Vous êtes sur la page 1sur 18

บทนำำ

“ หลัก การสำา คั ญของการปฏิ บั ติง านด้ า นมนุ ษ ยธรรม


คื อ ก า ร บ ร ร ลุ ถึ ง สิ ่ ง ที ่ จำา เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ ่ ง
ในการดำารงชีวิตอย่างมีศักดิศ
์ รี”
“ Meeting essential needs and restoring life with
dignity are core principles that should inform all
humanitarian action”

จุดมุ่งหมายของกฎบัตรแห่งมนุษยธรรม
(Humanitarian Charter) และมาตรฐานขัน
้ ตำ่า (Minimum
Standards) คือ เพือ
่ เพิม
่ ประสิทธิภาพของการให้ความ
ช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และเพือ
่ ให้องค์กรมนุษยธรรม
ต่าง ๆ เพิม
่ ความรับผิดชอบมากขึน
้ ทัง้ นีด
้ ้วยความเชือ

มัน
่ สองประการว่าเราควรจะทำาทุกวิถีทางทีเ่ ป็ นไปได้เพือ
่ จะ
บรรเทาความทุกข์ทรมานจากสงครามและภัยพิบัติ และ
อีกประการ คือ ผ้้ประสบภัยพิบัติมีสิทธิทีจ
่ ะมีชีวิตอย่างมี
ศักดิศ
์ รีและมีสิทธิทีจ
่ ะได้รับความช่วยเหลือ
หนังสือเล่มนีเ้ ป็ นผลสำาเร็จจากความร่วมมือกว่าสองปี
ของหลายองค์กรทีจ
่ ะกำาหนดกฎบัตรแห่งมนุษยธรรม และ
มาตรฐานขัน
้ ตำ่า เพือ
่ ให้สิทธิของประชาชนตามกฎบัตรมี
ความคืบหน้าทีด
่ ีขึน
้ มาตรฐานนัน
้ หมายรวมถึง การให้
ความช่วยเหลือในสถานการณ์ภัยพิบัติ ด้านนำา

สุขาภิบาล โภชนาการ อาหาร ทีอ
่ ย่อ
้ าศัย การหา
พืน
้ ทีพ
่ ักพิง และการบริการอนามัย

กฎบัติแห่งมนุษยธรรม
หลักของหนังสือเล่มนีอ
้ ย่้ทีก
่ ฎบัตรแห่งมนุษยธรรม
(บทที ่ 1) กฎบัตรบรรยายถึงหลักการสำาคัญซึง่ ควบคุม
การปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม และยืนยันสิทธิของ
ประชาชนทีจ
่ ะได้รับความคุ้มครองและความช่วยเหลือ
โดยมีพืน
้ ฐานจาก กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ
(international humanitarian law) , กฎหมายสิทธิมนุษยชน
ระหว่างประเทศ (international human right law) ,
กฎหมายผ้้อพยพ (refugee law) และระเบียบปฏิบัติการ
ดำาเนินการบรรเทาทุกข์ภัยพิบัติ สำาหรับสภากาชาดและ
สภาเสีย
้ ววงเดือนแดงระหว่างประเทศและองค์กรอิสระ
(Code of Conduct for the International Red Cross and
Red Crescent Movement and NGOs in Disaster Relief)

กฎบัตร บ่งถึงความรับผิดชอบทางกฎหมายของรัฐ
และกลุ่มการเมืองในการรับรองสิทธิประชาชนทีจ
่ ะได้รับ
ความช่วยเหลือและความคุ้มครอง หากรัฐไม่สามารถตอบ
สนองสิง่ เหล่านีร้ ัฐจะอนุญาตให้องค์กรด้านมนุษยธรรมเข้า
มาให้ความช่วยเหลือได้
- 2 -

มำตรฐำนขัน
้ ตำ่ำ
มาตรฐานขัน
้ ตำ่า (บทที ่ 2) ได้รับการพัฒนา
จากผ้้เชีย
่ วชาญด้านต่าง ๆ ทัง้ ห้าด้าน
มาตรฐานและดัชนีส่วนใหญ่ไม่ใช่สิง่ ใหม่ แต่ได้ถก
้ รวบรวม
และปรับให้เหมาะสมด้วยความร้้ทางวิชาการและทางปฏิบัติ
สิง่ เหล่านีแ
้ สดงให้เห็นถึงความคิดทีส
่ อดคล้องต้องกันอย่าง
กว้างขวางขององค์กรต่าง ๆ และเกิดความมัน
่ ใจได้ว่า
หลักการด้านมนุษยธรรมนัน
้ เป็ นจริงในทางปฏิบัติ

ข อ บ เ ข ต แ ล ะ ข้ อ จำำ กั ด ข อ ง ก ฎ บั ต ร แ ห่ ง
ม นุ ษ ย ธ ร ร ม แ ล ะ ม ำ ต ร ฐ ำ น ขั้ น ตำ่ ำ
การที อ
่ งค์ ก รจะบรรลุ ถึ ง มาตรฐานขั ้น ตำ่ า ได้ นั ้น ขึ้น กั บ
ปั จจัยหลายประการ มีทัง้ ปั จจัยทีค
่ วบคุมได้และปั จจัยทีอ
่ ย่้
นอกเหนื อ การควบคุ ม เช่ น การเมื อ ง, ความมั่ น คง
ปั จจั ย ที ส
่ ำา คั ญ เป็ นพิ เ ศษ คื อ ขอบเขตที อ
่ งค์ ก รต่ า ง ๆ
สามารถเข้ า ถึ ง ผ้้ ป ระสบภั ย , การได้ รั บ ความยิ น ยอมและ
ความร่วมมือจากเจ้าหน้าทีผ
่ ้มีอำา นาจรับผิดชอบ และการ
ปฏิบั ติง านในภาวการณ์ที ม
่ ีค วามปลอดภั ย พอ ทรั พ ยากร
ทางเศรษฐกิ จ , บุ ค ลากรและเครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ เ ป็ นอี ก
ประการซึ่งมีความจำา เป็ น ลำา พังหนังสือเล่มนี ้ ไม่สามารถ
จะบั ญ ญั ติ เ กณฑ์ ห รื อ แนวทางประเมิ น การปฏิ บั ติ ง านด้ า น
ม นุ ษ ย ธ ร ร ม ที
สมบ้รณ์พร้อมได้
ในขณะทีก
่ ฎบัตรบรรยายถึงหลักการด้านมนุษยธรรม
ทัว
่ ไป มาตรฐานขัน
้ ตำ่าไม่ได้บรรยายครอบคลุมทุกด้านของ
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม ประการแรกไม่
ได้ครอบคลุมถึงการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมทุก
ร้ปแบบ ประการทีส
่ องซึง่ สำาคัญมาก คือ ไม่ได้พ้ดถึง
การให้การปกป้ องคุ้มครองด้านมนุษยธรรม
องค์กรด้านมนุษยธรรม มักประสบกับสถานการณ์ซงึ่
คุกคามรากฐานการดำารงชีพ ความปลอดภัยของชุมชน
หรือกลุ่มประชากรอย่้บอ
่ ย ๆ เช่น การละเมิดกฎหมาย
ระหว่างประเทศ ซึง่ อาจคุกคามโดยตรงต่อการมีชว
ี ิต วิถี
ทางทีจ
่ ะอย่้รอดหรือความปลอดภัยในภาวะสงคราม สิง่ ที ่
น่าเป็ นห่วงอย่างยิง่ คือ การปกป้ องประชาชนจากการถ้ก
คุกคามเช่นนี ้
มาตรการและกลไกทีจ
่ ะทำาให้เกิดความมัน
่ ใจว่าจะได้
รับความคุ้มครองไม่ได้มีรายละเอียดในหนังสือเล่มนี ้
อย่างไรก็ตามสิง่ สำาคัญทีจ
่ ะต้องเน้น คือร้ปแบบและวิธีการ
บรรเทาทุกข์อาจส่งผลต่อความปลอดภัยของประชาชนทัง้
ด้านบวกหรือด้านลบก็ได้ กฎบัตรแห่งมนุษยธรรมช่วยให้
ตระหนักว่า ความพยายามให้ความช่วยเหลือในภาวะ
สงคราม อาจส่งผลให้ประชาชนเสีย
่ งต่อ

- 3 -

การถ้กทำาร้ายมากยิง่ ขึน
้ หรือก่อให้เกิดความได้เปรียบแก่
ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ โดยมิได้ตัง้ ใจ องค์กรต่าง ๆ จะต้อง
พยายามหลีกเลีย
่ งผลลัพธ์ข้างเคียงเหล่านีใ้ ห้มากทีส
่ ุดทีจ
่ ะ
ทำาได้
กฎบัตรแห่งมนุษยธรรม และมาตรฐานขัน
้ ตำ่า ไม่ได้
ช่วยแก้ปัญหาทุกอย่างของการปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม
และไม่สามารถป้ องกันความทุกข์ทรมานของประชาชนได้
สิง่ ทีจ
่ ะให้ได้ คือ เครือ
่ งมือในการเพิม
่ ประสิทธิภาพและ
คุณภาพของการให้ความช่วยเหลือขององค์กรด้าน
มนุษยธรรม ทำาให้ชว
ี ิตของผ้้ประสบภัยมีความ
เปลีย
่ นแปลงในทางทีด
่ ีขึน

บทที ่ 1 กฎบัตรแห่ง
มนุษยธรรม
- 5 -

กฎบัตรแห่งมนุษยธรรม

องค์ ก รด้ า นมนุ ษ ยธรรมซี ง่ ให้ คำา มั่น ต่ อ กฎบั ต ร และ


มาตรฐานขัน
้ ตำ่ านีม
้ ุ่ งที จ
่ ะบรรลุ ส่้ก ารให้ บ ริก ารแก่ ผ้ป ระสบ
ภั ย พิ บั ติ แ ละภั ย สงคราม ในระดั บ มาตรฐานที ก
่ ำา หนดไว้
แ ล ะ จ ะ ส นั บ ส นุ น ก า ร
ปฏิบัติตามรากฐานของหลักการมนุษยธรรม
“Humanitarian agencies committed to this Charter
and to the Minimum Standard will aim to achieve
defined levels of service for people affected by calamity
or armed conflict, and to promote the observance of
fundamental humanitarian principles.”
กฎบัตรแห่งมนุษยธรรม แสดงถึงคำามัน
่ ขององค์กรต่าง
ๆ ต่อหลักการและการบรรลุส่้มาตรฐานขัน
้ ตำ่าคำามัน
่ นีม
้ ีพืน

ฐานจากภาวะหน้าทีต
่ ามจรรยาขององค์กรต่าง ๆ เองและ
สะท้อนให้เห็นสิทธิและหน้าทีต
่ ามกฎหมายระหว่างประเทศ
ซึง่ รัฐและกลุ่มการเมืองทำาพันธสัญญาไว้
กฎบัตรนีค
้ ำานึงถึงความจำาเป็ นขัน
้ พืน
้ ฐาน สำาหรับผ้้
ประสบภัยพิบัติและภัยสงครามทีจ
่ ะดำารงชีวิตอย่างมีศักดิศ
์ รี
มาตรฐานขัน
้ ตำ่าเชิงปริมาณของความจำาเป็ นเหล่านี ้ มุ่ง
พิจารณาความต้องการด้าน นำา
้ สุขาภิบาล โภชนาการ
อาหาร ทีอ
่ ย่อ
้ าศัยและการบริการอนามัย เมือ
่ นำามารวม
กัน กฎบัตรแห่งมนุษยธรรมและมาตรฐานขัน
้ ตำ่า ช่วย
สนับสนุนให้เกิดโครงร่างทีจ
่ ะพยายามให้ความช่วยเหลือ
ด้านมนุษยธรรมด้วยความรับผิดชอบ

1. หลักกำร
จำา เป็ นต้ อ งยื น ยั น อี ก ครั ้ ง ถึ ง ความจำา เป็ นด้ า น
ม นุ ษ ย ธ ร ร ม ซึ่ ง สำา คั ญ ที ่ สุ ด คื อ ค ว า ม
พยายามทุกวิถีทางทีจ
่ ะป้ องกันและบรรเทาความทุกข์
ทรมานจากภัยสงครามและภัยพิบัติ ซึง่ ผ้้ประสบภัยมีสิทธิที ่
จะได้รับความคุ้มครองและความช่วยเหลือ

หลักการนีอ
้ ย่้บนพืน
้ ฐานความเชือ
่ มัน
่ ทีส
่ ะท้อน
ถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศและพืน
้ ฐาน
มนุษยธรรม ซึง่ องค์กรต่าง ๆ ได้เสนอตัวทีจ
่ ะให้บริการ
ในฐานะองค์กรด้านมนุษยธรรม โดยปฏิบัติงานด้วยหลัก
การของมนุษยธรรม, ความไม่ลำาเอียงและหลักการอืน
่ ๆ
ตามระเบียบปฏิบัติการบรรเทาทุกข์ภัยพิบัติสำาหรับสภา
กาชาดและสภาเสีย
้ ววงเดือนแดงระหว่าง

- 6 -

ประเทศ และองค์กรอิสระปี 1994 (Code of Conduct


for the International Red Cross and Red Crescent
Movement and Non-Government Organizations in
Disaster Relief 1994)

กฎบัตรแห่งมนุษยธรรมยืนยันรำกฐำนควำม
สำำคัญของหลักกำรต่อไปนี ้

1.1 สิทธิทีจ
่ ะมีชีวิตอย่ำงมีศักดิศ
์ รี
สิ ท ธิ นี ส
้ ะท้ อ นถึ ง มาตรการทางกฎหมายที ค
่ ำา นึ ง สิ ท ธิ
ข อ ง ก า ร มี ชี วิ ต ที ่ มี ม า ต ร ฐ า น ก า ร ดำา ร ง
ชีวิตทีด
่ ี มีอิสระรอดพ้นจากการถ้กทารุณและการถ้ก
ลงโทษทีผ
่ ิดวิสัยมนุษย์ เราเข้าใจสิทธิของปั จเจกชน เมือ

ถ้กคุกคามต่อชีวิต ว่ามีสิทธิทีจ
่ ะดำาเนินการใด ๆ เพือ
่ ที ่
จะรักษาชีวิต และเป็ นหน้าทีร
่ ่วมกันของคนอืน
่ ๆ ด้วยทีจ
่ ะ
ดำาเนินการเช่นนัน
้ เป็ นหน้าทีท
่ ีจ
่ ะไม่รัง้ รอหรือขัดข้องทีจ
่ ะ
ให้ความช่วยเหลือในการช่วยชีวิต กฎหมายมนุษยธรรม
ระหว่างประเทศมีข้อกำาหนดเฉพาะไว้สำาหรับการให้ความ
ช่วยเหลือประชาชนในยามสงครามว่ารัฐและกลุ่มการเมือง
จะเห็นชอบต่อการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม โดย
ไม่ลำาเอียง เมือ
่ ประชาชนต้องการสิง่ ทีจ
่ ำาเป็ นต่อการดำารง
ชีวิต

1.2 ข้อแตกต่ำงระหว่ำงผ้้ทำำกำรรบและผ้้ทีม
่ ิได้ทำำกำร
รบ
ข้อนีเ้ ป็ นไปตามอนุสัญญาเจนีวา ปี 1949 (Geneva
Conventions) และพิธีสารปี 1977
(Additional Protocols) ซึง่ ถ้กละเมิดมากขึน
้ เรือ
่ ย ๆ ดัง
เห็นได้จากสัดส่วนทีเ่ พิม
่ ขึน
้ ของประชาชนผ้้บาดเจ็บล้มตาย
ในช่วงครึง่ หลังของศตวรรษที ่ 20 สงครามกลางเมืองจะ
ต้องไม่ทำาให้เราลืมทีจ
่ ะแยกแยะผ้้ก่อความไม่สงบ กับ
ประชาชนทัว
่ ไปรวมทัง้ ผ้้ป่วย ผ้้บาดเจ็บและผ้้ถ้กคุมขัง
ซึง่ ไม่เกีย
่ วข้องกับการรบ ผ้้ทีม
่ ิได้ทำาการรบจะได้รับความ
คุ้มครอง ภายใต้กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศและ
ได้รับการยกเว้นจากการถ้กทำาร้าย

1.3 หลักกำรไม่ส่งกลับ (Non-refoulement)


ผ้้อพยพจะต้องไม่ถ้กส่งกลับไปยังประเทศซึง่ ชีวิต และ
เสรีภาพของพวกเขาถ้กคุมคามด้วย
เหตุทางเชือ
้ ชาติ ศาสนา สัญชาติ การเป็ นสมาชิกกลุ่ม
การมีความเห็นทางการเมือง หรือความเชือ
่ ซึง่ ทำาให้พวก
เขาเป็ นอันตรายจากการถ้กทารุณกรรม

- 7 -

2. บทบำทและควำมรับผิดชอบ
2.1 ผ้้ประสบภัยพิบัติหรือภัยสงครามจะพยายามช่วย
เหลือตนเองทีจ
่ ะได้มาซึง่ ความจำา เป็ นพื้ น ฐานเป็ นอั น ดั บ
แรก หากเกิ น ศั ก ยภาพที ่ จ ะรั บ มื อ ได้ รั ฐ จะ
ต้ องเป็ นผ้้ ที ่มี บ ทบาทรับผิดชอบในเบือ
้ งต้น

2.2 กฎหมายระหว่ า งประเทศให้ สิ ท ธิ ผ้ ป ระสบภั ย ใน


การรับความคุ้มครองและความช่วยเหลือ และกำาหนดให้
รั ฐ หรื อ กลุ่ ม การเมื อ งผ้้ ก่ อ สงครามมี ห น้ า ที ่ต าม
กฎหมายที จ
่ ะให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ นั ้น หรื อ อนุ ญ าตให้ ผ้
ประสบภั ย ได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ ได้ และป้ องกั น ยั บ ยั ้ง
พฤติ ก รรม การละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน สิ ท ธิ แ ละ
ห น้ า ที ่ เ ห ล่ า นี ้ บั ญ ญั ติ อ ย่้ ใ น ก ฎ ห ม า ย สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น
ระหว่างประเทศ, กฎหมายมนุ ษ ยธรรมระหว่ า ง
ประเทศ และกฎหมายผ้้ อ พยพ (ด้ทีม
่ าด้านล่าง)

2.3 ในฐานะองค์ ก รด้ า นมนุ ษ ยธรรม เรากำา หนด


บทบาทของเรา โดยเป็ นผ้้ ใ ห้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ด้ า น
มนุษยธรรม เมื่อผ้้รับผิดชอบเบือ
้ งต้นไม่สามารถหรือไม่
เต็มใจทีจ
่ ะให้ความช่วยเหลือนีด
้ ้วยตนเอง บางครัง้ อาจ
เป็ นประเด็นเรื่องศักยภาพ หรืออาจเป็ นความดื้อรัน
้ ไม่
เคารพต่อ กฎหมายหรือภาระหน้าทีท
่ างจริยธรรม ส่งผล
ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น เ กิ ด ค ว า ม ทุ ก ข์ ย า ก ทั ้ ง ที ่
สามารถหลีกเลีย
่ งได้

2.4 การที ่ก ลุ่ ม การเมื อ งผ้้ ก่ อ สงครามไม่ ใ ส่ ใ จ


ประเด็นมนุษยธรรม อาจส่งผลให้ความพยายาม
ทีจ
่ ะให้ความช่วยเหลือ ในภาวะสงครามทำาให้ประชาชน
เสีย
่ งต่อการถ้กทำาร้ายยิง่ ขึน
้ หรือบางครัง้ อาจทำาให้กลุ่ม
การเมืองบางกลุ่มมีความได้เปรียบ โดยเราไม่ได้ตัง้ ใจ
เราให้พันธสัญญาว่าจะหลีกเลีย
่ งผลลัพธ์ข้างเคียงเหล่านี ้
ให้เกิดขึน
้ น้อยลง ซึง่ กลุ่มการเมืองผ้้ก่อสงครามก็มีภาระ
หน้าที ่ ทีจ
่ ะต้องเคารพประเด็นของมนุษยธรรมด้วยเช่น
กัน
2.5 เ ร า ย อ ม รั บ แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ภ า ร กิ จ ก า ร ใ ห้
ค ว า ม คุ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ข อ ง ค ณะ
กรรมการสภากาชาดระหว่ า งประเทศ (International
Committee of the Red Cross) แ ล ะ สำา นั ก ง า น
ข้ า หลวงใหญ่ เ พื่ อ ผ้้ ลี ภ
้ ั ย แห่ ง สหประชาชาติ (United
Nations High Commissioner for Refugees) ภายใต้
กฎหมายระหว่างประเทศ และหลักการทัง้ หมดข้างต้น

- 8 -

3. มำตรฐำนขั้นตำ่ำ
ม า ต ร ฐ า น ขั ้ น ตำ่ า ที ่ จ ะ ก ล่ า ว ต่ อ ไ ป อิ ง ต า ม
ป ร ะส บ ก าร ณ์ ก า ร ใ ห้ ค ว าม ช่ ว ยเ ห ลื อ ด้ าน ม นุ ษ ย -
ธรรมขององค์ กรต่ าง ๆ ถึง แม้ ว่ า การบรรลุ ส่้ม าตรฐานจะ
ขึน
้ กับปั จจัยหลายอย่าง บางประการอาจเกินความควบคุม
ของเราได้ แต่เราก็ให้สัญญากับตนเองว่าจะพยายามทีจ
่ ะ
ไปให้ถึงมาตรฐานเหล่านี ้ และคาดหมายว่ามาตรฐานนีจ
้ ะ
ได้ รั บ การยึ ด ถื อ อย่ า งสอดคล้ อ ง เราขอเชิ ญ ชวนผ้้ ป ฏิ บั ติ
ง านด้ า นมนุ ษ ยธ ร ร มอื่ น ๆ รว ม ทั ้ ง รั ฐเ อง ใ ห้ ยอ มรั บ
มาตรฐานเหล่านี ้ เป็ นแบบแผนโดยปกติวิสัย
เราจะพยายามทุ ก วิ ถี ท างที จ
่ ะมั่น ใจได้ ว่ า ผ้้ ป ระสบภั ย
พิบัติ จะได้รับความต้องการขัน
้ พืน
้ ฐานอย่างน้อยทีส
่ ุดตาม
มาตรฐานทีก
่ ำา หนดไว้ในบท 1-5 (นำ้า, สุขาภิบาล, อาหาร,
โภชนาการ, ที อ
่ ย่้ อ าศั ย และการบริ ก ารอนามั ย ) เพื่ อ
ตอบสนองสิทธิพืน
้ ฐานทีด
่ ำา รงชีวิตอย่างมีศักดิศ
์ รี เราจะยัง
คงโน้ ม นำา รั ฐ และกลุ่ ม การเมื อ งต่ า ง ๆ ให้ ท ราบ
ภ า ร ะ ห น้ า ที ่ ต า ม ก ฎ ห ม า ย สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น
ระหว่างประเทศ, กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ
และกฎหมายผ้้อพยพ
เราคาดหมายว่าจะได้รับการยอมรับตามคำา มัน
่ สัญญา
นี ้ เพือ
่ ทีจ
่ ะพัฒนาระบบความรับผิดชอบภายในองค์กรของ
เราเอง ของพันธมิ ตรและของสหพั น ธ์ เรารั บรองว่ า ความ
รั บ ผิ ด ช อ บ
ตามหลักการของเรานีจ
้ ะต้องไปส่้ผ้ทีเ่ ราให้ความช่วยเหลือ
ได้เป็ นอย่างดี

หมำยเหตุ
1. Articles 3 and 5 of the Universal Declaration
of Human Rights 1948 ; Articles 6
and 7 of the International Covenant on Civil
and Political Rights 1966; common
Article 3 of the four Geneva Conventions of 1949;
Articles 23, 55 and 59 of the Fourth
Geneva Convention; Articles 69 to 71 of Additional
Protocol I of 1977 ; Article 18 of
Additional Protocol II of 1977 as well
as other relevant rules of international
humanitarian law; Convention against
Torture and Other Cruel, Inhuman or
Degrading Treatment or Punishment 1984;
Articles 10, 11 and 12 of the International
Covenant on Economic, Social, and Cultural
Rights 1966; Articles 6, 37, and 24 of
the Convention on the Rights of the Child
1989; and elsewhere in international law.

2. The distinction between combatants and non-


combatants is the basic principle underlying
international humanitarian law. See in particular
common Article 3 of the

- 9 -

four Geneva Conventions of 1949 and Article 48


of Additional Protocol of 1977 . See
also Article 38 of the Convention on the Rights
of the Child.

3. Article 33 of the Convention on the Status of


Refugees 1951 ; Article 3 of the Convention against
Torture and other Cruel, Inhuman or Degrading
Treatment or punishment 1984; Article 22 of the
Convention on the Rights of the Child 1989.

ทีม
่ ำ
The following instruments inform this Charter:
Universal Declaration of Human Rights 1948.
International Covenant on Civil and Political Rights
1966.
International Covenant on Economic, Social and
Cultural Rights 1966.
The four Geneva Conventions of 1949 and their
two Additional Protocols of
1977.
Convention on the Status of Refugees 1951 and
the Protocol relating to the
Status of Refugees 1967.
Convention against Torture and Other Cruel,
Inhuman or Degrading Treatment or
Punishment 1984.
Convention on the Prevention and Punishment of
the Crime of Genocide 1948.
Convention on the Rights of the Child 1989.
Convention on the Elimination of All Forms of
Discrimination Against Women 1979.
Guiding Principles on Internal Displacement
1998.

Vous aimerez peut-être aussi