการหรือการเรียนรู ้ ยกเว ้นในรายทีมี ่ อาการชักนานกว่า 30 นาที จนมีภาวะเขียว
ขาดออกซิเจน ทาให้มผ ี ลต่อสมองได ้ แต่การชักลักษณะดังกล่าวมักจะไม่ใช่จากไขธ้ รรมดา
ต ้องมีสาเหตุอย่างอืน โดยทั่วไปแนะนาว่าหากสังเกตอาการชักแล ้ว 5

นาทียงั ไม่หยุดให้รบี พามาโรงพยาบาล
> มีโอกาสชักซาหรื้ อไม่ ถ ้ามีไข ้สูง
มีโอกาสชักซาได ้ ้ประมาณ 1 ใน 3 หรือ 30% หลังการชักครงแรกจนกว่ ั้ าจะอายุประมาณ 5-6 ปี

หลังจากนี จะพบการชักน้ อยมาก แต่ในบางรายทีมี ่ อาการชักตังแต่
้ อายุนอ้ ยกว่า 1 ปี (บางตาราเอา 18
เดือน) หรือมีประวัตค ้
ิ นในครอบครวั มีภาวะไข ้แล ้วชัก จะมีโอกาสชักซามากขึ น้
> มีโอกาสเป็ นลมชักหรือไม่

ตอบเลยว่า ความเสียงไม่ ่
ได ้ต่างจากเด็กทัวไป ่ อาการลักษณะเป็ น complex febrile
ยกเว ้น ในรายทีมี
seizure, มี neurological deficit, พัฒนาการช ้าก่อนมีอาการชัก, มีประวัตคิ นในครอบครัวเป็ นลมชัก
> จาเป็ นต ้องกินยากันชักหรือไม่

ตอบเลยว่า ทัวไปไม่ ั้
จาเป็ นต ้องกิน ถ ้าชักมาครงแรก อาจทาการ reassure and follow up

แต่ถ ้าชักแบบ recurrence อาจต ้อง advice เรืองการดู แลขณะมีไข ้ใหด้ ี หาสาเหตุชกั ซา้
ถ ้าผู ้ปกครองมีความกังวลมาก พิจารณาให้ intermittent prophylaxis ได ้ โดยให้ตอนมีไข ้ oral
diazepam 0.3 mg/kg q 8 hours
่ ดการชักขึนควรท
> เมือเกิ ้ าอย่างไร?

ถ ้าพบว่ามีไข ้สูง หรือเริมมีไข ้ รีบใหย้ าลดไข ้พาราเซตามอล และเช็ดตัวลดไข ้ทันที
การเช็ดตัวใช ้นาอุ้ น ้
่ หรือนาธรรมดา ้
ไม่ใช ้นาแข็ ้ นเช็ด ถอดเสือผ
งหรือนาเย็ ้ า้ เด็กออกใหห้ มด
เช็ดบริเวณหน้า ลาตัว แขน ขา เน้นเช็ดมากบริเวณหลอดเลือดใหญ่ท ่ี ซอกคอ ซอกรกั แร ้ ขาหนี บ
เช็ดจากปลายมือปลายเท ้าสูล ่ าตัวย ้อนรูขม ่
ุ ขนเพือระบายความร ้อน เช็ดตัวประมาณ 10-15 นาที
่ ้
เปลียนชุบนาบ่อยๆ ทุก 2-3 นาที
ถ ้าเกิดอาการชักขึน้ ตังสติ
้ ั เด็กนอนตะแคงหัวต่า ป้ องกันการสาลัก
อย่าตกใจ ใหจ้ บ
้ อวัสดุใด ๆ ล ้วงหรืองัดปากเด็ก สังเกตลักษณะอาการชัก จับเวลา ถ ้าชักนานเกิน 3-5 นาที
ห ้ามใช ้นิ วหรื
หรือมีรอบปากเขียวคลา้ ควรรีบนาตัวมาพบแพทย ์
seizure ในเด็กรักษาด ้วยยาอะไรได ้บ้าง
Diazepam 0.3 mg/kg IV or 0.5 mg/kg Per rectal (<10 mg/dose)

repeat ได ้ทุก 15 นาที ทัวไปไม่ ควรเกิน 2-3 doses
ref

https://www.facebook.com/1383143491984928/posts/practical-points-:-febrile-
convulsion/1395328747433069/

4.encephalitis common pathogen

Ans traid fever headache alteration of conscious สาเหตุมก ้ วนใหญ่เป็ นไวร ัส


ั ติดเลือส่

5.otitis media common pathogen treatment complication

Ans sign symptom otorrhea ,bulging tm

Pathogen viral bact strep pneumo ,h influenza ,moraxella catarrhalis

Treatment
Atb amoxy 80-90 mkd tid pc 10 day ไม่ดใี ห ้ augmentin ยาพาราแก ้ปวด ยาแก ้ปวดหยอดหู

6.FB aspiration treatment advice


Ans

Advice :Foods

Recommend that children aged less than 4–5 years should not be given
foods that could make them choke. This mainly refers to nuts and other dried
snacks: popcorn, almonds, walnuts, sunflower seeds, corn, etc.

Recommend avoiding hard foods, such as candy and other sweets, in this
age group, as they could be particularly dangerous.

Emphasise the need of cutting soft and round foods, such as grapes and
sausages, lengthwise before serving them to children.

Advise against making young children laugh or cry while they are eating.

Suggest teaching children to chew slowly and correctly.

In particular, teach children to eat nuts and similar snacks one by one (as
opposed to in handfuls) and chewing them thoroughly.
Recommend teaching children to eat while seated. Children should never
run or play during meals.

Keep from feeding children foods that contain small objects, such as the
popular sweets that have a toy inside.

Watch children when they eat.

Toys and other objects

Insist on the need to heed warning labels in toys and other products that
children may encounter. Follow the age recommendations printed in the
packaging of toys.

Recommend that balls used by children to be larger than golf balls.

Ensure that all toys used by children bear the CE mark.

Try to keep children from playing with objects that are small (buttons,
screws, game chips, etc.) or have parts that are easily disassembled, and with
balloons or latex gloves.

Recommend teaching older children to keep toys with small parts out of
reach of younger siblings.

Remind that any broken toys should be discarded.

Propose the inspection of floors and low places for the potential presence of
small objects, such as buttons, marbles, coins, pins, pebbles or screws,
objects that can be easily disassembled, or latex gloves and balloons.

Keep cribs or children's beds free of soft toys and objects, especially toys
with strings or small parts. Refrain from placing shades, curtains or
decorative mobiles over cribs.
Storing bags or other plastic wrapping or containers out of the reach of
children.

Supervise children during play.

7.vaccine 9 เดือน ต ้องได ้ไรบ ้าง

้ ้ครบ ครงนี
ถ ้าก่อนหน้านี ได ้ั ให
้ ้ mmr dose 1

8.HIV fatest Way to detect child vaccine

Ans Positive virologic tests (i.e., nucleic acid tests [NAT]—a class of tests that includes HIV
RNA and DNA polymerase chain reaction [PCR] assays, and related RNA qualitative or
quantitative assays ในช่วงหนึ่ งถึงสองเดือน

9.AIHA investigation treatment

Ans ้
อาการ ซีด เวียนหัว หัวใจวาย มีไข ้ ตับโต เหลือง ปัสสาวะสีเข ้ม ต่อมนาเหลื
องโตได ้
Investigate

CBC ANEMIA leukocytosis if thrombocytopenia is evan syndrome pbs microspherocyte


autoagglutination direct comb test ,indirect cold agglutinin

Treatment
การรักษาท ััั่วไป ได แก การให ผู ป วยได พัก, ให ดมออกซิเจนในกรณี ทซี ่ี ด,
เพลียมาก, รักษาโรคตลอดจน ป จจัยส งเสริมให เกิดการทาลายเม็ ดเลือดเพ ัิั่ มขึน้
เช นการให ยาปฏิชวี นะร ักษาโรคติดเชือ้ , การให เลือดในกรณี จา เป น

การรักษาจาเพาะ

1. Glucocorticoids ถือเป นการรักษาอันดับแรกท ัีั่ ควรเลือกใช ได แก


prednisolone กินขนาด 1-2 มก./ กก./วัน
่ ยมใช
2. 2. ยากดอิมมูน (Immunosuppressive drugs) ทีนิ ได แก azathioprine ขนาด 2-
2.5 มก./กก./วัน, cyclophosphamide ขนาด 1-2 มก./กก./วัน
3. การตัดม าม
4. การร ักษาอื่ น ได แ ก IVIg, plasmapheresis ห รือ plasma exchange, anabolic hormone
เช น danazol, vinca-loaded platelets เป นต น อาจจะใช ได ผลใน AIHA บางราย
เช น plasmapheresis อาจจะมี ประโยชน ใน ผู ป วย CHAD เป นต น
10.apsgn differential diagnosis invest

Ans

differential diagnosis

Henoch schonlein nephritis

Ig a nephrpathy

Alport syndrome

Nephritic syndrome

Sle

Rapid progressive glomerulonephritis

Investigation

Ua hematuria , rbc cast ,dysmorphic rbc

Bun cr elyte aki

Aso titer ,anti dnase b

Complement 3,4 decreased

Treatment

Supportive ตามอาการ
-bedrest

-restrict volume furosemide 1g/kg

-hypertension

-electrolyte

-steroid pulse methyl prednisolone 30mgperkgperday max 1g iv 3 day ,prednisolone 1mkd

-atb ลดการส่งต่อโรคแต่ไม่ลดอาการของโรค

1.คานวณขนาด ETT ประเภท ความลึก การเช็คตาแหน่ ง


Newborn

<1000 g 2.5 <28wk

1000-2000 3.0 28-34wk

2000-3000 3.5 34-38wk

>3000 3.5-4.0 >38wk

Depth = BW Kg +6

เด็ก

uncuffedใช ้ในอายุนอ
้ ยกว่า 8 ปี
0-1 y 3.5

1-2 y 4.0

>2 y 4+อายุ ปี / 4

cuffedใช ้ในอายุมากกว่า 8 ปี 3.5+ อายุ ปี / 4


Depth (cm) = 12+Age y / 2
2.Hb typing
3.FB obstruction Mxกับหุ่น
4.UVCแสดงวิธก
ี ารใส่ ขนาด ตาแหน่ ง

Procedure (วิธก
ี ารทา)
1. วางทารกใต ้ radiant

warmer จัดทารกให้อยูใ่ นท่านอนหงาย ตรึงทารกและขาทังสองข ่ งที่
้างให ้อยูค
2. คานวณหรือประมาณความลึกของการใส่สายสวนสะดือทาง umbilical vein
้ ขึ
ทังนี ้ นกั
้ บวัตถุประสงค ์ของการใส่,
ดังนี ้
่ ด CVP ทาโดยวัดระยะทาง (หน่ วยเป็ นเซนติเมตร)
2.1 ใส่เพือวั
จากหัวไหล่ด ้านใดด ้านหนึ่ งไปยังสะดือ
(shoulder-umbilicus length) นาค่าทีได ่ ้ไป plot
กราฟมาตรฐานสาหร ับการคานวณหาระยะความลึก
ของการใส่ umbilical vein catheter และบวกด ้วย 0.5-1 ซม. (ความยาวของ umbilical
stump) ค่าที่
ได ้จะเป็ นความลึกของการใส่สายสวนสะดือทาง umbilical vein
2.2 สาหร ับการทา partial หรือ total exchange transfusion รือเพือให ่ ้สารนา้
หรือยาในกรณี ฉุกเฉิ น
หรือเร่งด่วน ให้ใส่ลก ึ เพียงผ่านผนังหน้าท้องของทารกและสามารถดูดเลือดได ้คล่องไม่ตด ิ ขั

ด ก็เพียงพอ แล ้ว ซึงโดยทั ่วไป มักใส่ลกึ ไม่เกิน 2-5 ซม. ขึนกั้ บนาหนั
้ กตัวเด็กทารก
3. แพทย ์ผูท้ าการหัตถการทาการใส่หมวกคลุม, ปิ ดปากและจมูกด ้วย mask,
ฟอกและขัดมือด ้วยนายาฆ่ ้ ้ สวมเสือคลุ
าเชือ, ้ ม และถุงมือปราศจากเชือ้
4. ทาความสะอาดผิวหนังบริเวณรอบสะดือและสายสะดือด ้วยนายาฆ่ ้ าเชือ้ Povidone-Iodine
5. ตัดสายสะดือให้ผวิ หน้าตัดเรียบและเหลือความยาวประมาณ 1 ซม.
จากฐานของสายสะดือด ้วยใบมีด
6. เย็บคล ้องปลายตัดของสายสะดือด ้วยไหมดาแบบหูรด ู (purse string suture)
7. เตรียมสาย umbilical catheter ขนาดเหมาะกับทารกโดยต่อด ้านปลายเปิ ดเข ้ากับ 3-way
stopclockและหล่อสาย catheter ให้เต็มด ้วย heparinized saliue solution
8. ใช ้ hemostat จับปลายสายสะดือใหอ้ ยูใ่ นลักษณะตังฉากกั ้ บผนังหน้าท ้องและตรวจหา

umbilical vein ซึงจะมี 1 เส ้น มักอยูท
่ างขอบนอกของสายสะดือ
ลักษณะผนังบางกว่าและขนาดเส ้นผ่าศูนย ์กลางใหญ่กว่า umbilical artery
่ 2 เส ้น
ทีมี
9. ทาการ remove เศษก ้อนเลือดทีแข็ ่ งตัวและอุดปากรูของเส ้นเลือดออกสอดใส่
ถ่างขยายรูของ umbilical vein ด ้วยiris forceps และสอดใส่สาย umbilical catheter
อย่างนุ่ มนวลให้ปลายสาย catheter พุ่งไปทางศรีษะของทารก
โดยให้มค ี วามลึก ตามวัตถุประสงค ์ของการใส่สวนดังกล่าวในข ้อ 2
10. ต่อปลายสายอีกด ้านหนึ่ งของ umbilical catheter ทีมี ่ 3- way stopclockข ้ากับสาย

และขวดนาสารละลายที ่ ยมไว ้
เตรี
ทาการไล่ฟองอากาศทีค ่ ้างอยูใ่ นสายให ้หมดก่อนเริมให
่ ้ ้าสูร่ า่ งกาย
้สารนาเข
11.
ผูกรูดไหมทีเย็่ บคล ้องสายสะดือไว ้ให ้แน่ นเพือป้
่ องกันเลือดไหลซึมจากสายสะดือและป้ องกันก

ารเลือนหลุ ดของสาย
umbilical catheter
12. ทาการยึดสาย umbilical catheter ใหอ้ ยูค ่
่ งทีโดยใช ้เทปกาวยึดระหว่างสาย catheter
และผนังหน้าท้อง
13. ถ่าย x-ray เพือดู ่ ตาแหน่ งปลายสาย umbilical catheter ในกรณี ทใส่ ี่ เพือวั
่ ด CVP

โดยตาแหน่ งทีเหมาะสม
คือปลายสวน catheter ควรจะอยูเ่ หนื อกระบังลมประมาณ 0.5-1.0 เซนติเมตร
14. ห้ามทาการดันสาย umbilical catheter
ใหล้ ก ่ ้ทาการผูกยึดสาย umbilical
ึ เข ้าไปกว่าเดิมอีกหลังจากทีได
่ ยบร ้อยแล ้ว
catheter ไว ้เป็ นทีเรี

Complications (ภาวะแทรกซ ้อน)


1.
การติดเชือ้ เนื่ องจากผูป้ ฏิบต
ั ข
ิ าดความระมัดระวังในด ้านเทคนิ คการทาหัตถการแบบปลอดเ
ชือ้
2. Thrombolic or embolic phenomenon
3. Hepatic necrosis เนื่องจากใส่สาย umbilical catheter เข ้าไปใน portal system และ
อาจทาให้เกิด portal hypertension ในภายหลังได ้
4. หัวใจเต ้นผิดจังหวะ เนื่องจากใส่สาย umbilical catheter ลึกเกินไปถึงหัวใจ
5. necrotizingenterocolitis โดยเฉพาะถ ้าคาสาย umbilical venous catheter ไว ้นานเกิน
24 ช
5.กลไก phototherapy ภาวะแทรกซ ้อน

ภาวะแทรกซ ้อน

1.retanaldm

2.ผ้าปิ ดตาเลือนไปปิ ดจมูกหายใจไม่ออก

3.ถ่ายเหลวเป็ นชัวคราว

4.ขาดนา้ สูญเสียทางผิวหนัง

5.non specificerythrematous rash


6.hypertemp

7.burn

6.รูปพยาธิเข็มหมุด ยา แนะนา

Enterobiusvermicularis

วิธี DX Scotch tape technique


ยา Mebendazole 100 mg/dose po single dose
หลังจากนั้นให ้ยาซาอี
้ กภายใน 2 สัปดาห ์เพือป้
่ องกันการติดเชือซ ้ าควรให
้ ้ยาร ั

กษาทังครอบคร ัว ถึงแม้ว่าบุคคลในครอบคร ัวจะยังไม่มอ
ี าการก็ตาม

วิธีในการป้ องกันโรคนี้ทาอย่างไร

่ กเเสงเเดดเเละความร ้อนดังนั้นคว
ไข่พยาธิจะถูกทาลายได ้ง่ายเมือถู
่ าเครีองนอนเเละเครื
รหมันน ่ ่ ่ งห่มมาตากเเดดร ักษาอนามัยส่วนบุค
องนุ

คลเเละครอบคร ัวในเด็กเล็กควรตัดเล็บให ้สันเเละล ้างมือให ้สะอาดก่อน
่ พยาธิควรทาครีมบริเวณทวารหนักให ้เด็กก่อนน
กินอาหารส่วนเด็กทีมี
อนเเละสวมชุดนอนทีมิ ่ ดชิดไม่หลวมเพือป้
่ องกันไม่ให ้เด็กเกาก ้นระหว่
้ นการป้ องกันการเเพร่กระจายของไข่พยาธิ
างนอนหลับอีกทังเป็

7.Iron deficiency anemia


TxIron 4-6 MKD/2-3 PO Fer in sol Fe 15 mg/0.6ml

8.Jet NB
9.แนะนา G6PD
ผู ้ป่ วย G6PD Deficiency มักไม่แสดงอาการผิดปกติจนกว่าร่างกายจะได ้รับอาหารหรือยาบางชนิ ด

ซึงอาจมี อาการของภาวะโลหิตจางจากการสลายตัวของเซลล ์เม็ดเลือดแดง ดังนี ้
 อ่อนเพลีย
 เวียนศีรษะ
 รู ้สึกสับสน
 มีไข ้
 ไม่สามารถทากิจกรรมต่าง ๆ ได ้ตามปกติ
 ผิวหนังซีด ตัวเหลืองตาเหลือง
 ตับหรือม ้ามโต
 ปัสสาวะมีสเี ข ้ม
 หายใจไม่อม ิ่
 หัวใจเต ้นเร็ว
้ กหายเป็ นปกติภายในไม่กสั
โดยอาการเหล่านี มั ่ี ปดาห ์หลังผูป้ ่ วยได ้รบั การรกั ษา
สาเหตุของ G6PD Deficiency

G6PD Deficiency เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม ซึงผู ่ ช ่ อภาวะนี มากกว่


้ ายเสียงต่ ้ าผูห้ ญิง
นอกจากนี ้ การใช ้ยาบางชนิ ดอาจกระตุนให้
้ ผูป้ ่ วยเกิดการสลายตัวของเซลล ์เม็ดเลือดแดงได ้ ดังนี ้
 ยากลุม่ NSAIDs บางชนิ ด
 ยาแอสไพริน
 ยาปฏิชวี นะบางชนิ ด เช่น ยากลุม
่ ซัลฟา หรือไนโตรฟูแรนโทอิน เป็ นต ้น
 ยาต ้านมาเลเรียบางชนิ ด เช่น ควินิน หรือควินิดน ี เป็ นตน้

G6PD Deficiency เป็ นภาวะทีเกิ ่ ดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมจึงไม่มวี ธิ กี ารร ักษาใหห้ ายขาด


แต่มแี นวทางการรักษาและควบคุมอาการไม่ให้แย่ลง ได ้แก่
 ่ จจัยกระตุนที
หลีกเลียงปั ่
้ อาจส่ ่
งผลใหเ้ กิดการสลายตัวของเซลล ์เม็ดเลือดแดง เช่น หลีกเลียงอาหาร ยา
หรือสารเคมีบางชนิ ดทีอาจท ่ าใหเ้ กิดภาวะเม็ดเลือดแดงสลายตัว เป็ นต ้น
 ้
ใช ้ยาร ักษาหากมีภาวะติดเชือร่วมด ้วย
 บาบัดด ้วยออกซิเจนหรือการถ่ายเลือด เพือเพิ ่ มปริ
่ มาณเซลล ์เม็ดเลือดแดงและออกซิเจนในเลือด
่ ภาวะโลหิตจางขันรุ
ส่วนผูป้ ่ วยทีมี ้ นแรง
ต ้องเข ้าร ับการรกั ษาในโรงพยาบาลจนกว่าจะหายเป็ นปกติและไม่พบภาวะแทรกซ ้อนใด ๆ
การป้ องกัน G6PD Deficiency

แม้ไม่มวี ธิ ป
ี ้ องกัน G6PD Deficiency เพราะภาวะนี มี ้ สาเหตุมาจากพันธุกรรม
แต่ผู ้ป่ วยสามารถหลีกเลียงปั ่ จจัยทีก่
่ อใหเ้ กิดการสลายตัวของเซลล ์เม็ดเลือดแดงซึงท
่ าใหเ้ กิดอาการเจ็บป่
วยได ้ ด ้วยวิธด ี งั ต่อไปนี ้
 ร ักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยูเ่ สมอ รวมทังท ้ าจิตใจใหเ้ บิกบาน ผ่อนคลาย และไม่เครียด
 ่
ห ้ามร ับประทานอาหารหรือใช ้ยาบางชนิ ดทีอาจกระตุ นให้
้ เกิดการสลายตัวของเซลล ์เม็ดเลือดแดง
่ ้ป่ วยไม่ควรซือยาหรื
ซึงผู ้ ออาหารเสริมมาใช ้เอง
้ั าตนเองป่ วยด ้วยภาวะนี ้
และต ้องแจ ้งให ้แพทย ์หรือเภสัชกรทราบทุกครงว่
 ่
ห ้ามใช ้ลูกเหม็นหรือสารเคมีบางชนิ ดทีอาจกระตุ นให
้ เ้ ซลล ์เม็ดเลือดแดงสลายตัว
ิ่
รีบไปพบแพทย ์ทันทีหากพบว่าตนเองมีอาการผิดปกติ เช่น อ่อนเพลีย ตัวเหลืองตาเหลือง หายใจไม่อม
หรือปัสสาวะมีสเี ข ้ม เป็ นต ้น
10.Plot graph W/A H/A mid parietal height
Mid parental height
ซ ักประวัติ Headach Dx DDx 1โรค

Ans ทักทายผูป้ ่ วยและแนะนาตัว


้ั
Onset อาการปวด และเป็ นครงแรกหรื
อเคยเป็ นมาก่อน

ตาแหน่ งทีปวด ่
และร ้าวไปทีใด

ลักษณะการปวด และการดาเนิ นโรค

อาการปวดรุนแรงมากเพียงใด
่ าให ้ดีขนหรื
ปัจจัยทีท ึ้ อแย่ลง

ปัจจัยกระตุ ้น
่ นมาเพราะปวดหั
ปวดเวลากลางคืนหรือตืนขึ ้ ว

อาการร่วม
ไข ้ อาเจียน ช ัก แขนขาอ่อนแรง ตาพร่ามัว บุคลิกภาพเ

ปลียน

โรคประจาตัว
่ ้เป็ นประจา ประวัตก
ยาทีใช ิ ารแพ ้ยา

แนวทางการซ ักประวัตเิ พือหาโรค

ี่
1. อิงตามสาเหตุทพบบ่ อยๆ และอิงตามระบบ

2. กลุม ่ ้อง rule in / rule out คือ


่ โรคทีต
2.1 Primary headache – migraine, tension,
cluster (functional headache)
(chronic non progressive) –
ี่ เคยเป็ นไม
ห ้ามวินิจฉัยไมเกรนในผู ้ป่ วยสูงอายุทไม่
เกรนมาก่อน
2.2 Secondary headache – มีสาเหตุหรือ organic
headache ่
ทีพบบ่ อยและน่ าสนใจคือ
่ ดในชีวต
- sudden severe --- SAH (ปวดมากทีสุ ิ
ตาพร่า แพ้แสงแดด คอแข็ง พบในคน
อายุ > 40ปี )
- acute --- Intracranial hematoma, Gnathostomiasis

- chronic progressive --- tumor, abscess,


hydrocephalus, chronic SDH

- fever --- febrile headache, meningitis, herpes


encephalitis

- other --- post coital ,menstrual, drug induced


headache ***

2.3 Extracranial ---toothache, TMJ, mastoid, sinusitis,


temporal arteritis

2.4 Neuralgia --- trigeminal neuralgia, postherpetic


neuralgia ***

แสดงวิธฉ
ี ี ดวัคซีนในอายุ 6 เดือน

Ans ตอบ 6เดือนก็ฉีด Dtp (im) opv(oral) ครงที ้ั 3


่ แล ้วก็advice ว่าอาจมี ไข ้
้ั อไป 9เดือนเป็ ฯ MMR JE ครงแรก
abscess ปอดบวม ได ้ แล ้วก็นัดฉี ดครงต่ ้ั

Vous aimerez peut-être aussi