Vous êtes sur la page 1sur 21

กลุ่ม ศิล ปิน ผู้เ ชิด หุ่น

กระบอก
การเลือ กตั้ง ถูก ใช้เ ป็น เครื่อ งมือ ของรัฐ ทหาร

สำา นัก งานกฎหมายอัม สเตอร์ด ัม แอนด์ เพรอฟฟ์

รายงานการเลือกตั้งทั่วไปปี พ.ศ. 2 5 5 4 ฉบับที่ 1

เมื่อปีที่แล้ว รัฐบาลไทยสังหารหมู่ประชาชน 9 1 รายเพื่อหลีกเลี่ยงการเลือกตั้งก่อน

กำาหนดที่พวกกลัวจะว่าพ่ายแพ้ แต่ในที่สุด การเลือกตั้งก่อนกำาหนดที่คนเสื้อแดง

หลายสิบรายเสียสละชีวต
ิ เพื่อให้ได้มา กำาลังจะจะจัดขึ้นขึ้นราวเดือนมิถุนายนหรือ

กรกฎาคม ปี 2 5 5 4 ในขณะที่เราหวังว่า การเลือกตั้งจะปราศจากการโกงอย่าง

โจ่งแจ้งหรือบัตรผี แต่ศักยภาพการแข่งขันและความเป็นกลางของกระบวนการ [ก

ารเลือกตั้ง ] ถูกทำาลายลงในหลายรูปแบบ

การเลือกตั้งที่กำาลังในครั้งนี้จะถูกจัดขึ้นท่ามกลางการข่มขวัญและกดขี่ ร่วมกับ

ความพยายามที่จะประกันชัยชนะให้กับพรรคประชาธิปัตย์อย่างต่อเนื่องของ

สถาบันรัฐแทบทุกสถาบันในประเทศไทย นอกจากจะแข่งขันกับพรรคฝ่ายตรง

ข้ามที่ยังโซซัดโซเซแล้วกฎเกณฑ์ที่ออกแบบมาเพื่อให้พรรค [ประชาธิปัตย์] ได้รับ

ที่นั่งเพิ่มขึ้นแบบจอมปลอม ก็เป็นอีกครั้งหนึ่งที่พรรคประชาธิปัตย์จะได้ใช้
ประโยชน์จากความช่วยเหลือของทหาร ข้าราชการ ตุลาการ และกลุ่มผู้นำาที่นิยม

เจ้า โดยสถาบันเหล่านี้ได้เตรียมความพร้อม ไม่ว่าจะเรื่องทุนทรัพย์ ทรัพยากรทาง

ด้านบริหารจัดการ และรายการโทรทัศน์ ซึ่งอาจจำาเป็นในการแต่งตั้งบุคคลที่อาจ

ไม่ได้รับการเลือกตั้ง อย่างนายมาร์ค อภิสิทธิ์ ขึ้นสู่ตำาแหน่ง

นี่คือหนึ่งรายในงานหลายฉบับที่สำานักงานกฎหมายอัมสเตอร์ดัม แอนด์ เพรอฟฟ์

ได้อธิบายรายละเอียดถึงความพยายามของกลุ่มอำามาตย์ไทยที่จะเปลี่ยนผลการ

เลือกตั้งทั่วไปที่กำาลังจะมีขึ้น รายงานฉบับนี้- เป็นรายงานลำาดับที่สองของรายงาน

ทั้งหมด-ซึ่งมุ่งประเด็นไปที่ความพยายามของกองทัพไทยในการปกป้องอำานาจที่

ครอบงำาชีวิตทา

การเมืองของประเทศไทย โดยการผลิตชัยชนะเลือกตั้งให้แก่พรรคประชาธิปัตย์

และเหมือนครั้งที่ผ่านมา ความรุนแรงและการข่มขวัญคือเครื่องมือของกลุ่มนาย

พลกลุ่มนี้

1 .คำา นำา

ผู้บัญชาการทหารบก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาให้สัญญากับประชาชนไทยว่า

กองทัพจะสังเกตการณ์การเลือกตั้งทั่วไปในปี 2 5 5 4 ด้วยความเป็นกลางอย่าง

เคร่งครัด แต่เมื่อพิจารณาว่า กองทัพไทยมีขนาดใหญ่ขึ้นตั้งแต่ปี 2 5 5 4 เพื่อใช้

ชี้นำาผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งคืนผลการเลือกตั้งที่พวกเขาต้องการ และโค่นล้มรัฐบาลที่มา

จากการเลือกตั้ง จึงกล่าวได้ว่าการสนับสนุนของพวกเขาไม่มีคุณค่าอะไร และการ

ใช้หุ่นเชิดของตนเองในการเลือกตั้งที่ดุเดือด จึงเป็นไปไม่ได้เลยที่เหล่านายพลจะ

ไม่ยุ่งกับเรื่องนี้ ที่จริงแล้ว การเลือกตั้งปี 2 5 5 0 กองทัพมีผู้เข้าชิงตำาแหน่งนายก

รัฐมนตรีของพวกเขาเอง นั้นก็คือ นายมาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ แต่ทว่า ความ

พยายามที่จะป้องกันไม่ให้พรรคประชาธิปัตย์พ่ายแพ้การเลือกตั้งในปี 2 5 5 0 ของ

พวกเขาล้มเหลว ครั้งนี้ กองทัพไทยมุ่งมั่นที่จะทำาทุกอย่างที่จะผลิตที่นั่งในสภาผู้


แทนราษฎรส่วนใหญ่ให้นายมาร์ค อภิสิทธิ์ เพราะไม่เพียงแต่บทบาทการครอบงำา

เหนือระบบการเมืองประเทศไทยของกองทัพจะสั่นคลอนในการเลือกตั้งเหล่านี้

เท่านั้น แต่สิ่งที่น่ากลัวยิ่งกว่านั้นคือ การชนะของฝ่ายตรงข้ามอาจส่งผลให้เหล่า

นายพลระดับสูงถูกสอบสวนและดำาเนินคดีเรื่องบทบาทการสังหารหมู่ผู้ชุมนุมเสื้อ

แดงในเดือนเมษายนและพฤษภาคมปี 2 5 5 3 ของพวกเขา ดังนั้น การพ่ายแพ้การ

เลือกตั้งปี 2 5 5 4 จึงไม่ใช่ตว
ั เลือกของกองทัพไทย

ในการให้สัมภาษณ์เมื่อหลายเดือนก่อน นายมาร์ค อภิสิทธิ์จินตนาการกุเรื่องขึ้นมา

ว่ากองทัพไทยอยู่ภายใต้การควบคุมของพลเรือน แต่เมื่อพิจารณาว่า เขาเป็นหนี้

บุญคุณเหล่านายพลที่ช่วยอุ้มสมให้ดำารงตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี ท่านนายกน่าจะรู้

ดีว่าอะไรเป็นอะไร การเลือกเอานายอภิสิทธิ์มาบังหน้า แสดงให้เห็นว่ากองทัพไทย

เรียนรู้บทเรียนจากปี 2 5 3 5 เพราะการที่พลเอกสุจินดา คราประยูรยืนยันจะดำารง

ตำาแหน่งนายกรัฐมนตรีด้วยตนเอง ทำาให้เกิดการประท้วงใหญ่ใน

กรุงเทพมหานคร และลงเอยด้วยการสังหารหมู่ผู้ประท้วงมือเปล่า ซึ่งมักเกิดขึ้นเป็น

ประจำา และเพื่อจะหลีกเลี่ยงหายนะดังกล่าวอีกครั้ง ภาพลักษณ์ที่สุภาพและความ

เป็นผู้ดีของนายอภิสิทธิ์จึงเป็นภาพอุดมคติที่นำามาใช้ปกปิดการครอบงำาทางการ

เมืองของกองทัพ ความจริงคือ กองทัพไทยแทบจะไม่เคยอยู่ภายใต้การควบคุม

ของพลเรือนเลย ที่แย่กว่านั้นคือ ทุกวันนี้ เหล่านายพลมีอำานาจมากขึ้นกว่าเมื่อสิบ

ปีที่แล้วมาก

นอกจากกองทัพไทยจะทำารัฐประหารมากกว่ากองทัพประเทศใดในโลกสมัยใหม่

แล้ว กองทัพไทยยังมีอำานาจในทุกซอกทุกมุมของการเมืองไทย ขณะเดียวกัน งบ

ประมาณที่เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของกองทัพไทยหลังจากรัฐประหารในปี 2 5 4 9 รวม

ถึงเหตุการณ์ในเดือนเมษายนและพฤษภาคมยังแสดงให้เห็นว่าหน้าที่และ

พันธกรณีของกองทัพมีต่อคุณค่าของระบอบประชาธิปไตยนั้นเป็นเรื่องที่เกินกว่า

จะวิเคราะห์ได้ ต่างจากผู้นำาทางทหารคนก่อน พลเอกประยุทธ์ จันโอชา บุคคลทีด


่ ู
เหมือนภาพล้อการ์ตูนผู้นำาเผด็จการทั่วไปจากประเทศโลกที่สามมากขึ้นทุกวัน

รู้สึกยากที่จะต่อต้านสิ่งล่อใจที่กระสันอยากจะยำ้าเตือนสาธารณชนว่า เขาเป็นผู้ที่มี

อำานาจอย่างแท้จริง โดยเกือบทุกวัน เขาออกมาข่มขู่ประชาชนด้วยการคุยโว

โอ้อวดหลายเรื่อง ซึ่งอยู่นอกเหนืออำานาจอันน้อยนิดตามรัฐธรรมนูญ และที่ยิ่งกว่า

นั้นคือสติปัญญาของเขา การจัดการเรื่องความขัดแย้งชายแดนกับประเทศกัมพูชา

ของกองทัพ ยังแสดงให้เห็นถึงหลักฐานชัดเจนที่เหล่านายพลไม่รับคำาสั่งจาก

พลเรือน เมื่อไม่นานมานี้มีเรื่องที่น่าอับอายเกิดขึ้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวง

กลาโหม พลเอกประวิตรและพลเอกประยุทธ์ไม่ยอมให้อินโดนีเชียเข้ามาเป็น

ตัวกลางในการไกล่เกลี่ยปัญหา ทั้งที่รัฐบาลนายอภิสิทธิเห็นชอบกับข้อเสนอ

ทำาให้เจ้าหน้ากัมพูชาสงสัยว่าเหล่านายพลหรือพลเรือนกันแน่ที่มีสิทธิ์เจรจา

เพราะกองทัพมีอิสระที่จะเพิกเฉยต่อคำาสั่งของรัฐบาลพลเรือนปัญญาอ่อนอย่างชัด

แจ้ง พลเอกประยุทธ์จึงตั้งใจจะนำากลุ่มรัฐบาลทาสของนายมาร์ค อภิสิทธิ์กลับคืนสู่

อำานาจ และถ้าหากเป็นไปได้ ก็จะทำาโดยผ่านวิธีการที่ให้อำานาจรัฐบาลในการอ้าง

ความถูกต้องตาม “ประชาธิปไตย”

อย่างไรก็ตาม รายงานฉบับนี้พิเคราะห์ความสัมพันธ์ของพลเรือนและทหารในรัฐ

ไทย เน้นเรื่องการครอบงำาของกองทัพไทยที่มีเหนือรัฐบาลพลเรือนในประเทศ

นอกจากนี้รายงานยังแสดงให้เห็นถึงบทบาทสำาคัญของทหารที่สนับสนุนพรรค

ประชาธิปัตย์ในการเลือกตั้งที่กำาลังจะเกิดขึ้น นอกจากนี้ ข่าวลือเรื่องรัฐประหาร

บ่อยครั้ง การใช้ข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพกล่าวหาผู้ไม่จงรักภักดีต่อสถาบัน

กษัตริย์ และคำาขู่เรื่องอนาคตที่ไร้เสถียรภาพและวุ่นวายเป็นไปเพื่อข่มขวัญให้ทอด

ทิ้งฝ่ายตรงข้ามในการเลือกตั้ง และนอกจากนี้ กองทัพไทยใช้เงินจำานวนมหาศาล

องค์กรและทรัพยากรกำาลังทหารไปกับการหาเลียงเลือกตั้งให้ผู้สมัครแบบแบ่งเขต

ระดมผู้ลงคะแนนเสียงให้พรรคประชาธิปัตย์ และกดขี่การลงคะแนนเสียงของฝ่าย

ตรงข้าม
2 . กองทัพ ปกครองโดยใช้พ ลเรือ นบัง หน้า

หลายปีที่ผ่านมา เราได้เห็นความพยายามของกองทัพในการอ้างสิทธิ์ใช้อำานาจใน

ระดับที่ไม่เคยมีมาก่อน นับตั้งแต่เหตุการณ์ “พฤษภาทมิฬ”ในปี 2 5 3 5 จากวิสัย

ทัศน์ของกองทัพ รัฐประหารในวันที่ 1 9 กันยายน 2 5 4 9 คือการกระทำาที่ออกแบบ

มาเพื่อป้องกันไม่ให้พวกเขาหมดความสำาคัญจากการเมือง เหล่านายพลมุ่งมั่น

อย่างรวดเร็วที่จะกำาจัดภัยที่คุกคามอำานาจนอกรัฐธรรมนูญของพวกเขา นั้นคือ

นักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งและได้รับความนิยม ประวัติศาสตร์ล่าสุดยังคง

สอนกองทัพว่าการปกครองโดยตรงของกองทัพเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะหรือเป็น
ประโยชน์ในโลกสมัยใหม่ ดังนั้นแทนจะพยายามขยายฐานอำานาจของกลุ่มนาย

ทหารที่ร่วมกันยึดอำานาจในปี 2 5 4 9 เหล่านายพลกลับหาวิธีสร้างความแข็งแกร่ง

ให้กับอำานาจทางการเมืองของพวกเขา และในขณะเดียวกันก็ล่าถอยมาเพื่อกำาบัง

ตนเองอยู่หลังระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

เพราะการกระทำาที่ยุ่งเหยิงและน่าชิงชังอย่างต่อเนื่องของพวกเขา จึงทำาให้

กองทัพห่างไกลจากความสำาเร็จในความพยายามที่จะเข้าครอบงำาระบบการเมือง

ไทยอีกครั้ง แม้จะมีนโยบายที่ทำาลายพรรคไทยรักไทยอย่างไม่หยุดหย่อน สิ่งที่

พวกเขาต้องการประการแรกคือ นำารัฐบาลพลเรื่องที่อ่อนแอกลับเข้ามาบริหาร

ประเทศเหมือนครั้งที่ประเทศไทยเคยเป็น ก่อนที่ทักษิณจะเข้ามามีอำานาจ นอกจาก

นี้เมื่อกองทัพล้มเหลวที่จะประกันชัยชนะการเลือกตั้งในปี 2 5 5 0 ให้แก่พรรค

ประชาธิปัตย์ กองทัพจึงร่างกลไกที่สร้างความมั่นคงของพวกเขาในรัฐธรรมนูญ

ฉบับใหม่ เพื่อป้องกันไม่ให้การพ่ายแพ้การเลือกตั้งมีผลกระทบในแง่ลบหรือนาน

จนเกินไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในขณะนี้เหล่านายพลสามารถพึ่งพากลุ่มตุลาการ

ตกเป็นเครื่องมือทางการเมือง -โดยพวกเขาได้รับอำานาจจากรัฐธรรมนูญปี 2 5 5 0

ให้เปลี่ยนผลการเลือกตั้งได้อย่างอิสระและช่วยทำาให้การถอดถอนรัฐบาลที่มาจาก
การเลือกตั้งดูเหมือนว่าเป็นเรื่องที่ถูกต้องตามกฎหมาย หลังจากคำาพิพากษาของ

ศาล ที่สั่งยุบพรรคพลังประชาชน และสองพรรคเล็กร่วมรัฐบาลในปี 2 5 5 1 กองทัพ

ไทยประสบความสำาเร็จในการใช้อิทธิพลของตนแต่งตั้งนายมาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชา

ชีวะให้ดำารงตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยการสนับสนุนของพรรคที่เข้าร่วมกับ

พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งในจำานวนนั้นประกอบนักการเมืองที่ไร้หลักการอย่างที่สุด

ซึ่งเคยสนับสนุนรัฐบาลชุดก่อน

ก่อนการแต่งตั้งนายมาร์ค อภิสิทธิ์เป็นนายกรัฐมนตรี กองทัพไทยได้ตกลงเจรจา

เรื่องผลประโยชน์ทั้งสองฝ่ายกับพรรคประชาธิปัตย์ พรรคประชาธิปัตย์ไม่มีทางได้

รับตำาแหน่งอันทรงเกียรติและมีอิทธิพล โดยการอาศัยความแข็งแกร่งทางการ

เลือกตั้งเพียงอย่างเดียว ในทางกลับกัน นักการเมืองประชาธิปัตย์เสนอคณะรัฐบาล

พลเรือนเพื่อเป็นคราบกำาลังให้เหล่านายพล สามารถใช้บริหารประเทศได้โดยไม่

ต้องยึดอำานาจโดยตรง เพราะแนวคิดอนุรักษ์นิยมและต่อต้านประชาธิปไตยของ

พรรคประชาธิปัตย์ รวมถึงความอ่อนแอของพรรคร่วมรัฐบาล คณะรัฐบาลของ

นายมาร์ค อภิสิทธิ์จึงไม่เป็นภัยคุกคามต่อการปกครองและอิทธิพลของกองทัพแต่

อย่างใด

ขณะที่การเลือกตั้งใหม่กำาลังใกล้เข้ามา ระดับการใช้อำานาจของกองทัพไทยขัด

แย้งกับมาตรฐานอย่างตำ่าสุดของการควบคุมโดยพลเรือนตามที่ระบุในระบอบ

ประชาธิปไตย ทุกขอบเขตที่ผู้เชี่ยวชาญทั่วไปใช้ประเมิน ตั้งอยู่บนหลักการของ

ความสัมพันธ์ของพลเรือนและทหาร การควบคุมของกองทัพตามธรรมเนียมปฏิบัติ

ของประเทศ และการนำาของพลเรือน ในบทความล่าสุด Cr oi s s a nt e t al. ระบุถึง

ขอบเขตห้าประการซึ่งตั้งอยู่บนหลักการที่การควบคุมของพลเรือนสามารถกำาหนด

ขอบเขตและประเมินได้อย่างเป็นระบบ 1 ) การสรรหาผู้นำา อันบ่งบอกถึง

กระบวนการที่นำาไปสู่การคัดสรรและความชอบทางกฎหมายของผู้ดำารงตำาแหน่ง

ทางการเมือง 2) นโยบายสาธารณะ อันประกอบด้วย การจัดตั้งแผนการ กำาหนด


นโยบายและการดำาเนินการตามนโยบาย 3) ความมั่นคงภายใน 4) การป้องกัน

ประเทศ 5) องค์กรทหาร จะต้องอยู่ในระดับที่พลเรือนควบคุมขนาด/โครงสร้าง

ของกองทัพ หลักการ/การศึกษา รวมถึงจำานวนและชนิดในการจัดซื้ออาวุธ การ

สำารวจอย่างคร่าวๆของขอบเขตแต่ละข้อ แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยนั้นห่างไกล

จากอุดมคติที่ใกล้เคียงของหลักการ “การควบคุมโดยพลเรือน”

ลักษณะชัดเจนที่บ่งบอกถึงการพยายามของกองทัพในการก่อตั้งการครอบงำาเหนือ

ระบบทางการเมืองที่เคยมีขึ้นมาใหม่ นั้นคือการที่กองทัพพยายามสรรหาผู้นำา

ทางการเมืองเอง เริ่มจากการถอดถอนทักษิณ ชินวัตรในปี 2 5 4 9 ซึ่งหลังจากนั้น

กองทัพพยายามแทรกตัวเข้าไปในกระบวนการคัดสรรและหาผู้นำาพลเรือนคนใหม่

อย่างต่อเนื่อง เป็นที่รู้ดีว่า กองทัพมีบทบาทสำาคัญช่วยแต่งตั้งนายมาร์ค อภิสิทธิ์

เวชชาชีวะเป็นนายกรัฐมนตรี ด้วยการโน้มน้าวอดีตพันธมิตรของทักษิณให้เปลี่ยน

ข้างไปสนับสนุนพรรคประชาธิปัตย์ กระบวนการนี้ไม่ได้มีแค่จัดประชุมกับแกนนำา

ของพรรคการเมืองขนาดเล็กเหล่านี้ที่บ้านของอดีตผู้บังคับบัญชาการทหารบก พล

เอกอนุพงษ์ เผ่าจินดาเท่านั้น แต่จบด้วยการเรียกร้องของ “ชายที่คำาขอของเขาไม่

อาจถูกปฏิเสธได้” ในเวลานั้น กองทัพทำาทุกอย่างเพื่อแสดงว่าพวกเขไม่ยอมรับ

รัฐบาลตัวเลือกอื่น ด้วยการทำาลายรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ โดยเรียกร้อง

ให้อดีตนายกรัฐมนตรีลาออกหลังจากการปะทะกับระหว่างตำารวจและกลุ่ม

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ในวันที่ 7 ตุลาคม 2 5 5 1 โดยพลเอก

อนุพงษ์ไม่ทำาตามคำาสั่งรัฐบาลที่สั่งให้สลายการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรที่สนามบิน

สุวรรณภูมิและดอนเมือง ส่วนนักการเมืองที่สนใจแต่ตำาแหน่งตนเองเหนือสิ่งอื่นใด

ก็รู้สึกลังเลในข้อเสนอให้เปลี่ยนข้าง หลังจากคำามั่นสัญญาเรื่องเสถียรภาพของ

ตำาแหน่งจากกองทัพ โดยกองทัพจะหนุนหลังรัฐบาลนายมาร์คอภิสิทธิ์ และหลัง

จากนั้นเป็นต้นมา กองทัพได้รักษาสัญญาเป็นอย่างดี โดยมีการจัดตั้งรัฐบาล ซึ่ง

ประกอบด้วยพรรคร่วมรัฐบาลที่อ่อนแอ และสร้างวิกฤติ เรื่องฉาวโฉ่ ร่วมถึงการ


สังหารหมู่ ซึ่งจากองค์ประกอบเหล่านี้ไม่สามารถทำาให้รัฐบาลพลเรือนในไทยหรือ

ที่ไหนในโลกบริหารประเทศต่อไปได้

บทบาทสำาคัญของกองทัพในการสรรหากลุ่มผู้นำายังมีรูปแบบที่เห็นไม่ค่อยชัดเจน

เนื่องจากการเพิ่มระดับของการทำางานร่วมกันของกองทัพและองคมนตรี

องคมนตรีมีอิทธิพลในการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูงหลายตำาแหน่งเป็นเวลานาน

ข้อเท็จจริงคือ สมาชิกองคมนตรีบางคนที่เคยเป็นอดีตนายพลมีบทบาทสำาคัญ

ทำาให้สถาบันสองสถาบันมีความใกล้ชิดและมีวัตถุประสงค์ร่วมกันอย่างที่ไม่เคยมี

มาก่อน องคมนตรีเป็นเครื่องมือใช้ปกป้องรัฐบาลนายมาร์ค อภิสิทธิ์อย่างมาก และ

ยังพยายามหาทางทำาทุกทุกอย่างที่จะผลักดันให้คนที่ “เหมาะสม” เข้าไปนั่งใน

ตำาแหน่งเจ้าหน้าระดับสูง นายพสิษฐ์ ศักดาณรงค์ อดีตเลขานุการประธานตุลาการ

ศาลรัฐธรรมนูญเผยแพร่วิดีโอนักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์พยายามล๊อบบี้ศาล

ในคดียุบพรรคการเมืองล่าสุด และยังแสดงให้เห็นว่ามีการเพิกเฉยต่อข้อหาของ

พรรคประชาธิปัตย์ตามคำาสั่งของประธานองคมนตรี พลเอกเปรม ติณลสูลานนท์

และจากสถานการณ์เดียวกันนี้ นักการเมืองพรรคร่วมรัฐบาล นายชุมพล ศิลป

อาชายังบ่นว่าการคัดเลือกวุฒิสภาสรรหา (จำานวนครึ่งหนึ่งของวุฒิสภา) ถูก

ผูกขาดโดย “ชายนิรนาม” ซึ่งเชื่อว่าน่าจะเป็นพลเอกเปรม

แม้กองทัพจะใช้อำานาจมหาศาลอย่างต่อเนื่องในประเทศไทย แต่เหล่านายพลมัก

พอใจที่จะปล่อยให้การกำาหนดนโยบายภายในส่วนใหญ่ตกอยู่ในกำามือของผู้นำา

กลุ่มอื่น ซึ่งรวมถึงข้าราชการและนักการเมืองพรรคร่วมรัฐบาล แท้จริงแล้ว

สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์เคยกล่าวว่าพวกเหล่านายพลต่าง “กลัวหางจุกตูด” ที่จะ

ต้องบริหารประเทศโดยตรง โดยไม่มีรัฐบาลพลเรือนบังหน้าให้ แต่กองทัพสามารถ

บังคับให้ใช้นโยบายที่พวกเขาต้องการหรือไม่ยอมรับนโยบายที่พวกเขาไม่เห็น

ด้วยเมื่อไรก็ได้ เช่นเรื่องสำาคัญอย่างการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ส่วนในเรื่องของความ


มั่นคงภายใน การป้องกันประเทศ และองค์กรทหาร กองทัพมีอำานาจควบคุมอย่าง

ชัดเจน

ในกรณีของเรื่องความมั่นคงภายใน กองทัพไทยควบคุมกิจกรรมส่วนใหญ่ที่เกี่ยว

กับการปราบปรามในภาคใต้และยังรักษาเสถียรภาพของรัฐด้วยการทำาลายภัย

คุกคามที่เกิดจากกลุ่มผู้เรียกร้องประชาธิปไตย อำานาจเก่าในกองทัพได้สร้างความ

เข้มแข็งในการควบคุมเรื่องความมั่นคงภายในประเทศโดยการประกาศใช้พระราช

กำาหนดบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉินปี 2 5 4 8 และพระราชบัญญัติ

รักษาความมั่นคงภายในปี 2 5 5 1 กฎหมายทั้งสองฉบับนิยามสถานการณ์ที่สามารถ

ประกาศใช้กฎหมายฉุกเฉินที่กว้างจนเกินสงวนขอบเขต และให้อำานาจที่ปราศจาก

ความรับผิดแก่กองทัพ ตอนที่กฎหมายฉบับนี้ประกาศใช้ องค์กรสิทธิมนุษยชน

ระหว่างประเทศประณามกฎหมายดังกล่าวว่าเป็นภัยคุกคามระบอบการปกครอง

ประชาธิปไตยในประเทศไทย และก่อนการร่างพระราชบัญญัติความมั่งคงภายใน

ของรัฐบาลทหารจะเสร็จสมบูรณ์ในปลายปี 2 5 5 0 องค์กรฮิวแมนไรท์ประณาม

การกระทำาดังกล่าวว่า “มุ่งที่จะทำาให้ทหารปกครองประเทศตลอดกาล” และเพื่อที่

จะปล่อยให้ประเทศไทยตกอยู่ใน “สถานการณ์ที่มีแนวโน้มว่าจะมีการใช้อำานาจ

อย่างทารุณและตามอำาเภอใจ”

กว่าสองปีที่ผ่านมา การทารุณอย่างเป็นระบบที่บัญญัติในกฎหมายทั้งสองฉบับซึ่ง

ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศได้ให้อำานาจกองทัพครั้งลิดรอนสิทธิ์ตาม

รัฐธรรมนูญแล้วครั้งเล่า ยึดอำานาจรัฐบาล และละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ

โดยไม่ต้องรับผิดใดๆ ไม่มีเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสังหารหมู่ในปี 2 5 5 3

คนใดถูกดำาเนินคดีอาญา ข้อเท็จจริงคือ เจ้าหน้าที่ระดับสูงที่มีส่วนร่างแผนการ

สลายการชุมนุมได้รับการปูนบำาเหน็จโดยการเลื่อนตำาแหน่ง
ส่วนเรื่องการป้องกันประเทศก็ไม่แตกต่างกันนัก เพราะตั้งแต่นายมาร์ค อภิสิทธิ์ขึ้น

เป็นนายกรัฐมนตรี กองทัพได้อำานาจผ่านรัฐบาลพลเรือน และใช้อำานาจในการ

ปฏิเสธคำาสั่งรัฐบาลครั้งแล้วครั้งเล่า ในรอบสองปีที่ผ่านมา เช่น กองทัพบังคับใช้

นโยบายผลักเรือที่ไม่มีเครื่องมือนำาทางของผู้ลี้ภัยทางการเมืองโรฮิงญาออกสู่น่าน

นำ้าทะเลสากลอย่างต่อเนื่อง แม้นโยบายนี้จะทำาให้ผล
ู้ ี้ภัยเสียชีวิตหลายร้อยคน แต่

ไม่มีสมาชิกกองทัพรายใดถูกสอบสวนทางอาญาหรือทางวินัย อย่างไรก็ตาม การ

จัดการเรื่องความขัดแย้งชายแดนกับประเทศกัมพูชาของกองทัพคือหลักฐานอัน

เลวร้ายที่สุดที่แสดงให้เห็นชัดเจนว่ากองทัพมีอำานาจเหนือนโยบายการต่าง

ประเทศ มีรายงานว่าเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2 5 5 4 เหล่านายพลสั่งให้ใช้อาวุธหนัก

อานุภาพทำาลายล้างสูงอย่างระเบิดดาวกระจายยิงใส่พื้นที่กัมพูชา โดยไม่หารือกับ

รัฐบาลพลเรือน เมื่อรัฐบาลเห็นชอบกับการให้อินโดนีเชียเข้ามาเป็นตัวกลางใน

การไกล่เกลี่ยปัญหาหลักจากการปะทะนองเลือด เหล่านายพลระดับสูงเข้า

แทรกแซงและไม่ยอมปฏิบัติตามข้อตกลงดังกล่าว วันรุ่งขึ้น รองนายกรัฐมนตรีสุ

เทพ เทือกสุบรรณต้องรีบออกมาไกล่เกลี่ยเรื่องความไม่ลงรอยกันระหว่างรัฐบาล

กับกองทัพ ในที่สุด ประเทศตกลงจะลงตัวแทนไปประชุมร่วมกับคณะกรรมาธิการ

ร่วมแก้ไขปัญหาชายแดนที่อินโดนีเชีย หลังจากที่อินโดนีเซียตกลงจะไม่เข้าร่วม

เจรจา นอกจากจะไม่ทำาตามรัฐบาลพลเรือนที่ไร้อำานาจแล้ว การแทรกแซง

ของกองทัพยังคงทำาลายการแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง

ในเรื่องขององค์กรทหาร กองทัพมีอำานาจควบคุมทั้งนโยบายและงบการจัดซื้อ

ตั้งแต่การทำารัฐประหาร งบการประมาณกองทัพไม่เพียงแต่เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า

ตั้งแต่ปี 2 5 4 9 เท่านั้น แต่เหล่านายพลยังได้รับอนุญาตให้จัดซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์

อะไรก็ได้ การฉ้อโกง ความครำ่าครึ และการจัดซื้อเกินราคา สร้างโอกาสทางด้าน

ผลประโยชน์ตอบแทนและสร้างความรำ่ารวยมหาศาลให้พวกเขา แม้ว่าจะมีเงิน

เดือนข้าราชการอันน้อยนิดก็ตาม เมื่อครั้งที่รัฐบาลยอมรับว่าเครื่องตรวจระเบิด
GT-2 0 0 เป็นเรื่องต้มตุ๋นในเดือนกุมภาพันธ์ปี 2 0 1 0 ทุกกรมกองของกองทัพไทย

ร่วมกันแถลงข่าวประณามนายมาร์ค อภิสิทธิ์ และยืนยันว่าเครื่องมือดังกล่าว

ทำางานได้จริง แม้ว่าหลักฐานทางวิทยาศาสตร์จะระบุเป็นอย่างอื่นก็ตาม ต้นปีนี้

รัฐบาลสมรู้ร่วมคิดอนุมัติงบประมาณ 2 . 3 พันล้านดอลล่าสหรัฐ เพื่อตั้งกรมทหาร

ม้าใหม่ที่ภาคอีสาน ซึ่งถูกมองว่าเป็น “ความปรารถนาครั้งสุดท้าย” ของพลเอก

เปรม และยังตามมาด้วยการอนุมัติให้ตั้งกรมทหารราบอันไร้ประโยชน์ขึ้นที่

เชียงใหม่อย่างรวดเร็ว

3 . ลงคะแนนเสีย งให้ท หาร?

ข้อเท็จจริงคือ ประเทศไทยไม่ได้ปกครองโดยรัฐทหารแต่เพียงรูปลักษณ์ภายนอก

เท่านั้น สิ่งที่แยกประเทศออกจากการปกครองโดยกองทัพอย่างสมบูรณ์อย่างง่ายๆ

คือ การที่กองทัพเลือกจะซ่อนตัวอยู่หลังรัฐบาลพลเรือนที่อ่อนแอ และไม่มีความ

สนใจที่จะสร้างนโยบาย เพราะไม่กระทบต่ออำานาจ ความสำาคัญ และการดำาเนิน

กิจการต่างๆของเหล่านายพล แต่ขณะนี้ [อำานาจของพวกเขา] ไม่มีความมั่นคง

เพราะพวกเขาก้าวมาถึงจุดนี้ได้ด้วยไม่เคารพกฎหมายเป็นส่วนใหญ่ และรักษา

อำานาจด้วยวิธีการอันเลวร้ายที่สุด นั้นคือการสังหารหมู่ผู้เรียกร้องประชาธิปไตย

หลายครั้ง ด้วยเหตุผลเหล่านั้น การเลือกตั้งที่กำาลังจะมาถึงจึงเป็นทั้งโอกาสและ

ความเลี่ยงของของกองทัพ กล่าวคือ ชัยชนะที่ได้รับการยอมรับและ “ขาวสะอาด”

ของพรรคประชาธิปัตย์จะทำาให้รัฐบาลชุดปัจจุบันอ้างความชอบธรรมจากการ

เลือกตั้ง ซึ่งเป็นสิ่งที่พวกเขาไม่มีในตอนนี้ อีกประการหนึ่งคือ คะแนนเสียงของผู้มี

สิทธิเลือกตั้ง จะเพิ่มความแข็งแกร่ง ให้กับสถานการณ์ที่กล่าวถึงก่อนหน้านี้[ อำานา

จกองทัพ] เพราะจะเป็นการปิดปากฝ่ายตรงข้ามในการเรียกร้องประชาธิปไตย

และอีกอย่างคือ ชัยชนะของฝ่ายตรงข้ามอาจบังคับให้กองทัพต้องเลือกระหว่าง
สามตัวเลือกที่ไม่พึงประสงค์น-ี้ ยอมรับบทบาทที่น้อยลง พึ่งกระบวนการตุลาการ

เพื่อตัดสินให้ผลการเลือกตั้งเป็นโมฆะ หรือทำารัฐประหารอีกครั้ง ผลที่สุดคือ

กองทัพไทยเกี่ยวข้องลึกซึ้งกับแผนการช่วยนายมาร์ค อภิสิทธิ์ โดยอย่างน้อยที่สุด

คือเอาใบตองมาปกปิดความน่าอายในเรื่องความชอบธรรมจากการเลือกตั้งให้นาย

มาร์ค นอกจากนี้ ผู้สังเกตการณ์มักจะไม่ได้คาดหวังว่าจะมีการโกงเลือกตั้งอย่าง

โจ่งแจ้ง จงใจใช้บัตรผี ทำาลายคะแนนเสียงการของฝ่ายตรงข้าม หรือการกดขี้

ทางกายต่อผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง อย่างไรก็ตาม มันอาจเป็นเรื่องไร้เดียงสาที่จะ

มองข้ามความเป็นไปได้ โดยเฉพาะ หากเหล่านายพลเห็นว่าราคาที่ต้องจ่ายใน

การทำาลายผลการเลือกตั้งอันไม่น่าพึงประสงค์อาจะมากกว่าผลิตผลการเลือกตั้งที่

น่าพอใจเสียเอง

จากมุมมองดังกล่าว เราสามารถคาดหวังว่ากองทัพจะพยายามทำาทุกอย่าง ยกเว้น

โกงการเลือกตั้งอย่างโจ่งแจ้ง และหลังจากนั้นร่วมกันฉ้อโกงการเลือกตั้งทุกรูป

แบบที่ไม่ดึงดูดการประณามจากประชาคมโลกช่วยพรรคประชาธิปัตย์ และที่

สำาคัญที่สุดคือ ไม่นำาไปสู่การประท้วงครั้งใหญ่ของผู้ลงคะแนนเสียง อาวุธที่ทรง

อานุภาพมากที่สุดของกองทัพคือการข่มขวัญ และทรัพยากรขององค์กรที่จ่ายโดย

ภาษีประชาชน

การข่มขวัญผูล
้ งคะแนนเสียง ไม่ได้นำาโดยใครอื่นนอกจากผู้บังคับบัญชาการ

กองทัพบก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และจากการส่งสัญญาณหลายครั้งบ่งบอก

ว่าเขาไม่ลังเลที่จะแทรกแซง หากสถานการณ์ไม่เป็นไปดั่งที่เขาต้องการ เมื่อไม่

นานมานี้ พลเอกประยุทธ์เรียกร้องให้ผล
ู้ งคะแนนเสียงคนไทยออกมาต่อสู้กับฝ่าย

ตรงข้าม ผู้บังคับบัญชาการกองทัพบกได้ยกเอาคำาเตือนของนายกรัฐมนตรีมา

กล่าวซำ้าว่า การเลือกตั้งครั้งนี้คือตัวเลือกระหว่างนโยบายพรรคประชาธิปัตย์ หรือ

วงจรความรุนแรงและไร้เสถียรภาพอีกครั้งหนึ่ง ความหมายโดยนัยคือ หากคนลง

คะแนนเสียงไม่เลือกนายมาร์ค อภิสิทธิ์อีกครั้งหนึ่ง กองทัพไม่ลังเลที่จะปฏิบัติกับ


รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งเช่นเดียวกับรัฐบาลสามชุดก่อน หากพิจารณาตัวเลือก

ของพวกเขา การไม่ลงคะแนนเสียงให้อภิสิทธิ์เป็นการยำ้าเตือนผู้ลงคะแนนว่า อาจ

จะมีรัฐประหาร สังคมที่ไร้ขื่อแป และการสังหารหมู่เกิดขึ้นอีกระลอกหนึ่ง

นอกจากจะข่ม ขวัญ ผูล ้ งคะแนนเสีย งด้ว ยคำา ขูแ


่ บบอ้อ มๆหยอมแหยม
ด้ว ยเรื่อ งความรุน แรงและวุ่น วายแล้ว ผู้น ำา กองทัพ และพลเรือ นยัง
มีส ่ว นร่ว มกับ โครงการคุก คามบัง คับ ให้ฝ ่า ยตรงข้า มวิจ ารณ์
สถานการณ์ป ระเทศแต่พ อดี และยัง มีร ะบบกฎหมายของรัฐ บาลที่
ทำา ให้ก ารแสดงออกทางความเห็น ของตรงข้า มเป็น อาชญากรรม
โดยความผิด ฐานหมิ่น พระบรมเดชานุภ าพได้บ ัญ ญัต ไ
ิ ว้ใ นพร ะ
ราชบัญ ญัต ิว า่ ด้ว ยการกระทำา ความผิด เกี่ย วกับ คอมพิว เตอร์
พ . ศ . 2 5 5 0 และมาตรา 1 1 2 ของประมวลกฎหมายอาญาได้ถ ูก นำา
มาใช้อ ย่า งเป็น ระบบตามลัก ษณะของมัน และในระดับ ทีไ ่ ม่เ คยมี
มาก่อ นภายในเวลาสองปีท ี่ผ ่า นมา การใช้ว ธ ิ ีก ารที่ก ดขี่เ หล่า นีด
้ ู
จะทำา ให้ก ารเลือ กตั้ง ที่ก ำา ลัง จะมาถึง ตึง เครีย ดขึ้น
ในเดือ นกุม ภาพัน ธ์ ผูอ้ อกแบบเวปไซต์ข องฝ่า ยตรงข้า ม นายธัน ย์ฐ วุฒ ิ
ทวีว โรดมกุล ถูก ตัด สิน จำา คุก 1 3 ปีข ้อ หาตีพ ิม พ์ข ้อ ความทาง
อิน เตอร์เ น็ต ที่เ ขาไม่ไ ด้ม ีส ่ว นร่ว มในร่า งหรือ โพสต์เ ลย ส่ว นราย
อื่น ถูก จับ กุม ในการชุม นุม คนเสื้อ แดงครั้ง ที่ผ ่า นมา เนื่อ งจากแจก
จ่า ยเอกสารเรีย กร้อ งให้ย กเลิก มาตรา 1 1 2 หรือ เผยแพร่ร ายการ
สารคดีข องสำา นัก ข่า วออสเตรเลีย เอบีซ ี วัน ที่ 1 1 เมษายน 2 5 5 3
พลเอกประยุท ธ์จ ดั ตัง้ กลุ่ม ทหารตนเองเพื่อ เข้า แจ้ง ความดำา เนิน คดี
หมิน
่ พระบรมเดชานุภ าพกับ สามแกนนำา เสื้อ แดง (สองรายเป็น
สมาชิก สภาผูแ
้ ทนราษฎร) ทีป
่ ราศรัย ในงานครบรอบหนึง่ ปีก าร
สัง หารหมู่ท ี่ก ระทำา ทหารเมื่อ ปี 2 5 5 3 คำา พูด ข้อ พิพ าทไม่ม ีเ นื้อ หา
วิพ ากษ์ว จ
ิ ารณ์ก ษัต ริย ์ห รือ สมาชิก ราชวงศ์ แต่เ ป็น คำา พูด ที่
ประณามการใช้ก ฎหมายหมิ่น พระบรมเดชานุภ าพ และเรีย กร้อ ง
ให้ท หารหยุด ใช้ส ถาบัน กษัต ริย ์อ ำา พรางตนเอง เพือ ่ ปกป้อ งอำา นาจ
และสร้า งความชอบทำา ให้ก ับ การกระทำา ที่ผ ด ิ กฎหมายของพวก
เขา เมื่อ พลเอกประยุท ธ์อ ธิบ ายการการกระทำา ของตนเองต่อ หน้า
สื่อ มวลชน เขาพูด โอ้อ วดโดยบอกว่า การลงคะแนนเสีย งเลือ กตัง้
คือ การ “ปกป้อ งสถาบัน กษัต ริย ”์ สามวัน หลัง จากนั้น กรม
สอบสวนคดีพ ิเ ศษ (ดีเ อสไอ) ประกาศว่า ตอนนี้แ กนนำา เสื้อ แดง
1 8 คนอยู่ใ นระหว่า งสอบสวนคดีห มิน
่ พรบรมเดชานุภ าพเนื่อ งจาก
คำา ปราศรัย ในวัน ที่ 1 0 เมษายน 2 5 5 4 หลัง นั้น จากเปิด เผยว่า
แกนนำา ส่ว นใหญ่ถ ูก สอบสวน เพราะในวิด โี อ พวกเขาให้ “ภาษา
กายที่บ ง่ ว่า ให้ก ารสนับ สนุน เช่น การตะโกน โห่ร ้อ ง และปรบมือ ”
ในระหว่า งการปราศรัย ที่ม ค ี ำา พูด ข้อ พิพ าทดัง กล่า ว ดีเ อสไอแจ้ง
ข้อ หาหมิ่น พระบรมเดชานุภ าพและปลุก ระดมต่อ พวกเขาการออก
มาเตือ นว่า บุค คลที่ “ทำา ให้ส ถาบัน ขุ่น เคือ ง ” จะถูก ตามล่า เหมือ น
สุน ัข ทั้ง กองทัพ และรัฐ บาลพลเรือ นจอมปลอม ที่ม ีเ หล่า นายพลที่
อยู่เ บื้อ งหลัง หมายความว่า บุค คลทีต ่ ่อ ต้า นพวกเขาคือ ศัต รูข อง
สถาบัน กษัต ริย ์น ั้น เอง แผนการดัง กล่า วนั้น ชัด เจนมากเพราะ
การกล่า วหาว่า ไม่จ งรัก ภัก ดีม ัก ทำา ต่อ นัก กิจ กรรมฝ่า ยตรงข้า มและ
พวกเขาตกยัง ถูก ปฎิบ ต ั ิอ ย่า งทารุณ โดยระบบกฎหมาย ซึ่ง
ออกแบบมาเพื่อ ลดความน่า เชือ ่ ถือ ของฝ่า ยตรงข้า มในสายตาของ
สาธารณชนและทำา ให้ผ ่า ยตรงข้า มรู้ส ึก ท้อ แท้ไ ม่อ ยากต่อ ต้า
โครงสร้า งอำา นาจที่แ ท้จ ริง ของประเทศไทย ในเวลาเดีย วกัน การ
สร้า งภาพว่า ฝ่า ยตรงข้า มคือ ศัต รูข องชาติแ ละสถาบัน กษัต ริย ์
เป็น การเตรีย มการของกองทัพ เพื่อ ก่อ รัฐ ประหารหากฝ่า ยตรงข้า ม
ชนะการเลือ กตั้ง เหตุผ ลที่ท ำา เช่น นั้น ต่อ สาธารณชนก็เ พื่อ เป็น การ
บอกผูล ้ งคะแนนเสีย งอย่า งเด็ด ขาดว่า หากต้อ งการที่จ ะหลีก เลีย ่ ง
ความวุ่น วายที่อ าจจะเกิด ขึน ้ จากรัฐ ประหาร พวกเขาก็ค วรจะ
เลือ กพรรคประชาธิป ัต ย์ นอกจากนี้ ขนาดของกองทัพ ยัง ขยาย
ใหญ่อ ย่า งไม่ส ามารถประมาณได้ เป็น ที่ร ู้ก ัน ดีว า่ กองทัพ เข้า มา
ช่ว ยจัด การเลือ กตัง้ ในปี 2 5 5 0 และหลายวัน ก่อ นการเลือ กตัง้
ทัว
่ ไปครั้ง ทีแ่ ล้ว องค์ก รฮิว แมนไรท์ว อซซ์อ อกรายงานประณาม
คณะกรรมการการเลือ กตั้ง ที่ล ้ม เหลวในการคัด ค้า นความพยายาม
ของกองทัพ ในการทำา ลายความเป็น ธรรมและเสรีภ าพของ
กระบวนการการเลือ กตัง้ องค์ก รฮิว แมนไรท์ว อซซ์อ อ้า งข้อ ความ
ในบัน ทึก ที่ร วั่ ไหลของคณะมนตรีค วามมั่น คงแห่ง ชาติ หรือ รัฐ บาล
ทหารหลัง จากนั้น ที่ร ะบุว ่า สามเดือ นก่อ นการเลือ กตัง้ กองทัพ วาง
ยุท ธวิถ ีก ารเพื่อ ทำา ลายพรรคพลัง ประชาชนและช่ว ยให้พ รรค
ประชาธิป ต ั ย์ช นะการเลือ กตั้ง รวมถึง “ปฏิบ ัต ก
ิ ารหลายอย่า งเพื่อ
ข่ม ขู่ ขัด ขวาง และทำา ลายความน่า เชื่อ ถือ ของพรรคพลัง
ประชาชนและผู้ส นับ สนุน พรรค ” และ “ตระเตรีย มสถานีโ ทรทัศ น์
ทหาร สถานีว ิท ยุ หน่ว ยราชการลับ และหน่ว ยความมั่น คงเพือ ่
รายงานและปล่อ ยข่า วลือ ทำา ลายความน่า เชื่อ ถือ ของพรรคพลัง
ประชาชนและทัก ษิณ ” และเช่น เดีย วกัน องค์ก รสัง เกตการณ์ก าร
เลือ กตัง้ E N F R E L พบว่า การกระทำา ของกองทัพ “สร้า ง
บรรยากาศความน่า สะพึง กลัว ขัด เจนเนื่อ งจากเสรีภ าพของการ
แสดงออกและสมาคมถูก ลิด รอน ” แต่ใ นต่อ มา คณะกรรมการการ
เลือ กตัง้ จะลงมติ 4 - 1 ตัด สิน ว่า กองทัพ ล้ม เหลวทีจ
่ ะวางตัว เป็น ก
ลางระหว่า งการเลือ กตั้ง และระบุว ่า เหล่า นายพลเสวยสุข จาก “คว
ามคุ้ม กัน ตามรัฐ ธรรมนูญ ”ในความพยายามที่จ ะรัก ษาหน่ว ยงาน
รัก ษาความมั่น คง เห็น ได้ช ัด ว่า ภายใต้เ กมของกฎเกณฑ์ใ หม่ท ี่เ กิด
ขึ้น หลัง จากรัฐ ประหาร 2 5 4 9 การโกงเลือ กตั้ง กลายเป็น สิง่ ที่
สำา คัญ ที่ส ุด ตามรัฐ ธรรมนูญ บางทีอ าจเป็น เพราะมัน ไม่ต ้อ งรบกวน
ให้ก องทัพ ต้อ งออกมาทำา รัฐ ประหาร
เพราะความล้ม เหลวโครงการรณรงค์ข องกองทัพ ในปี 2 5 5 0 รวมถึง
ราคาที่ก องทัพ ต้อ งเสีย ( ในเรื่อ งของภาพลัก ษณ์ ความสามัค คี
ภายใน และชีว ิต มนุษ ย์) ให้ก ับ ความพยายามทีจ ่ ะทำา ลายผลการ
เลือ กตัง้ กลุม
่ นายพลใช้ว ธ
ิ ีก ารที่ร ุก หนัก ยิ่ง กว่า ในโครงการปี
2 5 5 4 เพราะกองทัพ ไม่ค ิด จะยอมรับ ผลการเลือ กตั้ง ที่ “ผิด ” อีก ต่อ
ไปเหมือ นกับ เมื่อ สี่ป ีท แ
ี่ ล้ว อย่า งที่ก ล่า วไปแล้ว ในข้า งต้น ความ
เสี่ย งมีม ากขึ้น หลัง จากการสัง หารหมู่ป ี 2 5 5 3 เพราะเหล่า นายพล
ระดับ สูง ต้อ งการการรับ ประกัน ว่า ตนเองจะไม่ต ้อ งรับ ผิด ต่อ การก
ระทำา ใดๆอีก ต่อ ไปเรื่อ ยๆ
เมื่อ ไม่น านมานี้ ฝ่า ยตรงข้า มได้เ ปิด เผยรายละเอีย ดของแผนการดัง
กล่า ว ซึง่ แผนการระบุร ายละเอีย ดการเตรีย มการปฏิบ ต ั ิก ารใน
การเลือ กตัง้ และจะมีก ารใช้เ จ้า หน้า ที่ค วามมั่น คงโน้ม น้า วการ
ตัด สิน ใจของผู้ล งคะแนนด้ว ยการข่ม ขวัญ รวมถึง ใช้ก ารซื้อ เสีย ง
สนับ สนุน จากบุค คลที่ม ช ี ื่อ เสีย งในท้อ งถิ่น และสร้า งเกิด
บรรยากาศความกลัว ด้ว ยการกุเ รื่อ งที่ฝ ่า ยตรงข้า มสนับ สนุน
แผนการลับ สมรูร้ ่ว มคิด ล้ม ล้า งสถาบัน กษัต ริย ์ แผนการนี้ย ัง รวมถึง
การสร้า งสถานการณ์ก ารเลือ กตั้ง ทีไ ่ ม่ป กติ ซึ่ง อาจช่ว ยป้า ยสีผ ู้
สมัค รฝ่า ยตรงข้า ม โดยมี “กฎหมาย ” เป็น เครื่อ งมือ เช่น ให้ค ณะ
กรรมการการเลือ กตั้ง ตัด สิท ธิห รือ ยุบ พรรคการเมือ ง ซึ่ง พรรค
ประชาธิป ต ั ย์ไ ด้ผ ลประโยชน์จ ากความผิด ปกติน ี้ใ นปี 2 5 5 0 โดย
ในเวลานัน ้ คณะกรรมการการเลือ กตัง้ เข้า แทรกแซงประกาศให้
ชัย ชนะการเลือ กตั้ง ที่พ รรคเพื่อ ไทยและพรรคร่ว มได้ร ับ เป็น โมฆะ
ตามมาด้ว ยการสั่ง ยุบ พรรคพลัง ประชาชนโดยศาลรัฐ ธรรมนูญ
ด้ว ยข้อ กล่า วหาที่ไ ด้ก ล่า วมาแล้ว
หากพิจ ารณาระดับ ความเสี่ย งและความพยายามของรัฐ บาล รวมถึง
หน่ว ยงานความมัน ่ คงทีจ่ ะเปลี่ย นผลการเลือ กตัง้ จึง ไม่น ่า แปลก
ใจที่ร องนายกรัฐ มนตรีส ุเ ทพ เทือ กสุบ รรณจะปฏิเ สธอย่า งเกรี้ย ว
กราดถึง ความเป็น ได้ท จ
ี่ ะเชิญ ผู้ส ัง เกตการณ์ช าวต่า งชาติ [เพื่อ
เข้า ร่ว มสัง เกตการณ์ก ารเลือ กตั้ง ] ไม่ใ ช้เ พราะว่า “เขาไม่เ คารพ
ฝรั่ง ” หรือ กัง วลเรื่อ งอธิป ไตยเหนือ ประเทศไทยตามที่เ ขาอ้า ง แต่
ผู้ส ัง เกตการณ์ช าวต่า งชาติข จ ู่ ะเปิด โปงว่า ทั้ง รัฐ บาลและทหารจะ
พยายามเหยีย บยำ่า อธิป ไตยของปวงชนไทยมากเท่า ไรต่า งหาก
แม้ผ ู้ส งั เกตการณ์ช าวต่า งชาติอ าจจะไม่ไ ด้ร บ ั อนุญ าตให้เ ข้า มา
สัง เกตการณ์ใ นกระบวนการนี้ เราสามารถยืน ยัน ได้เ ลยว่า รัฐ บาล
จะเรีย กกองทัพ ออกมารับ ประกัน “ความปลอดภัย ” ในแต่ล ะหน่ว ย
การเลือ กตัง้ ทั่ว ประเทศแน่น อน เพราะเรามัก พบว่า เจตนา
ของกองทัพ ในเรื่อ ง “ความปลอดภัย ”มัก จะเกี่ย วข้อ งกับ การดำา รง
อยู่ข องรัฐ บาลหุ่น เชิด อย่า งต่อ เนื่อ ง และการข่ม ขู่ท ำา ร้า ยผูล
้ ง
คะแนนจัด อยู่ใ นเรื่อ ง “ความปลอดภัย ของประเทศ ”
บางทีเ รื่อ งที่น ่า กัง วลใจมากที่ส ด
ุ ในกรณีน คี้ ือ ประวัต ิศ าสตร์ค วาม
รุน แรงก่อ นการเลือ กตัง้ ( ที่ร จ
ู้ ัก กัน ดีใ นยุค 7 0 ) ความเกี่ย วข้อ งกับ
การลอบวางระเบิด และเหตุก ารณ์ค วามรุน แรงอื่น ในช่ว งปี 2 5 5 3
ของกองทัพ ซึ่ง เป็น ใน “ยุท ธวิถ ีก ารสร้า งความตึง เครีย ด ” และถูก
ออกแบบมาเพื่อ สร้า งความชอบธรรมให้ก ับ รัฐ บาลในการใช้
อำา นาจฉุก เฉิน และออกข้อ กำา หนดทีท ่ ารุณ เพื่อ ลิด รอนสิท ธิฝ ่า ยตรง
ข้า ม นายฟิล ป ิ ป์ วิล เลนเขีย นอ้า งถึง “ยุท ธวิถ ีก ารสร้า งความ
ตึง เครีย ด ” ทีค
่ ิด ค้น โดยฝ่า ยขวาและส่ว นหนึง่ ของรัฐ บาลอิต าลีใ น
ปลายยุค 6 0 ว่า “ความสะพรึง กลัว ทำา ให้ป ระชาชนต้อ งการความ
ปลอดภัย มากกว่า การเปลี่ย นแปลง ” เมื่อ ใดก็ต ามที่ป ระเทศไทย
กำา ลัง จะก้า วไปสู่ก ารเปลี่ย นแปลงทางประชาธิป ไตย กองทัพ ไม่
เคยลัง เลที่ใ ช้ค วามรุน แรงและความหวาดผวา เพื่อ สร้า งความกลัว
ในหัว ใจของคนที่อ ยากให้เ หล่า นายพลกลับ ไปอยู่ใ นค่า ยทหาร

4 . การท้า ทายอำา นาจกองทัพ


มีก ารกล่า วถึง บ่อ ยครั้ง ว่า กองทัพ ไทยไม่ไ ด้ท ำา หน้า ทีป
่ กป้อ งประเทศ
จากภัย คุก คามภายนอก แต่ท ำา หน้า ที่เ ป็น ยามรัก ษาความปลอดภัย
ส่ว นตัว เพื่อ ปกป้อ งกลุม ่ อำา มาตย์ (ซึง่ รวมถึง นายพลระดับ สูง ) จาก
ความต้อ งการประชาธิป ไตยของประชาชน และยัง กองทัพ ยัง มี
อำา นาจทางการเมือ งล้น ฟ้า เพื่อ ยับ ยั้ง เครือ ข่า ยทางการเมือ งอีก
ด้ว ย กองทัพ ไทยไม่เ คยรับ ผิด ต่อ การละเมิด สิท ธิม นุษ ยชน การ
สัง หารหมู่แ ละการยึด อำา นาจเมื่อ ระบอบประชาธิป ไตยคุก คามกลุ่ม
อำา มาตย์แ ละผลประโยชน์ข องกลุ่ม อนุร ัก ษ์น ิย ม ซึ่ง ไม่แ ตกต่า งจาก
เหล่า ผู้น ำา กองทัพ ในละติน อเมริก า เพราะการช่ว ยเหลือ ของสหรัฐ
รวมถึง การไม่ม ภ ี ัย คุก คามจากภายนอก ทำา ให้ก องทัพ ไทยใช้เ วลา
กว่า หลายสิบ ปีท ผ ี่ ่า นมาทุ่ม เทเพิ่ม พูน อำา นาจและงบประมาณ โดย
การทำา ลายหลัก นิต ิร ฐ ั สถาบัน พลเรือ น สมรรถภาพของรัฐ และ
เสรีภ าพของประชาชนชาวไทย วัน นี้ก องทัพ ไทยยัง คงแข็ง เกร่ง
จุ้น จ้า น และโหดร้า ยเหมือ นเดิม ความขัด แย้ง ทางการเมือ งไทย
ยากจะแก้ไ ขอย่า งเต็ม ที่ นอกจากสถาบัน ทีด ่ ื้อ รัน ไม่ย อมปล่อ ยให้
ประเทศไทยก้า วไปสู่ค วามเป็น ประชาธิป ไตยไม่ถ ูก เช็ด ถูห รือ
ปฏิร ูป
ไม่ต อ
้ งสงสัย เลยว่า การเลือ กตั้ง ที่ก ำา ลัง จะมาถึง นี้จ ะเสนอตัว เลือ กที่
ชัด เจนแก่ป ระชาชนไทยตามที่น ายกรัฐ มนตรีก ล่า ว อย่า งไรก็ต าม
การตัด สิน ใจดัง กล่า วมีม ากกว่า การสนับ สนุน ตัว เลือ กทางนโยบาย
หรือ ผู้ล งสมัค รแข่ง ขัน ตัว เลือ กที่พ วกเขาต้อ งเลือ กคือ การทีจ ่ ะต้อ ง
ยอมรับ กฎเกณฑ์ข องกองทัพ และให้ค วามชอบธรรมกับ รัฐ บาลที่
ใช้บ ัง หน้า กองทัพ หรือ ไม่ อย่า งไรก็ต าม การทำา ลายกลุม ่ อำา มาตย์
ที่ไ ม่ไ ด้ม าจากการเลือ กตั้ง อีก ครั้ง โดยการเลือ กตั้ง แสดงให้เ ห็น ถึง
ความอดทนและยึด มั่น ต่อ ประชาธิป ไตยและความมุง่ มั่น ทีจ ่ ะ
กำา หนดชีว ต ิ ตนเองของคนไทย การเลือ กประชาธิป ไตยมากกว่า
จะเลือ กเผด็จ การจึง มีร าคาที่ต อ ้ งจ่า ยอย่า งแน่น อน เพราะกองทัพ
ไทยไม่เ คยตอบโต้ก ารท้า ทายของประชาชนอย่า งมีไ มตรีจ ิต ร แต่
กระนั้น ก็เ ป็น เรื่อ งที่แ ย่ย งิ่ กว่า ที่ค นไทยผู้ม ีส ิท ธิเ์ ลือ กตั้ง จะยอม
จำา นนต่อ การข่ม ขูแ ่ ละความกลัว ยอมปล่อ ยให้ล ูก หลานในอนาคต
ต้อ งเป็น ผู้น ำา พาประเทศออกจากการปกครองโดยกองทัพ การให้
โอกาสเหล่า นายพลสร้า งความมัน ่ คงทางอำา นาจให้ก บ ั กลุ่ม ตนเอง
ถือ เป็น สร้า งความเสีย หายมากขึ้น หลายเท่า ตัว เมื่อ ต้อ งจัด การกับ
กองทัพ ในทีห ลัง โศกนาถกรรมเมื่อ ปี 2 5 5 3 ได้ย ำ้า เตือ นเราทุก คน
ว่า ความเสีย หายที่เ กิด ขึ้น คือ ชีว ต
ิ มนุษ ย์

อ้า งอิง
. Shawn W. Crispin, “Tentative Democrat, Reluctant Autocrat,” AsiaTimes
Online, December 15, 2010.
http://www.atimes.com/atimes/Southeast_Asia/LL15Ae01.html

. “Govt United on Border Observers, Says Abhisit,” Bangkok Post, April 11, 2011.
http://www.bangkokpost.com/news/local/231345/govt-united-on-border-observers-
says-abhisit

. See Philippe Schmitter and Terry Lynn Karl, “What Democracy Is... and Is
Not,” Journal of Democracy 2(1991): 75-88, 81.

. Aurel Croissant, David Kuehn, Paul Chambers, and Siegfried O. Wolf,


“Beyond the Fallacy of Coup-ism: Conceptualizing Civilian Control of the
Military in Emerging Democracies,” Democratization 17(2010): 950-975.

. “Democrat Govt a Shotgun Wedding?,” The Nation, December 10, 2008.

http://www.nationmultimedia.com/search/read.php?newsid=30090626

. “Pasit alleges Constitution Court lobbied to spare Democrat,” The Nation, April 10,
2011.

http://www.nationmultimedia.com/home/Pasit-alleges-Constitution-Court-lobbied-
to-spare--30152964.html

. “Mysterious Figure ‘Dominating’ Senator Selection: Chumpol,” The Nation,


April 1, 2011.

http://www.nationmultimedia.com/home/Mysterious-figure-dominating-senator-
selection-Chu-30152296.html

. Shawn W. Crispin, “Do or Die for Thai Democracy,” AsiaTimes Online, April
13, 2011.

http://www.atimes.com/atimes/Southeast_Asia/MD13Ae01.html
. Human Rights Watch, “Thailand: Internal Security Act Threatens Democracy
and Human Rights,” November 5, 2007.

http://www.hrw.org/en/news/2007/11/04/thailand-internal-security-act- threatens-
democracy-and-human-rights

. Asian Legal Resource Centre, “Thailand: Arbitrary Detention and Harassment


under the Emergency Decree,” August 31, 2010.
http://www.ahrchk.net/statements/mainfile.php/2010statements/2791/

. “Thailand ‘Admits Cluster Bombs Used against Cambodia’,” BBC, April 6,


2011.

http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-pacific-12983127

. See Shawn W. Crispin, “Bombshells and Rally Cries,” AsiaTimes Online,


February 8, 2011.

http://www.atimes.com/atimes/Southeast_Asia/MB08Ae01.html

. “Suthep Opposes Presence of Foreign Troops in Disputed Zone,” National News


Bureau of Thailand, March 24, 2011.

http://thainews.prd.go.th/en/news.php?id=255403240011

. “JBC Meeting Off to a ‘Smooth Start’,” The Nation, April 8, 2011.

http://www.nationmultimedia.com/2011/04/08/national/JBC-meetIng-off-to-a-
&039;smooth-start&039;-30152770.html

. See Paul Chambers, “Thailand on the Brink: Resurgent Military, Eroded


Democracy,” Asian Survey 50(2010): 835–858, 850.

. “GT-200 a Costly Dowsing Rod,” Bangkok Post, February 19, 2010.


http://www.bangkokpost.com/news/local/33124/gt200-a-costly-dowsing-rod

See also Saksith Saiyasombut, “Undelivered Ukrainian APCs and German


weapon exports to Thailand,” Siam Voices, September 13, 2010.

http://asiancorrespondent.com/40239/undelivered-ukrainian-apcs-and-german-
weapon-exports-to-thailand/

. Andrew MacGregor Marshall, “Coups in Thailand: Never Say Never,”


Reuters, April 6, 2011.

http://blogs.reuters.com/andrew-marshall/2011/04/06/coups-in-thailand-never-say-
never/

. Saksith Saiyasombut, “A New Cavalry Unit in Thailand’s North-East: Old


Wish, New Threat?,” Siam Voices, March 3, 2011.

http://asiancorrespondent.com/49429/a-new-cavalry-unit-in-thailands-north-east-an-
old-wish-to-a-new-threat/

. Wassana Nanuam, “Red Presence Forces Military to Establish New Division,”


Bangkok Post, July 29, 2010.

http://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/188371/red-presence-forces-military-to-
establish-new-division

. “Vote to Protect Monarchy: Army Chief,” The Nation, April 13, 2011.

http://www.nationmultimedia.com/2011/04/13/national/Vote-to-protect-monarchy-
Army-chief-30153123.html

. “DSI Says at Least 18 UDD Core Leaders of UDD May Face Insulting
Monarchy Charges,” MCOT News, April 15, 2011.

http://www.mcot.net/cfcustom/cache_page/195944.html
. Human Rights Watch, “Thailand: Military Interference Undermines Upcoming
Elections,” December 20, 2007.

http://www.hrw.org/en/news/2007/12/19/thailand-military-interference-undermines-
upcoming-elections

. The Asian Network for Free Elections (ANFREL) , “Thailand: Restoring


Democracy, Elections to the House of Representatives,” Report of the International
Election Observation Mission, March 2008.

. See . Shawn W. Crispin, “Do or Die for Thai Democracy,” AsiaTimes Online,
April 13, 2011.

http://www.atimes.com/atimes/Southeast_Asia/MD13Ae01.html

. “Tu chae pen chak paen bong kan yub sapha yong yok yai tahan-- lom puea thai,”
Khao Sod, April 9, 2011.

http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?
newsid=TVRNd01qTTFNakV5TlE9PQ%3D%3D&sectionid

. “Thailand Rejects Foreign Election Monitors,” AFP, March 24, 2011.

http://www.straitstimes.com/BreakingNews/SEAsia/Story/STIStory_648749.
html

Vous aimerez peut-être aussi