Vous êtes sur la page 1sur 1

1 PULSELESS ARREST

หลังจากผานขั้นตอนของ BLS แลว

2
3 ทําได
ตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจวาตอง
ทําไมได 9
VF/VT Asystole/PEA
ทํา defibrillation หรือไม
4
- ทํา defibrillation 1 ครั้ง
10 - ใหทํา CPR ตอทันที 5 รอบ หรือ 2 นาทีในกรณีที่ใสทอชวยหายใจ
เครื่อง monophasic ใชพลังงาน 360 จูลส
- ใหยา epinephrine 1 มก. IV และซ้ําทุกๆ 3-5 นาที
เครื่อง biphasic ใหทําตามคําแนะนําของเครื่อง
- พิจารณาให atropine 1 มก. IV ในกรณีที่เปน asystole หรือ PEA ที่มีอัตรา
ถาไมทราบใหใชพลังงาน 200 จูลส
การเตนที่ชา ทุกๆ 3-5 นาที แตไมเกิน 3 ครั้ง
เครื่อง AED ใหทําตามคําแนะนําของเครื่อง
- CPR ตอทันที โดยไมตองดูวา defibrillation สําเร็จหรือไม CPR ตออีก 5 รอบหรือ 2 นาทีถาใสทอชวยหายใจ
CPR ตออีก 5 รอบหรือ 2 นาทีถาใสทอชวยหายใจ
5 11
ตรวจเช็ควาหัวใจเตนผิดจังหวะเปน ทําไมได
ตรวจเช็ควาหัวใจเตนผิดจังหวะเปน
ชนิดที่ตองทํา defibrillation หรือไม ชนิดที่ตองทํา defibrillation หรือไม
ทําได
6 - ให CPR ตอขณะที่กําลังประจุไฟฟาในเครื่อง defibrillator
- ทํา defibrillation 1 ครั้ง
12
เครื่อง monophasic ใชพลังงาน 360 จูลส - ถาเปน asystole ไป Box 10
เครื่อง biphasic ใหทําตามคําแนะนําของเครื่อง - ถามี electrical activity ใหตรวจ
13
ทําไมได ทําได ไป Box 4
ชีพจร ถาไมมีไป Box 10
ถาไมทราบใหใชพลังงาน 200 จูลส
- แตถามีชีพจรใหเริ่ม
เครื่อง AED ใหทําตามคําแนะนําของเครื่อง
postresuscitation care
- CPR ตอทันที โดยไมตองดูวา defibrillation สําเร็จหรือไม
- ใหยา epinephrine 1 มก. IV และซ้ําทุกๆ 3-5 นาที 14
CPR ตออีก 5 รอบหรือ 2 นาทีถาใสทอชวยหายใจ ระหวาง CPR
7
ตรวจเช็ควาหัวใจเตนผิดจังหวะเปน ทําไมได 1.กดหนาอกอยางเต็มที่ในอัตรา 100 ครั้ง/นาที
ชนิดที่ตองทํา defibrillation หรือไม 2.ตองมั่นใจวามีภาวะ full chest recoil กอนกดหนาอกครั้งตอไป
ทําได
8 - ให CPR ตอขณะที่กําลังประจุไฟฟาในเครื่อง defibrillator
3.พยายามไมใหมีอะไรไปขัดขวางการกดหนาอกโดยไมจําเปน
4.หนึ่งรอบของ CPR คือ กดหนาอก 30 ครั้ง ชวยหายใจ 2 ครั้ง ดังนั้น 5 รอบจะ
- ทํา defibrillation 1 ครั้ง
เทากับ 2 นาที
เครื่อง monophasic ใชพลังงาน 360 จูลส
5.หลีกเลี่ยงภาวะ hyperventilation โดยไมจําเปน
เครื่อง biphasic ใหทําตามคําแนะนําของเครื่อง
6.ในกรณีผูปวยใสทอชวยหายใจ ตองมั่นใจวาทอชวยหายใจอยูในตําแหนงที่
ถาไมทราบใหใชพลังงาน 200 จูลส เหมาะสม และยึดติดทอชวยหายใจใหแนนเหนียว
เครื่อง AED ใหทําตามคําแนะนําของเครื่อง * การทํา CPR ในผูปวยที่ใสทอชวยหายใจใหกดหนาอกตลอด โดยไมตอง
หยุดใหชวยหายใจ โดยใหชวยหายใจในอัตรา 8-10 ครั้ง/นาที ตรวจเช็คจังหวะ
- CPR ตอทันที โดยไมตองดูวา defibrillation สําเร็จหรือไม
การเตนของหัวใจทุกๆ 2 นาที
- พิจารณาใหยา antiarrhythmia
7.เปลี่ยนผูกดหนาอกทุกๆ 2 นาที พรอมๆกับการตรวจเช็คการเตนของหัวใจ
- Amiodarone 300 มก. IV สามารถใหซ้ําไดอีก 150 มก.
8.หาสาเหตุและรักษาไดแก (6H และ 5T)
- Lidocaine 1-1.5 มก./กก. และสามารถใหซ้ําไดในขนาด
- Hypovolemia - Hypoxia - Hydrogen ion (acidosis)
0.5-0.75 มก./กก. โดยใหไดรวม 3 ครั้ง แตไมเกิน 3 มก./กก.
- Hypoglycemia - Hypothermia - Hypo-/hyperkalemia
- พิจารณาให magnesium 1-2 กรัม IV ในกรณีคลื่นไฟฟา
หัวใจ มีลักษณะแบบ torsades de pointes - Toxins - Trauma - Tension pneumothorax
- CPR ตออีก 5 รอบ หรือ 2 นาทีถาใสทอชวยหายใจ - Thrombosis (coronary or pulmonary) - Tamponade, cardiac
ดัดแปลงจาก ACLS Pulseless Arrest Algorithm [Circulation. 2005;112:IV-59]

Vous aimerez peut-être aussi