Vous êtes sur la page 1sur 117

สารบัญ

หนา
บทนํา
ความสามารถของ Microsoft Access 2002 1
ฐานขอมูลเชิงสัมพันธสัมพันธ (Relational Database) 3
ขั้นตอนการออกแบบฐานขอมูล Microsoft Access 2002 6
องคประกอบของ Microsoft Access 2002 11
ขั้นตอนการสรางตาราง (Table) 19
ปฏิบัติการครั้งที่ 1
การสรางฐานขอมูล 20
การกําหนดโครงสรางตารางและองคประกอบของฟลด 25
ภาคผนวก : โครงสรางตาราง 40
ปฏิบัติการครั้งที่ 2
การเชื่อมความสัมพันธระหวางตาราง 44
การกรอกขอมูลใน Datasheet 50
ปฏิบัติการครั้งที่ 3
ประเภทและมุมมองในการสราง Query 53
การสราง Query จากตารางเดียว 54
การสราง Query จาก 2 ตารางขึ้นไป 65
การเพิ่มความสามารถใหกับ Query 67
ปฏิบัติการครั้งที่ 4
ประเภทของ Form 77
คอนโทรล (Controls) 78
การสราง Form ดวย Form Wizard 80
การสรางคอนโทรล 86
ปฏิบัติการครั้งที่ 5
องคประกอบ, มุมมอง และประเภท Report 101
การสราง Report ดวย Report Wizard 103
บรรณานุกรม 115
บทนํา
Microsoft Access 2002 ภาคทฤษฎี

Microsoft Access เปนฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational Database) ที่ไดรับความนิยมใช


งานในการจัดการฐานขอมูลของหนวยงานหรือองคการขนาดเล็กมากที่สุดอีกโปรแกรมหนึ่งที่ชวยให
ผูใชงานจัดการกับขอมูลปริมาณที่มากๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งในดานการจัดเก็บขอมูล (เพิ่ม –
ลบ – แกไข – ปรับปรุง) การสืบคนขอมูล การจัดทํารายงานขอมูล การนําเสนอขอมูลบนเครือขาย
และการสํารองขอมูล

Database Design
Data Entry Form
Query
Report
Present to Web Page
Additional Programming
Database Tools

Microsoft Access เปนโปรแกรมที่ใชในการจัดการฐานขอมูลหรือเรียกวา DBMS (Database


Management System) เชนเดียวกับโปรแกรมการจัดการฐานขอมูลอื่นๆ เชน dBase, FoxPro,
Oracle, SQL Server เปนตน แตโปรแกรม Microsoft Access เปนระบบการจัดการฐานขอมูลสําหรับ
คอมพิวเตอรสวนบุคคล ซึ่งอยูในระดับเดียวกับ dBase, FoxPro สวนระบบจัดการฐานขอมูลขนาด
ใหญที่ใชเครื่อง Server ในการรองรับผูใชงานหลายคนพรอมกัน นิยมใชโปรแกรม Oracle, SQL
Server

ความสามารถของ Microsoft Access 2002


การที่หนวยงานและองคการตางๆ นําระบบการจัดการฐานขอมูลมาใหงานนั้น ก็เพื่อลดความ
ซ้ําซอนของขอมูล และมีการจัดการกับขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหสืบคนขอมูลไดอยางรวดเร็ว
ถูกตอง Microsoft Access 2002 ก็ถือเปนอีกโปรแกรมจัดการฐานขอมูลหนึ่งซึ่งมีความสามารถตางๆ
ดังนี้
¾ การสรางฐานขอมูล ประกอบดวย การออกแบบฐานขอมูล การสรางตาราง และ
การสรางความสัมพันธระหวางตาราง
¾ การจัดการขอมูล ประกอบดวย การนําขอมูลเขาสูฐานขอมูลดวยวิธีการตางๆ การ
ปรับปรุงแกไขขอมูล การลบขอมูลออกจากฐานขอมูล
¾ การคนหาขอมูล เปนการเรียกดูขอมูลที่ผูใชงานสนใจ โดยสามารถกําหนดเงื่อนไข
หรื อ มุ ม มองของข อ มู ล ที่ ต อ งการได นอกจากนี้ ยั ง สามารถกลั่ น กรองหรื อ คั ด สรร
เฉพาะขอมูลที่ตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการวิเคราะหขอมูลตางๆ
¾ การสรางรายงาน เปนการแสดงขอมูลในรูปของรายงานซึ่งสามารถแสดงใน
ลักษณะขอความ แผนภาพ แผนภูมิ และกราฟได ซึ่งชวยใหผูใชงานมองเห็นภาพ
ของขอมูลในรูปแบบตางๆ เพื่อใชในการบริหารหรือดําเนินการตางๆ ตอไปไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
¾ การจัดการความเรียบรอยของขอมูล เปนการจัดการขอมูลภายในฐานขอมูลให
เกิดความถูกตอง ครบถวน และเปนระเบียบเรียบรอย รวมถึงการจัดเก็บขอมูลที่
เหมาะสมโดยใชพื้นที่ในการจัดเก็บที่มีประสิทธิภาพ
¾ การเขียนโปรแกรมเพื่อสราง Application เปนการเพิ่มความสามารถใหกับ
ผูใชงานฐานขอมูล ในการพัฒนาหรือเขียนโปรแกรมเพื่อชวยในการทํางาน เพิ่ม
ความสะดวกสบาย และเพิ่มประสิทธิภาพในการใชงานของฐานขอมูล

นอกจากนี้แลวโปรแกรม Microsoft Access ไดมีการพัฒนามาอยางตอเนื่องตั้งแตเวอรชัน


1.0 ซึ่งทํางานบนระบบปฏิบัติการ Windows 3.1X มาจนถึงเวอรชัน 2002 หรือเวอรชันที่ 10 ของ
Access ซึ่งโปรแกรมนี้มีความสามารถเพิ่มขึ้นจากเวอรชัน 9 (Access 2000) อยางมากมาย ไดแก
¾ รองรับการใชงานภาษา XML ปจจุบันภาษา XML จะเปนภาษาที่มีความสําคัญตอ
การเขียนโปรแกรมที่มีการติดตอกับฐานขอมูล ซึ่ง Microsoft Access 2002 ไดเพิ่ม
ความสามารถนี้ดวยเชนเดียวกัน จึงทําใหการติดตอกับฐานขอมูลและการสงผาน
ขอมูลในรูปภาษา XML ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ
¾ Access Project : ทํางานรวมกับ SQL Server 2000 ในปจจุบันมักนิยมทดลอง
สรางฐานขอมูล และทดสอบฐานขอมูลดวย Microsoft Access กอนเพื่อความแนใจ
วาฐานขอมูลดังกลาวสามารถใชงานไดอยางถูกตอง จากนั้นจึงมีการนําไปใชงานกับ
ระบบงานขนาดใหญ เชน SQL Server เปนตน ซึ่งนิยมจัดการผาน Access Project
ซึ่งจะมีความสะดวกในการจัดการ
¾ ความสามารถดานความปลอดภัย แมวา Microsoft Access เปนโปรแกรมจัดการ
ฐานขอมูลที่เนนการใชงานกับเครื่องที่เปน Stand Alone ก็ตาม แตผูใชสามารถ
ประยุกตการใชงานใหเขากับเครือขายคอมพิวเตอรที่มีผูใชงานหลายๆ คนได โดยมี
ความสามารถในการรั ก ษาความปลอดภั ย ของข อ มู ล และสามารถกํ า หนดสิ ท ธิ
ผูใชงานฐานขอมูลในลักษณะ Workgroup ได
¾ การวิเคราะหขอมูลขั้นสูงดวย Pivot View และ Pivot Chart ผูใชงานสามารถนํา
ขอมูลที่จัดเก็บไวในฐานขอมูลมาวิเคราะหเพื่อใชในการทํางานอื่นๆ ตอไปได โดย

2
Microsoft Access สามารถกลั่นกรองขอมูล และวิเคราะหขอมูลผาน Pivot View
และ Pivot Chart ไดเชนเดียวกับการใชงาน Microsoft Excel
¾ การทํา Redo และ Undo ไดหลายระดับ Microsoft Access เพิ่มความสามารถใน
การทํา Redo เพื่อทําซ้ํา และการทํา Undo เพื่อยอนกลับ ไดหลายระดับและมากกวา
เวอร ชั น เดิ ม แม ว าผู ใ ช ง านจะบั น ทึ ก การเปลี่ ย นแปลงไปแล ว ก็ ต าม โปรแกรมก็
สามารถยอนคืนการทํางานได ซึ่งชวยใหผูใชทํางานไดอยางสะดวกมากยิ่งขึ้น
¾ การสราง SubForm และ SubReport ได Microsoft Access สามารถจัดการกับ
ฟอรมและรายงานตางๆ ตามกลุมผูใชไดอยางมีประสิทธิภาพ

กอนการเรียนรูเรื่องการสรางฐานขอมูลดวยโปรแกรม Microsoft Access 2002 ผูเรียนควรมี


ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับฐานขอมูลเชิงสัมพันธ องคประกอบของฐานขอมูลสัมพันธ และขั้นตอนการ
ออกแบบฐานขอมูลกอน เนื่องจากความรูพื้นฐานเหลานี้จะชวยใหผูเรียนมีความรูความเขาใจ และ
สามารถสรางฐานขอมูลดวยโปรแกรม Microsoft Access 2002 ไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ

ฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational Database)


ฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational Database) เปนฐานขอมูลที่พัฒนาขึ้นในป ค.ศ.1970 โดย
อี เอฟ คอดด (E.F Codd) ฐานขอมูลเชิงสัมพันธเปนรูปแบบฐานขอมูลที่เขาใจงายสําหรับผูใชงาน ไม
ซับซอน และมีรูปแบบฐานขอมูลที่มีระบบการจัดการฐานขอมูล (Database Management System :
DBMS) สนั บ สนุ น ในการจั ด ข อ มู ล และตอบสนองความต อ งการของผู ใ ช ไ ด เ ป น อย า งดี แ ละมี
ประสิทธิภาพ
องคประกอบของฐานขอมูลเชิงสัมพันธ
1. Entity (เอนทิตี) หมายถึง วัตถุหรือสิ่งที่เราสนใจและตองการจัดเก็บขอมูลไวในฐานขอมูล
ซึ่งวัตถุหรือสิ่งที่เราสนใจตองมีเอกลักษณในตัวเอง หรือสามารถบอกความแตกตางของตนเองได
(เอนทิตีแตละตัวมีความแตกตางกัน) และเอนทิตีถูกสรางขึ้นโดยชุดของแอตทริบิวต
ตัวอยางเชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ประกอบดวย พนักงาน-เจาหนาที่ปฏิบัติงาน
อาจารย นักวิจัย และนักศึกษา ซึ่งบุคลากรแตละกลุมก็มีความแตกตางกันตามหนาที่ความรับผิดชอบ
จึงสามารถกําหนดเอนทิตีไดดังนี้คือ
¾ เอนทิตีบุคลากร ประกอบดวย พนักงาน-เจาหนาที่ปฏิบัติงาน อาจารยและนักวิจัย
¾ เอนทิตีนักศึกษา ประกอบดวย นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและเอก

2. Attribute (แอตทริบิวต) หมายถึง คุณลักษณะหรือรายละเอียดของเอนทิตีแตละตัว เชน


¾ เอนทิตีบุคลากร มทส ประกอบดวย รหัสพนักงาน ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปเกิด
ประเภทบุคลากร หนวยงานสังกัด
¾ เอนทิตีนักศึกษา มทส ประกอบดวย รหัสประจําตัวนักศึกษา ชื่อ-นามสกุล วันเดือนป
เกิด สํานักวิชา สาขาวิชา อาจารยที่ปรึกษา
เกรดเฉลี่ยสะสม

3
3. Relationship (ความสัมพันธ) หมายถึง ความสัมพันธระหวางเอนทิตี ซึ่งถือเปนสวน
สําคัญของฐานขอมูลเชิงสัมพันธ โดยทําหนาที่เชื่อมโยงขอมูลระหวางเอนทิตีตางๆ ที่สัมพันธกัน โดย
ใชแอตทริบิวตที่เหมือนกัน (มีคาตรงกัน) เปนตัวเชื่อมความสัมพันธ ซึ่งเราสามารถแบงความสัมพันธ
ไดเปน 3 ประเภท คือ
¾ ความสัมพันธแบบ 1:1 (One to One Relationship)
ความสัมพันธแบบ 1:1 เปนความสัมพันธที่จัดการงายที่สุด เนื่องจากมี
ความซับซอนนอยที่สุด แตพบไดยากที่สุดในฐานขอมูลเชิงสัมพันธ ความสัมพันธ
แบบนี้มีลักษณะดังนี้คือ ขอมูลของเอนทิตีหนึ่งมีความสัมพันธกับขอมูลอีกเอนทิตี
หนึ่ ง ได เ พี ย งข อ มู ล เดี ย วเท า นั้ น ในลั ก ษณะที่ เ ป น หนึ่ ง ต อ หนึ่ ง เช น ธนาคาร
กําหนดใหลูกคาแตละคนสามารถเปดบัญชีไดเพียงบัญชีเดียวเทานั้น และแตละบัญชี
มีเจาของบัญชีเพียงคนเดียวเทานั้น เปนตน
¾ ความสัมพันธแบบ 1:M (One to Many Relationships)
ความสัมพันธแบบ 1:M เปนความสัมพันธที่พบบอยที่สุดในฐานขอมูลเชิง
สัมพันธ ความสัมพันธแบบนี้มีลักษณะดังนี้คือ ขอมูลของเอนทิตีหนึ่งมีความสัมพันธ
กับขอมูลอีกเอนทิตีหนึ่งไดในหลายขอมูล เชน ธนาคารกําหนดใหลูกคาแตละคน
สามารถเปดบัญชีไดตั้งแต 1บัญชีขึ้นไป และแตละบัญชีมีเจาของบัญชีไดเพียงคน
เดียวเทานั้น เปนตน
¾ ความสัมพันธแบบ M:N (Many to Many Relationships)
ความสัมพันธแบบ M:N เปนความสัมพันธที่พบไมบอยนัก เนื่องจากมีความ
ซับซอนมากกวาความสัมพันธแบบ1:M ความสัมพันธแบบนี้มีลักษณะดังนี้คือ ขอมูล
ของเอนทิตีหนึ่ง (หลายขอมูล) มีความสัมพันธกับขอมูลอีกเอนทิตีหนึ่งไดในหลาย
ขอมูล ซึ่งความสัมพันธของขอมูลทั้งสองเอนทิตีจะมีลักษณะเปนแบบกลุมตอกลุม
เชน ธนาคารกําหนดใหลูกคาแตละคนสามารถเปดบัญชีไดตั้งแต 1บัญชีขึ้นไป และ
แตละบัญชีมีเจาของบัญชีไดมากกวา 1คน เปนตน

4. Key (คีย) หมายถึง แอตทริบิวตที่สามารถใชในการบงบอกความแตกตางของแตละเรคค


อรดได โดยคียแบงไดหลายชนิด แตมีคียที่ผูเรียนควรทราบดังนี้
¾ Primary Key (คียหลัก)
คือ Attribute ที่ใชบงบอกความแตกตางของขอมูลแตละเรคคอรดใน Entity
โดยที่คียหลักอาจเกิดจาก Attribute เดียว หรือหลายแอตทริบิวตรวมกันก็ได ในการ
เลือก Attribute ที่จะมาใชเปนคียหลักควรที่จะเลือกจาก Attribute ที่มีขอมูลภายใน
Attribute สั้นที่สุด ไมมีขอมูลซ้ําซอนกัน และตองมีคาขอมูลในทุกเรคคอรด (ไมเปน
คาวาง (Null))
เชน Entity นักศึกษา มทส ประกอบดวย Attribute รหัสประจําตัวนักศึกษา
ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปเกิด สํานักวิชา สาขาวิชา อาจารยที่ปรึกษา เกรดเฉลี่ยสะสม
จากการพิจารณาจะพบวา Attribute รหัสประจําตัวนักศึกษาไมซ้ํากัน เนื่องจาก

4
นักศึกษาแตละคนมีรหัสประจําตัวที่แตกตางกัน จึงเลือกใช Attribute รหัสประจําตัว
นึกศึกษาเปนคียหลัก (Primary Key)
¾ Candidate Key (คียคูแขง)
คือ Attribute ที่มีคุณสมบัติเปนคียหลัก (Primary Key) ตั้งแต 1 Attribute
ขึ้นไป โดยปกติแลวนิยมเลือก Candidate Key ที่มีคาขอมูลสั้นที่สุดมาเปน Primary
Key
เชน Entity นักศึกษา มทส ประกอบดวย Attribute รหัสประจําตัวนักศึกษา
รหั ส ประจํ าตั ว บั ต รประชาชน ชื่ อ -นามสกุ ล วั น เดื อ นป เ กิ ด สํ านั ก วิ ช า สาขาวิ ช า
อาจารยที่ปรึกษา เกรดเฉลี่ยสะสม จากการพิจารณาจะพบวา Attribute รหัส
ประจําตัวนักศึกษา และ Attribute รหัสประจําตัวบัตรประชาชน สามารถใชเปนคีย
หลัก (Primary Key) ได
ดังนั้น Entity นักศึกษา มทส มี Attribute ที่เปน Candidate Key ซึ่ง
สามารถใชเปนคียหลัก (Primary Key) ได 2 Attribute ไดแก Attribute รหัส
ประจําตัวนักศึกษา และ Attribute รหัสประจําตัวบัตรประชาชน
¾ Composite Key (คียรวม)
คือ Attribute ตั้งแต 2 Attribute ขึ้นไปรวมกันเพื่อใหมีคุณสมบัติเปนคีย
หลัก (Primary Key) เนื่องจากหากใชเพียง Attribute ใด Attribute หนึ่ง อาจทําให
เกิดความซ้ําซอนของขอมูลได หรือขาดคุณสมบัติการเปนคียหลัก
¾ Foreign Key (คียนอก)
คือ Attribute ที่ใชในการเชื่อมตอกับ Entity อื่นเพื่อแสดงความสัมพันธ
ระหวาง Entity โดยคียนอกนี้สามารถมีคาซ้ํากันหรือเปนคาวาง (Not Null) ได
เชน ฐานขอมูลนักศึกษา ประกอบดวย
- Entity นักศึกษา ประกอบดวย รหัสประจําตัวนักศึกษา ชือ่ -นามสกุล
วันเดือนปเกิด สํานักวิชา สาขาวิชา
รหัสอาจารยที่ปรึกษา เกรดเฉลี่ยสะสม
- Entity อาจารยที่ปรึกษา ประกอบดวย รหัสอาจารยที่ปรึกษา
ชือ่ -นามสกุล สํานักวิชา สาขาวิชา
จากการพิจารณาพบวา Attribute รหัสอาจารยที่ปรึกษา ของ Entity
อาจารยที่ปรึกษาเปนคียหลัก และปรากฏใน Entity นักศึกษา ซึ่งสรุปไดวา Attribute
รหัสอาจารยที่ปรึกษา ของ Entity นักศึกษา เปนคียนอก (Foreign Key) เพื่อใชใน
การเชื่อมความสัมพันธของขอมูลระหวาง Entity อาจารยที่ปรึกษาเขากับ Entity
นักศึกษา

สำหรับฐานขอมูลเชิงสัมพันธที่สรางขึ้นจากโปรแกรม Microsoft Access 2002 นั้นมีการใช


คําศัพทที่เรียก Entity และ Attribute ที่แตกตางออกไป โดยที่เรียก Entity วา Table และ และเรียก
Attribute วา Field นอกจากนี้ยังมีองคประกอบอื่นๆ ที่ควรทราบไดแก

5
1. Table (ตาราง) หมายถึง แหลงเก็บรวบรวมขอมูลที่มีความสัมพันธกันอยางเปนระบบใน
ฐานขอมูล โดยแตละตารางจะประกอบดวย คอลัมน (Column) ซึ่งเปนแนวตั้งของตาราง เรียกวา
“ฟลด” (Field) และ แถว (Row) ซึ่งเปนแนวนอนของตาราง เรียกวา “เรคคอรด” (Record)
2. Record (เรคคอรด) หมายถึง กลุมหรือชุดของฟลดที่อยูแถวเดียวกันในตารางตาม
แนวนอน เชน ตารางนักศึกษา มทส ประกอบดวย ชุดขอมูลนักศึกษา มทส ซึ่งแตละเรคคอรดก็จะมี
ความขอมูลที่แตกตางกันไป เปนตน
3. Field (ฟลด) หมายถึง กลุมของขอมูลที่มีลักษณะหรือคุณสมบัติของเรคคอรด เชน ตาราง
นั ก ศึ ก ษา มทส ประกอบด ว ย รหั ส ประจํ า ตั ว นั ก ศึ ก ษา ชื่ อ -นามสกุ ล วั น เดื อ นป เ กิ ด สํ า นั ก วิ ช า
สาขาวิชา อาจารยที่ปรึกษา เกรดเฉลี่ยสะสม เปนตน

Table นักศึกษา
รหัส ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สํานักวิชา GPAX
ประจําตัว
B1111111 นายนอย คงดี เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสังคม 3.23
B2222222 น.ส.ขยัน มากลน อนามัยสิ่งแวดลอม แพทยศาสตร 3.11 เรคคอรด
B3333333 น.ส.บุญพรอม มีดี เทคโนโลยีผลิตสัตว เทคโนโลยีการเกษตร 3.59 (Record)
B4444444 นายรักเรียน รอบรู วิศวกรรมศาสตรโยธา วิศวกรรมศาสตร 3.99

ฟลด (Field)
ตัวอยางที่ 1 ตารางนักศึกษา

ขั้นตอนการออกแบบฐานขอมูล Microsoft Access 2002

การออกแบบฐานขอมูลเปนขั้นตอนที่ตองทํากอนการสรางฐานขอมูล และถือเปนขั้นตอนที่มี
ความสําคัญเปนอยางยิ่ง เนื่องจากถาออกแบบฐานขอมูลไมดีหรือผิดพลาดจะสงผลกระทบตอการ
จัดการขอมูลในฐานขอมูล รวมถึงการสืบคนขอมูลจากฐานขอมูลอาจเกิดความผิดพลาดไดเชนเดียวกัน
ขั้นตอนการออกแบบฐานขอมูลมีตอไปนี้
1. การกําหนดวัตถุประสงคในการออกแบบฐานขอมูล
2. การกําหนดองคประกอบของฐานขอมูล
3. การกําหนดองคประกอบของตาราง
4. การกําหนดความสัมพันธระหวางตารางตางๆ ในฐานขอมูล

1. การกําหนดวัตถุประสงคในการออกแบบฐานขอมูล
กอนที่จะสรางฐานขอมูลตองมีการกําหนดกอนวาจะสรางฐานขอมูลขึ้นมาเพื่อใชใน
งานใด และมี วั ต ถุ ป ระสงค ใ นการสร า งฐานขอ มู ล อย า งไร เพื่ อ ที่ จ ะได ท ราบถึง ข อ มู ล ที่ จ ะ

6
รวบรวมและจั ด เก็ บ ในฐานข อ มู ล รวมถึ ง เป น การกํ า หนดโครงร า งของฐานข อ มู ล ด ว ย
เชนเดียวกัน ในการรวบรวมขอมูลนั้นเราสามารถกระทําไดหลายวิธี เชน การรวบรวมขอมูล
จากเอกสารหรือรายงาน การสอบถามผูใชงาน หรือการสังเกตการทํางานของระบบงานเดิม
(กรณีที่ตองการพัฒนาฐานขอมูลเพื่อใชในการทํางานและปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางาน)
ซึ่งจะทําใหไดรับขอมูลที่ถูกตองและครบถวน
ตัวอยาง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีสุรนารี ตองการสรางฐานขอมูลเพื่อจัดเก็บขอมูลเกี่ยวกับบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา
จากสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อจัดเก็บขอมูลเกี่ยวกับบัณฑิตที่เปนปจจุบันมากที่สุด
และใชในการติดตอกับบัณฑิตของสาขาวิชา ซึ่งสามารถรวบรวมขอมูลไดจากเอกสารและ
ติดตอขอขอมูลจากบัณฑิตแตละคนไดทางจดหมาย

2. การกําหนดองคประกอบของฐานขอมูล
เมื่ อ รวบรวมข อ มู ล ที่ ต อ งการจั ด เก็ บ ในฐานข อ มู ล ได แ ล ว ขึ้ น ตอนต อ ไปคื อ การ
วิเคราะหและกําหนดองคประกอบของฐานขอมูลวา ภายในฐานขอมูลที่พัฒนาขึ้นประกอบดวย
ตารางอะไรบาง และแตละตารางมีความสัมพันธเกี่ยวของกันอยางไร ซึ่งในขึ้นตอนนี้อาจใช
การรางลงในกระดาษคราวๆ กอน ซึ่งมีขั้นตอนดังตอไปนี้
1. การวิเคราะหขอมูลที่เก็บรวมรวมได พบวามีขอมูลดังตอไปนี้ที่ควรจัดเก็บไวใน
ฐานขอมูลบัณฑิต ไดแก รหัสบัณฑิต ชื่อ-นามสกุล ที่อยู หมายเลขโทรศัพท E-mail ภาพถาย
ของบัณฑิต หลักสูตรที่สําเร็จการศึกษา ปที่สําเร็จการศึกษา ตําแหนงงาน ชื่อที่ทํางาน ที่อยูที่
ทํางาน หมายเลขโทรศัพทที่ทํางาน หมายเลขโทรสารที่ทํางาน e-mail ที่ทํางาน
2. การจําแนกขอมูลไดเปนกลุมดังนี้
- ขอมูลบัณฑิต ประกอบดวย รหัสบัณฑิต ชื่อ-นามสกุล ที่อยู หมายเลข
โทรศัพท E-mail ภาพถายของบัณฑิต
หลักสูตรที่สําเร็จการศึกษา ปที่สําเร็จการศึกษา
- ขอมูลที่ทํางาน ประกอบดวย ตําแหนงงาน ชื่อที่ทํางาน ที่อยูที่ทํางาน
หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสารที่ทํางาน
e-mail ที่ทํางาน
3. กําหนดองคประกอบของฐานขอมูล กอนกําหนดองคประกอบของฐานขอมูล
จะตองมีการทํานอรมัลไลซ (Normalization) คือการจัดกลุมขอมูลตางๆ ใหมีความสมบูรณ
และลดความซ้ําซอนของขอมูล รวมถึงการเชื่อมกลุมขอมูลตางๆ ใหเปนระบบ สัมพันธและ
สอดคลองกัน ซึ่งจากการทํานอรมัลไลซแลวจะไดตารางดังตอไปนี้
- ตารางบัณฑิต จัดเก็บขอมูลเกี่ยวกับบัณฑิตสาขา ซึ่งจัดเก็บขอมูลดังตอไปนี้
- รหัสบัณฑิต - ชื่อ-นามสกุล
- ที่อยู - หมายเลขโทรศัพท
- E-mail - ภาพถายบัณฑิต
- รหัสหลักสูตร - ปที่สําเร็จการศึกษา
- ตําแหนงงาน - รหัสที่ทํางาน

7
- ตารางบริษัท จัดเก็บขอมูลเกี่ยวบริษัทที่บัณฑิตทํางาน ซึ่งจัดเก็บขอมูลดังตอไปนี้
- รหัสที่ทํางาน - ชื่อที่ทํางาน
- ที่อยู - หมายเลขโทรศัพท
- หมายเลขโทรสาร - E-mail
- ตารางหลั ก สู ต ร จั ด เก็ บ ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ หลั ก สู ต รสาขาเป ด สอน และใช ใ นการ
เชื่อมโยงกับขอมูลบัณฑิต (หลักสูตรที่สําเร็จการศึกษา) ซึ่งจัดเก็บขอมูล
- รหัสหลักสูตร - ชื่อหลักสูตร

3. การกําหนดองคประกอบของตาราง
การกําหนดองคประกอบของตาราง เป นการกําหนดวาตารางประกอบดวยฟล ด
ใดบาง แตละฟลดจัดเก็บขอมูลประเภทใด และมีคุณสมบัติอยางไร รวมถึงการกําหนดคียหลัก
ซึ่งจากตัวอยางพบวามี 3 ตารางไดแก ตารางบัณฑิต ตารางบริษัท และตารางหลักสูตร ซึ่งแต
ละตารางมีองคประกอบภายในที่แตกตางกัน ดังนี้

ตารางบัณฑิต
ชื่อฟลด ประเภทขอมูล คําอธิบาย
GradID Text (ขนาด 8 ตัวอักษร) รหัสบัณฑิต
GradName Text (ขนาด 100 ตัวอักษร) ชื่อ-นามสกุล
GradAddress Text (ขนาด 255 ตัวอักษร) ที่อยู
GradTel Text (ขนาด 9 ตัวอักษร) หมายเลขโทรศัพท
GradEmail Text (ขนาด 50 ตัวอักษร) E-mail
GradPic OLE Object ภาพถายบัณฑิต
MajorID Text (ขนาด 2 ตัวอักษร) รหัสหลักสูตร
GradDate Text (ขนาด 4 ตัวอักษร) ปที่สําเร็จการศึกษา
GradPosition Text (ขนาด 100 ตัวอักษร) ตําแหนงงาน
CompID Text (ขนาด 2 ตัวอักษร) รหัสที่ทํางาน

ตารางบริษัท
ชื่อฟลด ประเภทขอมูล คําอธิบาย
CompID Text (ขนาด 2 ตัวอักษร) รหัสที่ทํางาน
CompName Text (ขนาด 100 ตัวอักษร) ชื่อที่ทํางาน
CompAddress Text (ขนาด 255 ตัวอักษร) ที่อยู
CompTel Text (ขนาด 9 ตัวอักษร) หมายเลขโทรศัพท
CompFax Text (ขนาด 9 ตัวอักษร) หมายเลขโทรสาร
CompEmail Text (ขนาด 50 ตัวอักษร) E-mail

8
ตารางหลักสูตร
ชื่อฟลด ประเภทขอมูล คําอธิบาย
MajorID Text (ขนาด 2 ตัวอักษร) รหัสหลักสูตร
MajorName Text (ขนาด 100 ตัวอักษร) ชื่อหลักสูตร

เมื่อกําหนดองคประกอบของตารางเสร็จแลวจึงกําหนดคียหลัก (Primary Key)


- ตารางบัณฑิต กําหนดใหฟลด GradID เปนคียหลัก
- ตารางหลักสูตร กําหนดใหฟลด MajorID เปนคียหลัก
- ตารางบริษัท กําหนดใหฟลด CompID เปนคียหลัก

4. การกําหนดความสัมพันธระหวางตารางตางๆ ในฐานขอมูล
เมื่ อ กํ า หนดองค ป ระกอบของตารางเสร็ จ แล ว ขั้ น ตอนต อ ไปก็ คื อ การกํ า หนด
ความสัมพันธระหวางตารางในฐานขอมูล จากการออกแบบจะพบวามีทั้งหมด 3 ตาราง คือ
ตารางบั ณ ฑิ ต ตารางหลั ก สู ต ร และตารางบริ ษั ท ซึ่ ง ทั้ ง สามตารางเกี่ ย วข อ งและมี
ความสัมพันธกันกลาวคือ
- ตารางหลักสูตรมีความสัมพันธกับตารางบัณฑิต
- ฟลดรหัสหลักสูตร (MajorID) ของตารางหลักสูตรมีความสัมพันธกับฟลด
รหัสหลักสูตร (MajorID) ของตารางบัณฑิต และมีรูปแบบความสัมพันธ
เปนแบบ 1: M เนื่องจากแตละหลักสูตรผลิตบัณฑิตอยางมากกวา 1 คน
- ตารางบริษัทมีความสัมพันธกับตารางบัณฑิต
- ฟลดรหัสบริษัท (CompID) ของตารางบริษัทมีความสัมพันธกับฟลดรหัส
บริษัท (CompID) ของตารางบัณฑิต และมีรูปแบบความสัมพันธเปนแบบ
1: M เนื่องจากบัณฑิตทํางานในบริษัท 1 บริษัท บางบริษัทอาจมีบัณฑิต
ของสาขาทํางานมากกวา 1คน

ภาพแสดงความสัมพันธระหวางตาราง ฐานขอมูลบัณฑิตสาขาวิชาเทคโลยีสารสนเทศ

9
องคประกอบของ Microsoft Access 2002
สวนประกอบของจอภาพ
เมื่อเรียกใชโปรแกรม Access โดยการ Double Click ที่ไอคอน Access จะปรากฏ
หนาตาง Microsoft Access และเมื่อเลือกที่จะสรางหรือเปดฐานขอมูล จะปรากฏหนาตาง
ฐานขอมูล (Database Window) ดังภาพ

ภาพแสดงสวนประกอบของจอภาพ

ภาพหนาจอและองคประกอบของ Microsoft Access 2002

1. แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) เปนแถบที่อยูบนสุด จะแสดงชื่อของโปรแกรม Microsoft


Access
2. แถบเมนู (Menu Bar) แสดงรายการคําสั่งที่ใชในการจัดการไฟล แกไข เปนตน
3. แถบเครื่องมือ (Tool Bar) แสดงปุมคําสั่งที่ใชภาพแทนตัวอักษร จะแสดงเฉพาะ
ปุมคําสั่งที่ใชงานประจํา เมื่อตองการใชงานเพียงแคคลิกเมาสที่ปุมนั้น เมื่อมีการ
ใชงานตางออบเจ็กตกันปุมอาจจะแตกตางกันบาง ดังนั้น อยากังวลหากเห็นความ
แตกตางที่เกิดขึ้น
4. หนาตางฐานขอมูล (Database Window) แสดงออบเจ็กตตางๆ ในฐานขอมูล
แถบดานบนของ หนาตางจะเปนชื่อของ Database ที่เปดใชงาน
5. ปุมออบเจ็กต (Object Button) แสดงออบเจ็กตตางๆ ในฐานขอมูล (ดูรายละเอียด
เรื่องสวนประกอบของฐานขอมูล)
6. ปุมคําสั่ง (Command Button) เปนปุมที่ใชในการสั่งใหทํางานตางๆ ของ
ออบเจ็กตที่ใชงานอยู เชน ใชงานออบเจ็กต Table

10
ปุมคําสั่ง New หมายถึง สรางตารางใหม
ปุมคําสั่ง Open หมายถึง เปด Datasheet ขึ้นมากรอกขอมูล
ปุมคําสั่ง Design หมายถึง กําหนดโครงสรางตาราง
7. แถบสถานะ (Status Bar) แสดงขอความตางๆ เกี่ยวกับสถานะการทํางาน เชน
Caps Lock, Num Lock เปนตน

องคประกอบของ Microsoft Access 2002


Microsoft Access 2002 ประกอบดวยสวนตางๆ 6 สวน หรืออาจเรียกวา
"ออบเจ็กตฐานขอมูล" (Database Object) ตามแตละแท็บที่ปรากฏบนหนาตาง Database (ดู
จากภาพแสดงสวนประกอบของจอภาพ)
1. Table (ตาราง) เปนสวนที่ทําหนาที่ในการกําหนดโครงสรางของ Database และ
จัดเก็บขอมูลที่มีความสัมพันธกันไวดวยกัน โดยจะเก็บขอมูลในรูปของแถวและคอลัมน ขอมูล
ในแตละแถวจะเรียกวา เรคอรด (Record) แตละคอลัมนเรียกวา ฟลด (field)
2. Query (คิวรี่) ใชในการสอบถาม แกไข เพิ่มหรือลบขอมูลในตาราง คิวรี่อาจ
เรียกวา "ขอคําถาม" เนื่องจากเราสามารถใชคิวรี่ในการสอบถามขอมูลจากตารางเดียวหรือ
หลายตารางได
3. Form (แบบฟอรม) ใชในการทํางานกับขอมูลใหงายและสะดวก เชน ใชแสดง
เพิ่ม หรือ แกไขขอมูลจากตารางตางๆ บนแบบฟอรม สามารถเพิ่มขอความ หรือปุมคําสั่ง
ตางๆ เพื่ออธิบายใหผูใชแบบฟอรมใชงานไดงาย แมวาจะไมเขาใจภายในระบบก็ตาม
4. Report (รายงาน) ใชในการแสดงผลขอมูลทั้งจากบนจอภาพและการพิมพทาง
เครื่องพิมพ การแสดงผลดวย Report จะไมเหมือนกับการแสดงผลที่ Form คือ ไมสามารถ
เพิ่ม ลบ หรือแกไขขอมูลได แตสามารถรวบรวมผลและนําเสนอขอมูลสรุปแยกเปนกลุมได
ดีกวา Form
5. Macro (มาโคร) อาจเรียกวา "ชุดคําสั่ง" ใชเพื่อเสริมการทํางาน โดยการนําคําสั่ง
ต า งๆ ที่ ต อ งการให ทํ า งานเรี ย งลํ า ดั บ กั น ไปเรื่ อ ยๆ เช น สร างชุ ด คํ า สั่ ง ให เ ป ด ฟอร ม โดย
อัตโนมัติ หลังจากนั้นให Run เมนูเฉพาะงานขึ้นมาและสั่งพิมพรายงานทันที เปนตน เมื่อ
ตองการใหมาโครทํางานเพียงแคกดปุมควบคุมเทานั้นเอง
6. Module (โมดูล) เปนการเขียนคําสั่งโปรแกรม แตกอนเขียนดวย Access Basic
Code ปจจุบันเปน Visual Basic For Application (VBA) การใชงานเหมือน Macro แต
ซับซอนกวามาก หากเพิ่งเริ่มเรียนรูการใชฐานขอมูล Access ไมควรใช Module

คุณสมบัตติ า งๆ ของฟลด
กอนสรางตารางตองทําความเขาใจเกี่ยวกับคุณสมบัติตางๆ ของฟลดกอน เพื่อการ
กําหนด โครงสรางของตารางจะไดไมตองแกไขไปแกไขมา ซึ่งจะมีผลกระทบกับขอมูลที่
กรอกไปแลว เพราะหากคุณสมบัติของฟลดเปลี่ยนไป ขอมูลก็จะเปลี่ยนไปหรืออาจสูญหายได

11
ภาพแสดงหนาตางการกําหนดโครงสรางของตาราง (คุณสมบัติของฟลด)

1. ชื่อฟลด (Field Name)


กฎในการตั้งชื่อฟลดมีดังนี้
1. ยาวไดไมเกิน 64 ตัวอักษร
2. ใชไดทั้งตัวอักษรและตัวเลข และมีชองวางได
กรณีที่มีชองวางในชื่อฟลดใด เวลาอางอิงถึงชื่อนั้นใน Query หรือ Form
ตองใสชื่อฟลดไวในเครื่องหมาย [ ] (bracket เชน [Order ID])
3. ควรตั้งชื่อเปนภาษาอังกฤษมากกวาภาษาไทย
4. ควรตั้งใหสื่อความหมายกับคุณสมบัติของ Field นั้น

2. ประเภทของขอมูลในฟลด (Data Type)


การกําหนดขอมูลในฟลดตองระบุที่ชอง Data Type ในขั้นตอนการกําหนด
โครงสรางตาราง (Table Design) การเก็บขอมูลตองพิจารณาใหดีวาขอมูลใดจะเปน
ประเภทใด มีความยาวเทาไร เพื่อใหเหมาะสมกับการทํางาน และเพื่อประหยัดพื้นที่
ในการจัดเก็บดวย เชน
- กรณีที่พนักงานในบริษัทมีไมเกิน 1,000 คน การเลือก Number ควรเรียก
เปน Integer ก็พอ ไมควรเลือกเปน Long Integer เพราะกินพื้นที่มากกวา และไมมี
ความจําเปนเลยที่ตองกําหนดใหเปน Single หรือ Double เพราะไมตองการทศนิยม
- กรณีหมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสารกําหนดเปน Text เนื่องจากไม
จําเปนตองใชในการคํานวณ

12
ประเภทขอมูล ขนาด ชนิดของขอมูล / คําอธิบาย
Text 255 ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวเลข และเครื่องหมายตางๆ ที่ไมไดใชในการ
คํานวณ
Memo 65,635 ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวเลข และเครื่องหมายตางๆ ที่ใชในการ
อธิบาย บันทึก หรือหมายเหตุ
Number 8 ไบต ตัวเลขที่ใชในการคํานวณ ทั้งจํานวนเต็มและทศนิยม
Date/Time 8 ไบต วัน เดือน ป ระหวางปที่ 100 ถึงปที่ 9999 และเวลา
Currency 8 ไบต ตัวเลขที่ใชในการคํานวณ และตัวเลขที่เกี่ยวกับสกุลเงิน
โดยเก็ บ ตั ว เลขจํ า นวน 15 หลั ก (ตั ว เลขหน า ทศนิ ย ม)
และเก็บตัวเลขทศนิยมไมเกิน 4 ตําแหนง
Auto Number 4 ไบต, 16 ไบต คาลําดับที่เพิ่มในตารางโดยอัตโนมัติและไมซ้ํากัน เมื่อมี
การเพิ่มเรคคอรดใหมในตาราง
Yes/No 1 บิต ขอมูลเชิงตรรกะที่เปนไปไดเพียง 2 คา เชน True/False,
On/Off หรือ Yes/No
OLE Object 1 กิกะไบต วัตถุ (Object) หรือสิ่งอื่นๆ ที่สรางขึ้นจากโปรแกรมอื่นๆ
เชน รูปภาพ เสียง หรือแฟมเอกสาร เปนตน
Hyperlink 2,048 ตัวอักษร ขอความ หรือรูปแบบของขอความที่ใชสําหรับเชื่อมโยง
ไปสูขอมูลอื่นๆ หรือการเชื่อมโยงในรูปแบบเว็บเพจ
Lookup Wizard ขนาดเทากับคียหลัก ขอมูลที่ดึงมาจากตารางอื่นที่เชื่อมความสัมพันธกัน
ของตารางที่ดึงขอมูล
มาใชงาน

3. คําอธิบายเพิ่มเติม (Description)
สวนของการอธิบายรายละเอียดของชื่อฟลดนั้นเพื่อเพิ่มเติมใหชัดเจนขึ้น
เชน Field ชื่อ EmpName ใน Description จะมีคําอธิบายเพิ่มเติมวา “ชื่อของ
พนักงานในบริษัท ความยาวไมเกิน 25 ตัวอักษร” เปนตน ขอความนี้จะปรากฏที่
แถบสถานะดานลาง (Status bar) เมื่อคลิกเลือกฟลดนี้ใน Form

4. คุณสมบัติของฟลด (Field Properties)


สวนที่ใชกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของ Field ประกอบดวย

คุณสมบัติฟลด ความหมาย คําอธิบาย


Field Size ขนาดของขอมูล ความยาวสูงสุดของขอมูลที่บันทึกลงในฟลดนั้น
Format รูปแบบของขอมูล รูปแบบของขอมูลที่ตองการแสดง
เชน ตัวเลข คาเงิน วันเดือนป เปนตน
Decimal Place จํานวนตําแหนงหลัง จํานวนตําแหนงหลังจุดทศนิยม
จุดทศนิยม (สําหรับขอมูลประเภท Number และ Currency)

13
คุณสมบัติฟลด ความหมาย คําอธิบาย
Input Mark รูปแบบการรับคาขอมูล รูปแบบในการรับคา หรือบันทึกคาขอมูลลงในฟลด
Caption ชื่อฟลดเพิ่มเติม ชื่อฟลดที่ใชแสดงแทนชื่อฟลดที่กําหนดไวในตาราง
Validation Text ขอความเตือนในการ ขอความเตือน กรณีที่ผูใชบันทึกคาขอมูลในฟลดนั้น
รับคาขอมูล ไมถูกตอง หรือไมตรงตามกฎเกณฑที่กําหนดไว
Required ความตองการขอมูล การบั ง คั บ ให ผู ใ ช บั น ทึ ก ค าข อ มู ล ลงในฟ ล ด ต ามที่
ของฟลด กําหนดไว
Allow Zero Length การยกเวนการบันทึก การกําหนดใหฟลดนั้นๆ ไมตองบันทึกคาขอมูลได
คาขอมูลในฟลด (การทําใหเปนคาวาง (คา Null))
Indexed การกําหนดดรรชนี การกําหนดดรรชนีใหกับ ฟลดนั้น ๆ เพื่อใชในการ
ใหกับฟลด คนหาขอมูล หรือการเรียงลําดับขอมูล

Field Size
การกําหนดขนาดของฟลด ใชกับฟลดที่มีประเภทขอมูล (Data Type) เปน
แบบ Text, Number และ Auto Number เทานั้น ซึ่งประเภทขอมูลแตละชนิดมี
รายละเอียดในการกําหนดขนาดของฟลดดังนี้
1. Data Type ประเภท Text
โปรแกรมกํ า หนดขนาดความยาวตั้ ง ต น ไว ที่ 50 ตั ว อั ก ษร แต
สามารถกําหนดใหมไดตั้งแต 0 – 255 ตัวอักษร
2. Data Type ประเภท Number
โปรแกรมกําหนดแบบ Number ไวที่ Long Integer (คาตัวเลข
จํานวนปกติ) แตสามารถกําหนดใหมใหเปนแบบตางๆ ได ดังนี้

รูปแบบ ตําแหนงทศนิยม คําอธิบาย


Byte ไมมี ตัวเลขจํานวนเต็มตั้งแต 0 – 255
Integer ไมมี ตัวเลขจํานวนเต็มตั้งแต -32,768 ถึง 32,767
Long Integer ไมมี ตัวเลขจํานวนเต็มตั้งแต -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647
Single 7 ตําแหนง ตัวเลขตั้งแต -3.4X1038 ถึง -1.4X1045 สําหรับคาลบ
และ 1.4X1045 ถึง 3.4X1038 สําหรับคาบวก
Double 15 ตําแหนง ตัวเลขตั้งแต -1.8X10308 ถึง -4.5X10324 สําหรับคาลบ
และ 4.5X10324 ถึง 1.8X10308 สําหรับคาบวก
Replication ID ไมมี Globally unique identifier (GRID) (ตัวเลขผสมตัวอักษร)
Decimal 28 หลัก ตัวเลขตั้งแต -1028-1 ถึง 1028-1

14
3. Data Type ประเภท Auto Number
โปรแกรมกําหนดแบบ Auto Number ไวที่ Long Integer (คา
ตัวเลขจํานวนปกติ) แตสามารถกําหนดใหมใหเปนแบบตางๆ ได ดังนี้
รูปแบบ ขนาด คําอธิบาย
Long Integer 4 ไบต จํานวนเต็มที่เพิ่มขึ้นที่ละ 1 หรือจากการสุม
Replication ID 16 ไบต ตัวเลขผสมกับตัวอักษร (Globally unique identifier (GRID))

Format
การกําหนดรูปแบบของฟลด ใชกับฟลดที่มีประเภทขอมูล (Data Type) ทุก
ประเภท แตที่นิยมกําหนดรูปแบบของฟลดไดแกขอมูลประเภท Text, Number,
Currency, Date/Time และ Yes/No ซึ่งประเภทขอมูลแตละชนิดมีรายละเอียดในการ
กําหนดขนาดของฟลดดังนี้
1. Data Type ประเภท Text
สัญลักษณ คําอธิบาย ตัวอยาง
@ แทนอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมาย 1 ตัว รูปแบบ @@-@@@
กรณีที่ไมปอนคาขอมูล โปรแกรมจะกําหนดใหตําแหนงนั้น ผลลัพธ 12-345
เปนคาวาง (Null) 01-234
& แทนอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมาย 1 ตัว รูปแบบ &&-&&&
กรณีที่ไมปอนคาขอมูล โปรแกรมจะไมกําหนดใหตําแหนงนั้น ผลลัพธ 1-234
เปนคาวาง (Null) -123
< ตัวอักษรทุกตัวแสดงเปนตัวพิมพเล็ก DATABASE
> ตัวอักษรทุกตัวแสดงเปนตัวพิมพใหญ database

2. Data Type ประเภท Number และ Currency


รูปแบบ คําอธิบาย ตัวอยาง
General Number รูปแบบปกติ (คา Default) ตามคาที่ปอนขอมูล 9999.989
Currency รูปแบบสกุลเงินบาท โดยมีเครื่องหมายจุลภาค (,) คั่นระหวาง ฿9,999.99
ตัวเลขตําแหนงที่ 3 กับ 4 และตําแหนงที่ 6กับ 7
Euro รูปแบบสกุลเงินยูโร โดยมีเครื่องหมายจุลภาค (,) คั่นระหวาง 9,999.99
ตัวเลขตําแหนงที่ 3 กับ 4 และตําแหนงที่ 6กับ 7
Fixed รูปแบบปกติตามคาที่ปอนขอมูล แตจะแสดงตัวเลขอยางนอย 1 9999.99
ตัว และตัวเลขหลังจุดทศนิยม 2 ตําแหนง
Standard รูปแบบมาตรฐาน โดยใชเครื่องหมายจุลภาค (,) ในการแยกตัว 9,999.99
เลข 3 หลัก และมีตัวเลขหลังจุดทศนิยม 2 ตําแหนง

15
รูปแบบ คําอธิบาย ตัวอยาง
Percent รูปแบบคาเปอรเซ็นต โดยหารคาที่ปอนขอมูลดวย 100 แลว 99.00%
เติ ม เครื่ อ งหมาย % ไว ด านหลั ง ตั ว เลข และมี ตั ว เลขหลั ง จุ ด
ทศนิยม 2 ตําแหนง
Scientific รูปแบบตัวเลขมาตรฐานทางวิทยาศาสตร 9.99E+03

3. Data Type ประเภท Date/Time


รูปแบบ คําอธิบาย ตัวอยาง
General Date รูปแบบวันที่และเวลาปกติ (คา Default) เปนการแสดงผล 28/4/2549 10:06:30
ที่รวมระหวางรูปแบบ Short Date และ Long Time
Long Date รูปแบบวันที่ปกติตามที่กําหนดคาวันที่ของ Date and 28 เมษายน 2549
Time ใน Control Panel ของระบบปฏิบัติการ Windows
Medium Date รูปแบบวันที่แบบสั้น (วันที่ เดือน(อักษรยอ) ป(ยอ)) 28–มิ.ย.–49
Shot Date รูปแบบวันที่แบบสั้น (วันที่ เดือน(เลขเดือน) ป(ยอ)) 28/4/49
Long Time รูปแบบเวลาปกติตามที่กําหนดคาเวลาของ Date and 10:06:30
Time ใน Control Panel ของระบบปฏิบัติการ Windows
Medium Time รูปแบบเวลาแบบสั้น (ชั่วโมง นาที หนวยเวลา AM/PM) 10:06 AM
Shot Time รูปแบบเวลาแบบสั้น (ชั่วโมง นาที) 10:06

4. Data Type ประเภท Yes/No


รูปแบบ คําอธิบาย ตัวอยาง
True / False รูปแบบคาจริง (True) และคาเท็จ (False) True / False
Yes / No รูปแบบคาใช (Yes) และไมใช (No) Yes / No
On / Off รูปแบบคาเปด (On) และคาปด (Off) On / Off

Decimal Place
การกําหนดตําแหนงตัวเลขหลังจุดทศนิยม ใชกับฟลดที่มีประเภทขอมูล
(Data Type) ประเภท Number, Currency ซึ่งโปรแกรมกําหนดมาใหเปนแบบ Auto
(ทศนิยม 2 ตําแหนง) แตผูใชสามารถแกไขได โดยโปรแกรมกําหนดใหมีทศนิยมได
ตั้งแต 0 – 15 ตําแหนง

Input Mask
การกํ า หนดรู ป แบบเพื่ อ ใช ใ นการรั บ ค า ข อ มู ล ของฟ ล ด ใ ห ถู ก ต อ งตาม
หลักเกณฑที่กําหนดไว เชน หมายเลขโทรศัพท มีการใชหลายรูปแบบ เชน 044-
224499, (044) 224499, 0-4422-4499 หรือ 6644224499 เปนตน หากไมมีการ

16
กําหนดรูปแบบการรับคาขอมูล จะทําใหผูใชแตละคนปอนคาขอมูลหลากหลาย ไม
เปนรูปแบบเดี๋ยวกัน จึงควรมีการกําหนดรูปแบบเพื่อความสะดวกในการกรอกขอมูล
และเพื่อปองกันความผิดพลาดในการกรอกขอมูลของผูใชงาน
สัญลักษณ คําอธิบาย
0 แทนตัวเลข 0 – 9 เทานั้น และตองใสคาทุกครั้ง
9 แทนตัวเลข 0 – 9 หรือชวงวางก็ได (คา Null) จะใสหรือไมใสคาก็ได
# แทนตัวเลข 0 – 9 หรือชวงวางก็ได (คา Null) ที่เปนคาบวกหรือคาลบ ก็ได
L แทนตัวอักษร และตองใสคาทุกครั้ง
? แทนตัวอักษร จะใสหรือไมใสคาก็ได
A แทนตัวเลขหรือตัวอักษรเทานั้น และตองใสคาทุกครั้ง
a แทนตัวเลขหรือตัวอักษรเทานั้น จะใสหรือไมใสคาก็ได
& แทนตัวเลข ตัวอักษร และชองวาง (คาวาง) และตองใสคาทุกครั้ง
C แทนตัวเลข ตัวอักษร และชองวาง (คาวาง) จะใสหรือไมใสคาก็ได
. (จุด) แทนเลขทศนิยม
, แทนเครื่องหมายคั่นระหวางตัวเลข ตามหลักสากล
:;-/ แทนเครื่องหมายคั่นระหวางวันที่ และเวลา
< แทนเครื่องหมายเปลี่ยนตัวอักษรทุกตัวที่บันทึกคาใหแสดงผลเปนตัวพิมพเล็ก
> แทนเครื่องหมายเปลี่ยนตัวอักษรทุกตัวที่บันทึกคาใหแสดงผลเปนตัวพิมพใหญ
! แทนเครื่องหมายที่ใหใสคาที่บันทึกจากขวาไปซาย
\ แทนเครื่องหมายแสดงคาตามอักษรที่ตามหลังเครื่องหมายนี้

Caption
การกําหนดชื่อใหม, ชื่ออื่นๆ หรือ ชื่อที่เปนภาษาอื่น ที่ใชแทนชื่อฟลด ที่
กําหนดไวใน Field Name เพื่อใหผูใชงานเขาใจ เนื่องจากมีขอจํากัดในการกําหนด
ชื่อฟลดในชอง Field Name เชน Field Name ตั้งชื่อวา “StuID” ซึ่งอาจไมสื่อ
ความหมาย จึงกําหนดชื่อฟลดใหมในชอง Caption วา “รหัสประจําตัวนักศึกษา” ซึ่ง
ขอความดังกลาจะปรากฏในสวนของ Header ของ Field บนหนา Datasheet ที่ใช
บันทึกขอมูลลงตาราง

Default Value
การกําหนดคาเริ่มตนใหกับฟลดนั้นๆ ซึ่งคาที่กําหนดไวจะปรากฏในหนา
Datasheet ที่ใชในการบันทึกขอมูล

17
Validation Rule
การกําหนดเงื่อนไขในการบันทึกคาขอมูล โดยกําหนดในรูปของประโยค
เงื่อ นไข เชน เงิ นเดื อ นพนัก งานอยูร ะหวาง 10,000 บาทถึ ง 50,000 บาท ใหใ ส
เงื่อนไขวา Between 10000 and 30000 เปนตน

Validation Text
การกําหนดขอความเตือนกรณีที่ปอนขอมูลลงตารางผิดพลาด หรือไมตรง
กับ Validation Rule ที่กําหนดไว เชน พิมพคําวา “กรุณากรอกขอมูลใหมอีกครั้ง
เงินเดือนพนักงานอยูระหวาง 10,000 – 50,000 บาทเทานั้น” เปนตน

Required
การกําหนดใหมีการปอนขอมูลลงในฟลดทุกครั้งหรือไม กรณีที่เลือก
ตัวเลือก “Yes” หมายถึง ตองการใหมีการปอนขอมูลทุกครั้ง และกรณีที่เลือก
ตัวเลือก “No” หมายถึง ไมจําเปนตองปอนขอมูลลงฟลดทุกครั้ง หรือไมตองปอน
ขอมูลลงฟลดนั้นได

Allow Zero Length


การกําหนดใหขอมูลในฟลดนั้นที่มี Data Type ประเภท Text และ Memo
มีคาเปน "Null" ได กรณีที่เลือกตัวเลือก “Yes” หมายถึง ฟลดดังกลาวสามารถเปน
คาวางได และกรณีที่เลือกตัวเลือก “No” หมายถึง ฟลดดังกลาวไมสามารถเปนคา
วางได

Indexed
การกําหนดดรรชนีใหกับฟลด ซึ่งมี 3 ประเภท คือ
รูปแบบ ความหมาย
No ไมมีการกําหนดดรรชนีใหกับฟลดนั้น
Yes (Duplicates OK) กําหนดดรรชนีใหกับฟลดนั้น (แบบซ้ํากันได)
Yes (No Duplicates) กําหนดดรรชนีใหกับฟลดนั้น (แบบซ้ํากันไมได)

18
ขั้นตอนการสรางตาราง (Table)

การสรางตารางเพื่อบันทึกขอมูลลงฐานขอมูลดวยโปรแกรม Microsoft Access 2002 นั้นมี


การแบงขั้นตอนออกเปน 2 ขั้นตอน ดังนี้คือ 1) การกําหนดโครงสรางตาราง, องคประกอบของฟลด
และการเชื่อมความสัมพันธระหวางตาราง 2) การกรอกขอมูลลงในตาราง

เริ่ม

กําหนดโครงสรางตาราง

กําหนดองคประกอบฟลด

เชื่อมความสัมพันธ
ระหวางตาราง

กรอกขอมูลลงใน
Data sheet ของตาราง

จบ

แผนผังแสดงขั้นตอนการสรางตาราง (Table) ดวยโปรแกรม Microsoft Access 2002

19
ปฏิบัติการที่ 1
การสรางฐานขอมูลและการกําหนดโครงสรางตาราง
วัตถุประสงค : นักศึกษาสามารถ
1. สรางตารางเพื่อจัดเก็บขอมูลโดยใชโปรแกรม Access ได
2. กําหนดโครงสรางของตารางได
3. อธิบายคุณสมบัติของแตละฟลดที่กําหนดในตารางได

ขั้นตอนปฏิบัติที่ 1.1

การสรางฐานขอมูล Week1.mdb

1. เรียกใชโปรแกรม Microsoft Access

2. คลิกคําสั่ง
Program
3. คลิกคําสั่ง
Microsoft Access

1. คลิก
คําสั่ง Start

2. ปรากฏหนาตางการโปรแกรม Microsoft Access 2002


3. คลิกคําสั่ง Blank Database ในหัวขอ
New ซึ่งอยูในหนาตางงาน (Task pane)
เพื่อสรางฐานขอมูลใหม

หรือ คลิกที่ไอคอน
บนแถบ Standard Toolbar
คลิกคําสั่ง
Blank Database

4. ตั้งชื่อฐานขอมูลใหมที่สรางวา Week1.mdb ในชอง File Name : ดังรูป

5. เมื่อตั้งชื่อฐานขอมูลเสร็จเรียบรอยแลว ใหคลิกที่ปุม Create

21
6. ปรากฏหนาตาง Database ชื่อ Week1

ที่หนาตาง Database จะปรากฏ Object ตางๆ 6 Object ไดแก Table, Query, Form,
Report, Macro และ Module

7. ใหคลิกเลือก object : Table แลวคลิกที่ปุมคําสั่ง New

2. คลิก
คําสั่ง New

1. คลิก Object
Table

22
8. ปรากฏหนาจอ New Table

ประเภทตาราง คําอธิบาย
Datasheet View ตารางขอมูลแบบ Datasheet ขนาด 20 คอลัมน X 30 แถว
Design View ตารางขอมูลที่ผูใชกําหนดโครงสรางตาราง และองคประกอบของฟลดดวยตนเอง
Table Wizard ตารางขอมูลที่ Microsoft Access เตรียมโครงสรางตารางไวใหแลว
Import Table ตารางขอมูลที่สรางโดยการทําสําเนาจากตารางขอมูลที่มีอยูแลวมาเก็บไวใน
ฐานขอมูลที่ใชงานอยูในปจจุบัน
Link Table ตารางขอมูลที่ Microsoft Access ดึงขอมูลดวยวิธีการเชื่อมโยงจากฐานขอมูล
อื่นๆ นํามาใชงานในฐานขอมูลปจจุบัน

9. คลิกที่คําสั่ง Design View จากนั้นคลิกที่ปุม OK

1. คลิกตัวเลือก
Design View

2. คลิก
ปุมคําสั่ง OK

23
10. ปรากฏหนาตางกําหนดโครงสรางตาราง ดังรูป

หนาตางกําหนดโครงสรางตารางประกอบไปดวย Field Name (ชื่อฟลด), Data Type (ชนิด


ของฟลด), Description (รายละเอียดของฟลด), Field Properties (คุณสมบัติของฟลด)
(อานรายละเอียดจากเรื่องคุณสมบัติของฟลด ในสวนบทนํา หนา 11 – 18)

24
ขั้นตอนปฏิบัติที่ 1.2

การกําหนดโครงสรางตารางและองคประกอบของฟลด

คําสั่ง:
ใหนักศึกษาสรางตาราง CUSTOMER, PRODUCT, EMPLOYEE, ORDER และตาราง
ORDER_Detail โดยดูโครงสรางตารางและองคประกอบของฟลด จากภาคผนวก หนา 41 – 43

1. จากหนาตาง Table1: Table ใหพิมพชื่อฟลด CusID ลงในชอง Field Name ดังรูป

2. เมื่อพิมพชื่อฟลดเสร็จแลวใหกดปุม Enter เคอรเซอร (Curser) จะเลื่อนไปชอง Data Type


โดยอัตโนมัติ
- โดยปกติโปรแกรม Microsoft Access 2002 จะกําหนดคาเริ่มตน (Default) ของ
Data Type ไวที่ Text หากตองการกําหนดเปนชนิดอื่น ใหคลิกที่ชองนั้นจะมีปุมลูกศรใหเลือกชนิดของ
ฟลดแบบตางๆ ได สําหรับฟลดนี้ใหกําหนดเปน Text (ไมตองแกไขคา Data Type)

25
3. เมื่อเลือกชนิดของขอมูลแลวใหกด Enter เคอรเซอรจะปรากฏที่ชอง Description ให
นักศึกษาพิมพรายละเอียดของฟลด ดังนี้ “รหัสประจําตัวลูกคา ใชเปน Primary key”

4. ที่สวน Field Properties ใหนักศึกษากําหนดคุณสมบัติตางๆ ของฟลด


(ดูจากภาคผนวก หนา13–18)

TIP
การเลือกฟลด (เลื่อนเมาสไปที่ดานหนาของฟลดที่ตองการเลือก เชน ฟลด CusID จะปรากฏลูกศร
สีดํา (ใหคลิกเมาสจะปรากฏแถบสีดําที่ฟลดนั้น)

26
การกําหนด Field Properties: Input Mask

1. คลิกฟลดที่ตองการกําหนด Input Maskในตัวอยางเปนการกําหนด Input Mask ใหกับฟลด


หมายเลขโทรศัพท (CusTel)
2. คลิกที่ชอง Input Mask จะปรากฏปุม

3. คลิกที่ปุม จะปรากฏหนาตาง Input Mask Wizard ดังรูป

27
4. คลิกเลือกปุม Edit List จะปรากฏหนาตาง Customize Input Mask Wizard ดังรูป

5. แกไขขอมูลใน Customize Input Mask Wizard ดังนี้


1) ชอง Description: ใหแกไขเปน Telephone
2) ชอง Input Mask: ใหแกไขเปน 0-0000-0000
3) ชอง Sample Data: ใหแกไขเปน 0-4422-4499

6. เมื่อแกไขขอมูลเสร็จแลวใหคลิกที่ปุมคําสั่ง Close จะปรากฏหนาตาง Input Mask Wizard


พรอมรายการ Input Maskที่สรางขึ้น ดังรูป

28
7. ที่ชอง Try It: ใหทดสอบการพิมพคาขอมูล เพื่อตรวจสอบวา Input Mask ที่กําหนดขึ้นตรง
ความตองการหรือไม ดังรูป

8. คลิกปุมคําสั่ง Next จะปรากฏหนาตางถัดไป เพื่อกําหนดรูปแบบของสัญลักษณที่ใชในการ


รับคาขอมูล ดังรูป

1. ตรวจสอบรูปแบบ
Input Mask

2. กําหนดรูปแบบ
การรับคาขอมูล

29
9. คลิกปุมคําสั่ง Next จะปรากฏหนาตางถัดไป เพื่อกําหนดรูปแบบการจัดเก็บขอมูลลงตาราง
ซึ่งมีดวยกัน 2 รูปแบบคือ
1) รูปแบบการจัดเก็บขอมูลพรอมสัญลักษณ Input Mask
2) รูปแบบการจัดเก็บขอมูลเฉพาะขอมูลเทานั้น ไมรวมสัญลักษณ Input Mask

10. คลิกปุมคําสั่ง Next ปรากฏขอความยืนยันการกําหนด Input Mask

30
11. คลิกปุมคําสั่ง Finish จะกลับมายังหนาตาง Table1:Table พบวา Field Properties: Input
Mask ปรากฏสัญลักษณรูปแบบ Input Mask ตามที่กําหนดไว ดังรูป

การกําหนดคียหลัก (Primary Key : PK)

เมื่อกําหนดโครงสรางตารางและองคประกอบของฟลดในตารางเสร็จแลว ใหนักศึกษา
ทําการกําหนดคียหลัก (Primary Key : PK) ใหกับตารางที่สรางขึ้น โดยมีขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเลือกฟลดที่ตองการกําหนดใหเปนคียหลัก ในที่นี่คือฟลด CusID ดังรูป

1. คลิกเมนูคําสั่ง Edit
2. คลิกเลือกคําสั่ง Edit จากแถบเมนูคําสั่ง
จากนั้นเลือกคําสั่ง Primary Key

หรือ กดปุม Alt + E จากนั้นกดปุม K

หรือ คลิกที่ไอคอน บนแถบเครื่องมือ

2. คลิกคําสั่ง Primary Key

31
3. ปรากฏรูปกุญแจที่ฟลด CusID และที่ Field Properties: Indexed จะเปลี่ยนรูปแบบ
ดรรชนีจาก Yes (Duplicates OK) เปน Yes (No Duplicates) ดังรูป

ขอควรระวังในการกําหนดคียหลัก (Primary Key : PK)


กรณีที่ตารางใดตารางหนึ่งไมมีการระบุใหมีการกําหนดคียหลัก หรือกรณีที่นักศึกษา
ลืมกําหนดคียหลักกอนการบันทึกตารางที่สรางขึ้น เมื่อคลิกปุมคําสั่ง Save เพื่อบันทึกตาราง
ดังกลาวโปรแกรม Microsoft Access 2002 จะปรากฏกลองขอความเตือน (Massage Box)
ขึ้นมาถามผูใชงานวาตองการกําหนดคียหลัก หรือไม ดังรูป

32
กรณีที่คลิกเลือกปุมคําสั่ง Yes
) ใหโปรแกรม Microsoft Access 2002 กําหนดคียหลัก (PK) โดยอัตโนมัติกับตารางนั้น
โดยโปรแกรมจะสรางฟลดขึ้นใหมเพื่อใชเปนคียหลัก
กรณีที่คลิกเลือกปุมคําสั่ง No
) ไมตองการกําหนดคียหลัก (PK) กับตารางดังกลาว
กรณีที่คลิกเลือกปุมคําสั่ง Cancel
) ยกเลิกการ Save ตารางดังกลาว และกลับไปยังหนาตางตารางดังกลาว

การยกเลิกคียหลัก (Primary Key : PK)

1. คลิกเลือกฟลดที่กําหนดคียหลัก และตองการยกเลิกคียหลัก ดังรูป

2. คลิกเลือกที่ Icon รูป ที่แถบเครื่องมือ (Toolbar)


3. รูปกุญแจหนาฟลด CusID ก็จะหายไป ดังรูป

33
การบันทึกตาราง (Save)

1. คลิกเลือกคําสั่ง File จากแถบเมนูคําสั่ง จากนั้นเลือกคําสั่ง Save


1. คลิกเมนูคําสั่ง File
หรือ กดปุม Alt + F จากนั้นกดปุม S

หรือ คลิกที่ไอคอน บนแถบเครื่องมือ

2. ปรากฏหนาตาง Save As ใหตั้งชื่อตารางวา 2. คลิกคําสั่ง Save


CUSTOMER จากนั้นคลิกปุมคําสั่ง OK ดังรูป

3. ตารางจะเปลี่ยนชื่อ Table1 เปน CUSTOMER โดยอัตโนมัติ

การปดหนาตางกําหนดโครงสรางตาราง

1. คลิกเลือกคําสั่ง File จากแถบเมนูคําสั่งจากนั้นเลือกคําสั่ง Close


หรือ กดปุม Alt + F จากนั้นกดปุม C 1. คลิกเมนูคําสั่ง File

หรือ คลิกที่ไอคอน
บนหนาตางตาราง CUSTOMER

2. คลิกคําสั่ง Close

34
การแกไขโครงสรางตาราง

กรณีที่ฟลดใดฟลดหนึ่งไมไดกําหนดคุณสมบัติบางอยางหรือตองการลบบางฟลดออก
จากตารางใหนักศึกษาดําเนินการดังนี้ (เมื่อมีการแกไขตองมีการ Save ดวยทุกครั้ง โดยปกติ
เมื่อสั่งปดหนาตางโครงสรางตารางเครื่องจะถามวา Save หรือไม)
1. เลือก object : Table แลวเลือกชื่อตารางที่ตองการแกไข โดยคลิกที่ชื่อตารางนั้น แลว
เลือกคําสั่ง Design จะเขาสูหนาตางกําหนดโครงสรางตาราง
2. หากตองการลบฟลด ใหเลือกฟลดนั้น แลวเลือกเมนู Edit แลวเลือกคําสั่ง Delete
3. หากตองการแทรกฟลด ใหเลือกฟลดที่ตองการใหฟลดใหมอยูขางบน แลวเลือกเมนู
Insert เลือกคําสั่ง Rows
4. หากตองการยายฟลดใดฟลดหนึ่งไปยังตําแหนงอื่นๆ ใหเลือกฟลดนั้นแลวเลือกเมนู
Edit เลือกคําสั่ง cut และไปยังตําแหนงที่ตองการใหฟลดเขาอยู แลวเลือกเมนู Edit เลือก
คําสั่ง Past
5. หากตองการคัดลอกฟลด ใหทําตามขอ 2 แตเปลี่ยนคําสั่ง cut เปน copy เทานั้น

การออกจากโปรแกรม
1. คลิกเมนูคําสั่ง File
1. คลิกเลือกคําสั่ง File จากแถบเมนูคําสั่ง
2. จากนั้นเลือกคําสั่ง Exit
หรือ กดปุม Alt + F จากนั้นกดปุม X

หรือ คลิกที่ไอคอน
บนหนาตางโปรแกรม Microsoft Access 2002

2. คลิกคําสั่ง Exit

35
1. คลิกเมนูคําสั่ง File
การเปดฐานขอมูลเกาขึ้นมาใชงาน

ในการเปดฐานขอมูลเกาที่เคยสรางขึ้นใหปฏิบัติดังนี้
1. เปดโปรแกรม Microsoft Access 2002
2. คลิกเลือกคําสั่ง File จากแถบเมนูคําสั่ง 2. คลิกคําสั่ง Open
จากนั้นเลือกคําสั่ง Open
หรือ กดปุม Alt + F จากนั้นกดปุม O
หรือ กดปุม Ctrl + O

3. ปรากฏหนาตาง Open ดังรูป

36
4. คลิกเลือกแฟมขอมูลที่ตองการเปด ในที่นี่ใหเลือก Week1.mdb
5. คลิกปุม Open จะปรากฏหนาตาง Database : Week1 ขึ้นมา ดังรูป

37
การลบตาราง

จากหนาตางฐานขอมูล หากผูใชไมตองการใชงานตารางใดตารางหนึ่ง ผูใชสามารถ


ลบตารางดังกลาวได โดยดําเนินการดังนี้

1. คลิกเลือกตารางที่ตองการลบ เชน กรณีที่ตองการลบตารางชื่อ CUSTOMER ใหคลิกเมาส


ที่ชื่อตาราง CUSTOMER

2. เลือกเมนูคําสั่ง Edit จากแถบเมนูคําสั่ง จากนั้นคลิกเลือกคําสั่ง Delete


หรือ กดปุม Delete บนแปนพิมพ (Keyboard)
3. ปรากฏหนาตางแสดงขอความสอบถามผูใชวาตองการลบตาราง CUSTOMER หรือไม
- คลิกที่ปุม YES กรณีที่ตองการลบตาราง CUSTOME
- คลิกที่ปุม NO กรณีที่ยกเลิกการลบตาราง CUSTOME
- คลิกที่ปุม HELP กรณีที่ตองการคําแนะนําอื่นๆ เพิ่มเติมจากโปรแกรม

38
การเปลี่ยนชื่อตาราง

กรณีที่ผูใชตองการเปลี่ยนแปลงชื่อตารางสามารถทําไดดังนี้
1. จากหนาตาง Database : Week1 คลิกเลือกตารางที่ตองการเปลี่ยนชื่อ
2. เลือกเมนูคําสั่ง Edit จากแถบเมนูคําสั่ง 1. คลิกเมนูคําสั่ง Edit
จากนั้นคลิกเลือกคําสั่ง Rename
หรือ คลิกเมาสดานขวา เลือกคําสั่ง Rename

3. พิมพชื่อใหมลงแทนชื่อเดิม แลวกดปุม Enter ดังรูป

2. คลิกคําสั่ง Rename

39
ภาคผนวก
Table : CUSTOMER CusID = Primary key
Field Name Data Description Field Format Decima Input Mask Caption Default Validation Validation Required Indexed
Type Size l Place Value Value Text
CusID Text ใชเปน PK 3 000 รหัสลูกคา Yes Yes
(NO Duplicate)
CusName Text ชื่อลูกคา 20 ชื่อ Yes
CusSurname Text นามสกุลลูกคา 20 นามสกุล Yes
CusAddress Text ที่อยูลูกคา 50 ที่อยู
CusZipcode Text รหัสไปรษณีย 5 00000 รหัสไปรษณีย 30000
CusTel Text เบอรโทรศัพทลูกคา 13 9-9999- เบอรโทรศัพท
9999

Table : PRODUCT ProID = Primary key


Field Name Data Description Field Format Decima Input Caption Default Validation Validation Required Indexed
Type Size l Place Mask Value Value Text
ProID Text ใชเปน PK 3 000 รหัสสินคา Yes Yes
(NO Duplicate)
ProName Text ชื่อสินคา 20 ชื่อสินคา Yes
Price Currency ราคา Standard Auto ราคาตอหนวย 0 <= คุณปอน Yes
5000 ขอมูลผิด
ProDes Memo รายละเอียด รายละเอียด
สินคา

41
Table : EMPLOYEE EmID = Primary key
Field Name Data Description Field Format Decima Input Caption Default Validation Validation Required Indexed
Type Size l Place Mask Value Value Text
EmID Text ใช เปน PK 3 000 รหัสพนักงาน Yes Yes
(NO Duplicate)
EmName Text ชื่อ 20 ชื่อ Yes
EmSurname Text นามสกุล 20 นามสกุล Yes
EmPosition Text ตําแหนง 20 ตําแหนง พนักงาน Yes
ขาย
EmAddress Text ที่อยู 50 ที่อยู
EmZipcode Text รหัสไปรษณีย 5 00000 รหัสไปรษณีย
EmTel Text เบอรโทรศัพท 13 9-9999- เบอรโทรศัพท
9999
StartingDate Date/Time วันที่เขาทํางาน General วันที่บรรจุ Yes
Date
EmSalary Currency เงินเดือน General 2 เงินเดือน 0 Between คุณปอน Yes
Number 8000 and ขอมูลผิด
30000

42
Table : ORDER OrderID = Primary key
Field Name Data Description Field Format Decima Input Caption Default Validation Validation Required Indexed
Type Size l Place Mask Value Value Text
OrderID Text ใช เปน PK 3 000 รหัสการสั่ง Yes Yes
(NO Duplicate)
CusID Text รหัสลูกคา 3 000 รหัสลูกคา Yes
OrderDate Dat/Time วันที่สั่งซื้อ General วันสั่ง Yes
Date
ShippedDate Dat/Time วันที่สง General วันสง Yes
Date
EmID Text รหัสพนักงาน 3 000 รหัสพนักงาน Yes

Table : ORDER-detail ไมมีฟลดใดเปน Primary key


Field Name Data Description Field Format Decimal Input Caption Default Validation Validation Required Indexed
Type Size Place Mask Value Value Text
OrderID Text รหัสการสั่ง 3 000 รหัสการสัง่ Yes Yes
(Duplicate OK)
ProID Text รหัสสินคา 3 000 รหัสสินคา Yes Yes
(Duplicate OK)
ProCount Number จํานวน Integer 0 จํานวน 0 Yes
Discount Number สวนลด Double Percent 0 สวนลด 0.05 Yes

43
ปฏิบัติการที่ 2
การเชื่อมความสัมพันธระหวางตาราง

วัตถุประสงค : นักศึกษาสามารถ
1. เชื่อมความสัมพันธระหวางตารางได
2. กรอกขอมูลลงใน Datasheet ได

ขั้นตอนปฏิบัติที่ 2.1

การเชื่อมความสัมพันธระหวางตาราง

1. คลิกเลือกเมนูคําสั่ง Tools จากแถบเมนูคําสั่ง 1. คลิกเลือกคําสั่ง Tools


จากนั้นคลิกเลือกคําสั่ง Relationships ดังรูป

2. คลิกปุมคําสั่ง
Relationships…

2. ปรากฏหนาตาง Show Table ดังรูป


ผูใชสามารถกําหนดการเชื่อม
ความสัมพันธของ Table, Queries
หรือ Both (ทั้ง Table และ Queries
รวมกัน)

3. เลือกวาตองการเชื่อมความสัมพันธจากขอมูลใน Table, Queries หรือทั้งสองอยาง เชน


กรณีที่1 หากตองการเชื่อมความสัมพันธระหวางตาราง (Table) ดวยกัน
ใหคลิกเลือกที่แถบ Tables
กรณีที่2 หากตองการเชื่อมความสัมพันธระหวางคิวรี่ (Queries) ดวยกัน
ใหคลิกเลือกที่แถบ Queries
กรณีที่3 หากตองการเชื่อมความสัมพันธทั้งตาราง (Table) และคิวรี่ (Queries)
ดวยกันใหคลิกเลือกที่แถบ Both
ในที่นี่ใหคลิกเลือกที่แถบ Table เพราะจะทําการเชื่อมความสัมพันธระหวางทุก
ตาราง (CUSTOMER, PRODUCT, EMPLOYEE, ORDER และ ORDER_Detail)
เขาดวยกัน

4. คลิกเลือกชื่อตารางที่ตองการเชื่อมความสัมพันธ จากนั้นคลิกที่ปุมคําสั่ง Add ดังรูป

2. คลิกปุมคําสั่ง Add

1. คลิกเลือกตารางที่ตองการ
สรางความสัมพันธ

5. ปรากฏหนาตาง Relationships ภายในจะแสดงชื่อตาราง (Table) ที่เลือกเอาไวเพื่อใชใน


การสรางความสัมพันธ ดังรูป

6. คลิกปุมคําสั่ง Close บนหนาตาง Show Table

45
การลบตารางที่ไมตองการออก
คลิกเมาสที่ตารางนั้น เลือกเมนู Edit เลือกคําสั่ง Delete หรืออาจคลิกเมาสที่ตารางนั้น
แลวกดเปนพิมพ Delete
การเพิ่มตาราง
หากตองการเลือกบางตารางเพิ่มให Add Table ใหม โดยเลือกเมนู Relationship และ
คลิกที่คําสั่ง Show Table แลวดําเนินการเลือกตารางใหม

7. การเชื่อมความสัมพันธระหวางฟลดตางๆ เชน กรณีที่ตองการเชื่อมความสัมพันธระหวาง


ฟลด CusID ในตาราง CUSTOMER กับฟลด CusID ในตาราง ORDER
ขั้นตอน
1. คลิกเลือกฟลด CusID ในตาราง CUSTOMER
2. คลิกเมาสคางเอาไวแลวลากเมาสไปทับบนชื่อฟลด CusID ในตาราง ORDER
แลวปลอยเมาส

46
3. ปรากฏหนาตาง Edit Relationships ดังรูป

4. คลิกเลือกขอความ Enforce Referential Integrity ดังรูป

การกําหนด Enforce Referential Integrity มี 2 แบบ


) Cascade Update Related Fields
เปนการกําหนดวา เมื่อคาของฟลดที่เชื่อมกันในตารางหลักมีการเปลี่ยนแปลงให
เปลี่ยนแปลงที่ตารางอีกฝงดวย หรือไม
) Cascade Delete Related Records
เปนการกําหนดวา เมื่อเรคอรดที่เชื่อมกันในตารางหลักถูกลบ ก็จะลบที่ตารางอีกฝง
ดวยหรือไม

47
การกําหนด Join Type

ตัวเลือกที่ 1 เชื่อมเฉพาะเรคอรดที่มีคาของฟลดตรงกันเทานั้น
ตัวเลือกที่ 2 เชื่อมแบบนําเรคอรดของตารางดาน One ทั้งหมดมา และนํา
เฉพาะเรคอรดของตารางฝง many ที่มีคาของฟลดตรงกันกับ
ตารางฝง One เทานั้น
ตัวเลือกที่ 3 เชื่อมแบบนําเรคอรดของตารางดาน many ทั้งหมดมา และนํา
เฉพาะเรคอรดของตารางฝง One ที่มีคาของฟลดตรงกันกับ
ตารางฝง many เทานั้น

5. คลิกที่ปุม Create เพื่อสรางความสัมพันธระหวางฟลดทั้งสองที่เลือกไว


6. ที่หนาตาง Relationships จะปรากฏเสนเชื่อมความสัมพันธระหวางฟลด CusID
ตาราง CUSTOMER กับฟลด CusID ตาราง ORDER พรอมรูปแบบความสัมพันธ
แบบ One to Many (1 : M) ดังรูป

48
8. ใหนักศึกษาเชื่อมความสัมพันธดังนี้
• ฟลด EmID ในตาราง EMPLOYEE กับฟลด EmID ในตาราง ORDER
• ฟลด ProID ในตาราง PRODUCT กับฟลด ProID ในตาราง ORDER-DETAIL
• ฟลด OrderID ในตาราง ORDER กับฟลด OrderID ในตาราง ORDER-DAIL

9. เมื่อเชื่อมความสัมพันธครบทุกขอแลวจะปรากฏดังรูป

10. ทําการบันทึก Relationships ที่สรางขึ้น

49
ขั้นตอนปฏิบัติที่ 2.2

การกรอกขอมูลใน Datasheet (ตาราง)

1. เรียก Database ที่ชื่อ Week1.mdb ขึ้นมาเพื่อกรอกขอมูลลงใน Datasheet ของตาราง


2. จากหนาจอ Database ใหเลือกตาราง “Customer” แลวคลิกที่ปุม Open

2. คลิกปุมคําสั่ง Open 1. คลิกเลือกตารางที่


ตองการกรอง

3. ปรากฏหนาตาง Table : CUSTOMER ดังรูป

4. พิมพขอความลงในชองฟลดตางๆ ดังนี้
1. ฟลดรหัสลูกคา ใหพิมพขอความ “001”

2. กดปุม Tab เพื่อเลื่อนไปยังฟลดถัดไป จนใสขอมูลครบทุกตารางดังนี้

50
Table: CUSTOMER
รหัสลูกคา ชื่อ นามสกุล ที่อยู รหัสไปรษณีย หมายเลขโทรศัพท
001 เงิน ดี 213 อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 0-4422-2222
002 ทอง แพง 111 อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000 0-4333-2222
003 นาค งาม 9 พญาไท กรุงเทพฯ 10300 0-1001-1009
004 เพชร สวย 99 อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 0-4422-0001

Table: PRODUCT
รหัสสินคา ชื่อสินคา ราคาสินคาตอหนวย รายละเอียดสินคา
100 กางเกง 600.00 กางเกงขาสั้น
200 เสื้อยืด 200.00 ใสแลวดูดี
300 เข็มขัด 300.00 หนังกบ
400 รองเทา 900.00 รองเทาหนังแกะ

Table: EMPLOYEE
รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล ตําแหนง ที่อยู รหัสไปรษณีย หมายเลขโทรศัพท StartDate เงินเดือน
111 เกง รวย พนักงานขาย 2 อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 0-4422-3333 11/01/1998 20000
222 เลิศ หรู พนักงานขาย 11 อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000 0-4333-5555 11/12/1998 10000
333 ดี งาม พนักงานสงเสริม 19 พญาไท กรุงเทพฯ 10300 0-1111-2222 12/05/1999 8000

51
Table: ORDER
รหัสการสั่ง รหัสลูกคา วันสั่ง วันสง รหัสพนักงาน
001 003 12/12/1998 18/12/1998 111
002 004 15/12/1998 20/12/1998 222
003 003 30/12/1998 05/01/1999 111

Table: Order_Detail
รหัสการสั่ง รหัสสินคา จํานวน สวนลด
001 100 20 5%
002 100 15 5%
003 300 5 5%
003 400 30 5%
001 200 30 10%
002 200 20 5%

52
ปฏิบัติการที่ 3
การสราง Query

วัตถุประสงค นักศึกษาสามารถ
1. เขาใจหลักการในการทํา Query
2. สราง Query เพื่อการใชงานฐานขอมูลไดสะดวกยิ่งขึ้น

Query : ประเภทและมุมมองในการสราง Query

คิวรี่ (Query) เปนคุณสมบัติพิเศษของ Microsoft Access ที่ทําหนาที่คนหาขอมูลตามความ


ตองการของผูใชงาน นอกจากนี้คิวรี่ยังใชในการจัดการกับขอมูลในฐานขอมูล ซึ่งมีความสามารถตางๆ
ไดแก การสรางตารางขอมูลขึ้นใหม โดยการนําขอมูลจากตารางที่มีอยูแลวมาจัดการสรางเปนตาราง
ใหม, การปรับปรุงขอมูลในตาราง และใชฟงกชันตางๆ ในการจัดการขอมูล

ประเภทของ Query

Query สามารถแบงประเภทตามลักษณะการทํางานไดดังนี้
ประเภท ความหมาย
Select Query Query ที่ใชในการเลือกขอมูลจากตาราง โดยแสดงตามเงื่อนไขที่กําหนด โดย
ขอมูลที่นํามาแสดงอาจมาจาก 1 ตาราง หรือหลายตารางที่มีความสัมพันธกัน
Query ที่ใชกระทําการอยางใดอยางหนึ่งกับขอมูลหรือตาราง ซึ่งจําแนกตาม
ความสามารถไดดังนี้
) Make-Table Query สร า งตารางขึ้ น ใหม โ ดยอั ต โนมั ติ โดยโครงสร า งและ
ขอมูลของตารางไดจากขอมูลที่ Query เลือกไว หรือได
Action Query จากการคํานวณโดย Query
) Append Query เพิ่มขอมูลลงในตารางโดยนําขอมูลที่ Query เลือกไวไป
ใสตอทายขอมูลที่มีอยูในตารางที่กําหนด
) Update Query แก ไ ข-ปรับ ปรุ ง ขอ มูล จํ า นวนมากๆ ในตาราง ในครั้ ง
เดียว
) Delete Query ลบขอมูลทั้งหมดออกจากตารางที่กําหนด
Crosstab Query Query ที่นําขอมูลแถวไปสรางเปนคอลัมน และนําขอมูลคอลัมนไปสรางเปน
แถว เพื่อใชในการวิเคราะหขอมูล
Union Query Query ที่นําขอมูลจากหลายๆ ตารางมารวมกันเปนตารางเดียว ซึ่ง Query
ประเภทนี้จะตองสรางดวยคําสั่งภาษา SQL
Parameter Query Query ที่มีการเรียกใหผูใชกรอกขอมูลที่เปนเงื่อนไขในการเลือกขอมูล หรือใส
คาตัวแปรในการคิดคํานวณ
มุมมองในการสราง Query

Microsoft Access 2002 กําหนดมุมมองในการสราง Query 3 มุมมอง ดังนี้


มุมมอง คําอธิบาย
Design View มุมมองที่ใชสําหรับออกแบบและสราง Query ซึ่งประกอบดวยเงื่อนไขและ
กฎเกณฑตางๆ ที่ตองนํามาใชในการคนหาหรือแสดงขอมูลตามที่ตองการ
Datasheet View มุมมองที่ใชสําหรับแสดงขอมูลที่ไดจากการสืบคน ตามเงื่อนไขที่กําหนดไวใน
Query (Design View) โดยแสดงในลักษณะเชนเดียวกับตาราง (Table)
SQL View มุมมองที่ใชสําหรับการออกแบบหรือสรางคําสั่ง Query ดวยภาษา SQL ซึ่งถือ
เปนภาษาที่ใชในการจัดการกับขอมูลที่มีอยูในฐานขอมูล

ขั้นตอนการปฏิบัติที่ 3.1

การสราง Query จากตารางเดียว


1. ใหนักศึกษาเรียกฐานขอมูล Week1.mdb ขึ้นมาใชงาน
2. จากหนาตาง Week1:Database ใหคลิกเลือก Object ชื่อ Query
3. หนาตาง Database จะเปลี่ยนเปนหนาตางการทํางานของ Query ดังรูป

4. คลิกที่คําสั่ง New เพื่อสราง Query สําหรับการเรียกขอมูลจากฐานขอมูล

54
5. ปรากฏหนาตาง New Query

รูปแบบในการสราง Query

โปรแกรม Microsoft Access 2002 ไดกําหนดรูปแบบที่ใชในการสราง Query ดังนี้


รูปแบบ คําอธิบาย
Design View การสราง Query ดวยตนเอง เปนมุมมองที่เหมาะสําหรับผูใชที่
เริ่ ม ต น การใช ง านฐานข อ มู ล ซึ่ ง ผู ใ ช ส ามารถกํ า หนดฟ ล ด แ ละ
ตารางที่ตองการสืบคนขอมูลได โดยสามารถเลือกจาก 1 ตาราง
หรือมากกวา นอกจากนี้ยังสามารถกําหนดเงื่อนไขตางๆ ในการ
สืบคนขอมูลไดอีกดวย
Simple Query Wizard การสราง Query ที่ผูใชสามารถสรางได 2 รูปแบบ คือ
) สรางเพื่อคนหาหรือแสดงรายละเอียด (Detail)
) สร า งเพื่ อ แสดงค า สรุ ป (Summary) ของข อ มู ล ในตารางที่
กําหนด
Crosstab Query Wizard การสราง Query โดยแสดงความสัมพันธของขอมูล 2 ชุดใน
ลักษณะของตารางที่มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน พรอมทั้งคํานวณ
สรุปผลขอมูลและนําผลที่ไดมาแสดง
Find Duplicates Query Wizard การสราง Query เมื่อตองการหาขอมูลที่ซ้ํากันในฟลดที่กําหนด
โดยเรคคอรดทั้งหมดที่มีขอมูลซ้ํากันในฟลดที่ระบุนั้นจะถูกนํามา
แสดงเปนกลุมตอเนื่อง
Find Unmatched Query Wizard การสราง Query เพื่อหาขอมูลจากตารางหนึ่งที่ไมมีขอมูลที่
สัมพันธกันเลย (มักใชกับฐานขอมูลที่ซับซอนมากขึ้นและมีหลาย
Table)

55
6. คลิกเลือกคําสั่ง Design View แลวคลิกปุม OK

1. คลิกเลือก Design View

2. คลิกปุมคําสั่ง OK

7. ปรากฏหนาตาง 2 หนาตางขึ้นมาพรอมกันดังรูป ประกอบดวย


1) หนาตาง Select Query : Query1 ซึ่งตอไปจะเรียกวา หนาตางออกแบบ
Query
2) หนาตาง Show Table

หนาตาง Select Query


ใชในการกําหนดฟลดและตาราง รวมถึง
เงื่อนไขที่ใชในการสืบคนขอมูล

หนาตาง Show Table


ใชในแสดงตาราง และคิวรี่ที่ตองการ
นํามาสราง Query

56
ตัวอยาง : ตองการทราบรหัส, ชื่อ–นามสกุล, ตําแหนง และเงินเดือนของพนักงาน
ทั้งหมด

8. จากตัวอยางดานบนพบวา ขอมูลที่ตองการไดแก รหัส, ชื่อ–นามสกุล, ตําแหนง และ


เงินเดือนของพนักงานทั้งหมด ซึ่งขอมูลตางๆ นี้อยูในตาราง EMPLOYEE ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1) คลิกเลือกตาราง EMPLOYEE จากแถบ Tables ในหนาตาง Show Table
จากนั้นคลิกคําสั่ง Add ดังรูป
2. คลิกปุมคําสั่ง Add

1. เลือกตาราง
EMPLOYEE

2) ปรากฏตาราง EMPLOYEE ในหนาตาง Select Query : Query1 ดังรูป

57
Tip การเพิ่มหรือลบตาราง
หากนักศึกษา เลือกตารางผิดหรือตองการเพิ่มตารางที่จะนํามาสราง Query ใหดําเนินการ
เหมือนกับการสรางความสัมพันธระหวางตาราง
การเพิ่มตาราง ใหเลือกเมนู Query เลือกคําสั่ง Show Table
การลบ ใหเลือกตารางที่ตองการลบ แลวเลือกเมนู Edit เลือกคําสั่ง Delete

3) คลิกที่ปุม Close ที่หนาตาง Show Table เพื่อเปดหนาตาง Show Table จะ


เหลือเฉพาะหนาตาง Select Query: Query1 เทานั้น ดังรูป

สวนประกอบของมุมมอง Query Design

องคประกอบ คําอธิบาย
Field List Pane สวนที่ใชแสดงแหลงขอมูลที่ใชในการสราง Query และเปนสวนที่ใชแสดง
การเชื่อมโยงความสัมพันธของแหลงขอมูล

58
องคประกอบ คําอธิบาย
ส ว นที่ ใ ช ร ะบุ ฟ ล ด ข อ มู ล ที่ ต อ งการนํ า มาแสดงเป น ผลลั พ ธ ข อง Query
ประกอบดวย
) Field: ระบุชื่อฟลดที่ตองการใหแสดงผลลัพธ หรือใสชื่อฟลดที่ตั้งขึ้น
ใหม นอกจากนี้ยังสามารถใสสูตรคํานวณ หรือฟงกชันที่ใช
กําหนดคาขอมูลของฟลดได
) Tables: ระบุชื่อตารางที่มาของฟลด
) Total: ระบุฟงกชั่นที่ใชในการคํานวณ
(ปรากฏเมื่อคลิกปุม เพื่อเรียกใชฟงกชันคํานวณ)
) Sort: กําหนดรูปแบบการเรี ยงลําดับของขอมูลภายในฟ ลดนั้น ๆ
รูปแบบการเรียงลําดับมี 3 รูปแบบดังนี้
) Ascending กําหนดการเรียงลําดับจากนอยไปหามาก
Query Design Grid
) Descending กําหนดการเรียงลําดับจากมากไปหานอย
) Not Sorted ไมกําหนดการเรียงลําดับ
ในกรณีที่มีการกําหนดใหเรียงลําดับมากกวา 1 ฟลด จะยึด
ฟลดที่อยูทางดานซายเปนหลัก
) Show: กําหนดใหแสดงหรือไมแสดงขอมูลภายในฟลด โดยคลิกที่
กลองสี่เหลี่ยม ( † ) ถามีเครื่องหมายถูก ( 9 ) หมายถึง
กําหนดใหแสดงขอมูล
) Criteria: ระบุเงื่อนไข สูตร และฟงกชันตางๆ ที่เปนตัวกําหนดผลลัพธ
ของคิวรี่
) Or: ระบุเงื่อนไขที่สอง ในลักษณะของคําสั่ง OR ของการ
เปรียบเทียบคาในทางตรรกศาสตร (ศึกษาเพิ่มเติมจากการ
สรางเงื่อนไขแบบนิพจน หนา )

59
4) เลือกฟลดที่ตองการแสดงผลการสืบคนโดยการคลิกเมาสที่ชื่อฟลดที่ตองการใน
ตารางที่ปรากฏอยูใน Field List Pane เชน กรณีที่เลือกแสดงฟลดชื่อ EmID ใน
ตาราง EMPLOYEE เปนตน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
วิธีที่ 1
- คลิกเมาสที่ฟลดชื่อ EmID
ในตาราง EMPLOYEE แลวกดคางไว
- ลากเมาสมาที่ชอง Field ใน
Query Design Grid (ดังรูป)
- ปลอยเมาส
- ปรากฏชื่อฟลดที่เลือกในชอง Field
และชื่อตารางในชอง Table ดังรูป

วิธีที่ 2
- คลิกที่เครื่องหมาย
ดานหลังชอง Field ใน
Query Design Grid
จะปรากฏรายชื่อฟลด ดังรูป
- คลิกเลือกฟลด EmID
- ปรากฏชื่อฟลดที่เลือกในชอง Field และชื่อตารางในชอง Table

5) ใหนักศึกษาดําเนินการเลือกฟลดชื่อ EmName, EmSurname, Emposition


และ EmSalary มาเรียงตอกันไวตามลําดับ ดังรูป

60
การดูผลลัพธ Query
การดูผลลัพธการสราง Query มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกที่เมนูคาํ สั่ง Query จากนั้นเลือกคําสัง่ Run
หรือ คลิกที่ Icon บนแถบเครื่องมือ

คลิกคําสั่ง Run
คลิก Icon Run

2. ปรากฏผลลัพธจาก Query ที่สรางขึ้น ดังรูป

การกลับหนาตาง Query Design


การกลับสูหนาตาง Query Design มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเมนูคําสั่ง View จากนั้นเลือกคําสั่ง Design View หรือ
2. หรือคลิกที่ Icon จากนั้นเลือกคําสั่ง Design View ดังรูป

61
การบันทึก Query
การบันทึก Query มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเมนูคําสั่ง File เลือกคําสั่ง Save จะปรากฏหนาตาง Save as

หรือ คลิก Icon บนแถบเครื่องมือ (Toolbar)

2. พิมพชื่อ Query วา Q_Emlpoyee แลวคลิกปุม OK ดังรูป

3. หนาจอ Select Query : จะเปลี่ยนชื่อจาก Query1 เปน Q_Emlpoyee ดังรูป

62
การแกไขการออกแบบ Query

การลบฟลดใน Query
ตัวอยาง กรณีที่ตองการลบฟลด EmSalary มีขั้นตอนดังนี้
1. เลื่อนเมาสไปดานบนของคําวา EmSalary จะปรากฏลูกศร Ð

2. คลิกเมาส 1 ครั้ง จะปรากฏแถบสีดําที่ชองฟลดนั้น ดังรูป


3. คลิกเลือกคําสั่ง Edit จากนั้นเลือกคําสั่ง Delete หรือ
คลิกปุม Delete บนแปนพิมพ

การแทรกฟลดใน Query
ตัวอยาง กรณีที่ตองการแทรกฟลด EmTel ไวดานหนาฟลด EmPosition
มีขั้นตอนดังนี้
1. เลื่อนเมาสไปดานบนของคําวา EmPosition จะปรากฏลูกศร Ð

2. คลิกเมาส 1 ครั้ง จะปรากฏแถบสีดําที่ชองฟลดนั้น ดังรูป

3. คลิกเลือกคําสั่ง Insert จากนั้นเลือกคําสัง่ Columns ดังรูป

63
4. ปรากฏคอลัมนใหมระหวางฟลด EmSurname กับ EmPosition ดังรูป

5 เลือกฟลดที่ตองการแสดง (ฟลด EmTel) ดังรูป

64
ขั้นตอนการปฏิบัติที่ 3.2

การสราง Query จาก 2 ตารางขึ้นไป


การสราง Query จาก 2 ตารางขึ้นไป หรือการสราง Query แบบเชื่อมความสัมพันธ
ระหวางตาราง เปนการสราง Query โดยการใชฟลดในตารางตางๆ รวมกัน เชน ตองการ
ทราบรายการสั่งซื้อของลูกคาแตละคน พรอมรายละเอียดการสั่งซื้อ มีขึ้นตอนดังนี้

1. คลิกเลือก Object: Query จากหนาตาง Database: Week1 แลวสราง Query ใหม


2. ปรากฏหนาตาง New Query จากนั้นใหคลิกเลือกคําสั่ง Design View แลวคลิกปุม OK
3. ปรากฏหนาตาง Show Table ใหเลือกตารางทุกตาราง
4. คลิกปุม Close เพื่อปดหนาตาง Show Table
5. ปรากฏหนาตาง Select Query: Query1 ดังรูป

6. เลือกฟลดจากตารางตามลําดับดังนี้
CusName จากตาราง CUSTOMER
OrderID จากตาราง ORDER
ProName จากตาราง PRODUCT
Price จากตาราง PRODUCT
ProCount จากตาราง Order-Detail

65
7. ที่ชอง Criteria ของฟลด CusName ใหพิมพขอความวา “ [กรุณาปอนชื่อลูกคา] ”
ดังรูป

8. สั่ง Run Query โดยเลือกเมนู Query แลวเลือกคําสั่ง Run หรือคลิกที่ปุม ! สีแดง


ที่แถบ Toolbar
9. ปรากฏ Dialog box: กรุณาปอนชื่อลูกคา ใหนักศึกษาปอนชื่อ นาค แลวกดปุม OK

10. ปรากฏตารางแสดงผลการสืบคนขอมูลจากคําวา “นาค” ดังรูป

11. บันทึก Query ที่สรางขึ้นใหมวา Q_Order1

66
ขั้นตอนการปฏิบัติที่ 3.3 : การเพิ่มความสามารถใหกับ Query

การสรางนิพจนเพื่อการคํานวณ

นิพจน (Expression) หมายถึง ขอความที่สรางขึ้นจากฟลด, ขอมูลภายในฟลด,


ตาราง และเครื่องหมายในการคํานวณตางๆ ทั้งการคํานวณทางคณิตศาสตรและตรรกศาสตร
ประมลผลออกมาเปนขอมูลที่เราตองการ
การสร างนิ พ จน จ ะเป น การเขี ย นสู ต รให เ กิ ด การกระทํ ากั บ ข อ มู ล ในรู ป แบบที่ เ รา
กําหนด ซึ่งการสรางนิพนธเหมือนกับการเขียนสูตรคํานวณทั่วไป เชน
ราคารวม = ราคาสินคา X จํานวนสินคา
ซึ่งเราสามารถเขียนลงในบรรทัดฟลด (Field) ไดทันที โดยการใสเครื่องหมายตางๆ
เพื่อใชในการอางอิงถึงแหลงที่มาของขอมูล โดยรายละเอียดการอางอิงถึงแหลงขอมูลมีดังนี้

รูปแบบ คําอธิบาย ตัวอยาง


[ชื่อฟลด] อางอิงชื่อฟลดขอมูลที่ตองการ [Price]
[ชื่อตาราง.ชื่อฟลด] อางอิงชื่อฟลดในกรณีที่ชื่อฟลดนั้นมีอยู [Product.Price]
ในหลายตาราง ใหใสชื่อตารางกํากับ
ชื่อวัตถุ!ชื่อตาราง!ชื่อฟลด อางอิงองคประกอบยอยของวัตถุ Table!Product!Price
ชื่อวัตถุ!ชื่อตาราง!ชื่อฟลด. อางอิงถึงคุณสมบัติของฟลด Table!Product!Price.Format
คุณสมบัติ

สําหรับเครื่องหมายที่ใชในการคํานวณในการสรางนิพจนนั้นมีดังนี้
1. เครื่องหมายคํานวณทางคณิตศาสตร
รูปแบบ คําอธิบาย ตัวอยาง
+ รวมคาของฟลดที่หนึ่งเขากับฟลดที่สอง [ผลรวม] : [Number1] + [Number2]
- ลบคาของฟลดที่สองออกจากฟลดที่หนึ่ง [ผลรวม] : [Number1] - [Number2]
* คูณคาของฟลดที่หนึ่งกับฟลดที่สอง [ผลรวม] : [Number1] * [Number2]
/ ฟลดที่หนึ่งหารดวยฟลดที่สอง [ผลรวม] : [Number1] / [Number2]
\ ฟลดที่หนึ่งหารดวยฟลดที่สอง แตผลลัพธที่ [ผลรวม] : [Number1] \ [Number2]
ไดคือ จํานวนเต็มที่ไมนับรวมเศษ
(เอาเฉพาะจํานวนเต็ม)
Mod ฟลดที่หนึ่งหารดวยฟลดที่สอง แตผลลัพธที่ [ผลรวม] : [Number1] Mod [Number2]
ไดคือเศษที่ไดจากการหารไมนับจํานวนเต็ม
(เอาเฉพาะเศษ)
^ ยกกําลังฟลดที่กําหนด [ผลรวม] : [Number1] ^ 2

67
2. เครื่องหมายการเปรียบเทียบคาในทางตรรกศาสตร
รูปแบบ คําอธิบาย ตัวอยาง
IIf ผลลัพธที่ไดจาการเปรียบเทียบเงื่อนไข IIf (เงื่อนไข, คําสั่งเมื่อเงื่อนไขเปนจริง, คําสั่ง
โดยมีการกําหนดใหทํางานตามคําสั่งที่ เมื่อเงื่อนไขเปนเท็จ)
1 เมื่อขอมูลตรงกับเงื่อนไข หากไมตรง IIf ([Product.ProID] = [Order_Detail.ProID],
กับเงื่อนไขใหทํางานตามคําสั่งที่ 2 [Order_Detail.Count], 0)

ตัวอยาง : ตองการสรางนิพนธเพื่อคํานวณหาราคารวมของสินคาที่ขายไป
ราคารวม = ราคาสินคา X จํานวนสินคาที่ขาย

การสรางนิพนธมีขั้นตอนดังนี้
1. สรางคอลัมนตอทายจากคอลัมน ProCount
2. พิมพขอความ “ ราคารวม: [Price]* ในชอง Field ที่ตอจากชองฟลด ProCount ดังรูป

3. สั่ง Run Query ใหม จะพบวาชองราคารวมจะมีผลการคํานวณใหเรียบรอยแลว

4. บันทึก Query ที่สรางขึ้นใหมวา Q_Order2

68
การสราง Query เพื่อคนหาขอมูลแบบมีเงื่อนไข

การกําหนดเงื่อนไขใน Query ถือเปนหลักสําคัญในการเรียกใชขอมูล เนื่องจาก


สามารถทํ า ให ผู ใ ช ม องข อ มู ล ได ห ลายมุ ม มอง และสามารถนํ า ข อ มู ล ไปใช ไ ด ห ลากหลาย
รูปแบบของเงื่อนไขใน Query สามารถกําหนดใหแสดงผลลัพธไดทั้งที่ตรงกับเงื่อนไขและไม
ตรงกับเงื่อนไข โดยสามารถจําแนกเปนกลุมตามประเภทของเงื่อนไขไดดังนี้
1. กลุมการเปรียบเทียบคา
เครื่องหมาย เงื่อนไข / คําอธิบาย ตัวอยาง
< นอยกวาคาที่กําหนด <200
<= นอยกวาหรือเทากับคาที่กําหนด <=200
> มากกวาคาที่กําหนด >200
>= มากกวาหรือเทากับคาที่กําหนด >=200
= เทากับคาที่กําหนดเทานั้น =200
<> ไมเทากับคาที่กําหนด <>200

2. กลุมการคํานวณ
รูปแบบ คําอธิบาย ตัวอยาง
+ รวมคาของฟลดที่หนึ่งเขากับฟลดที่สอง [ผลรวม] : [Number1] + [Number2]
- ลบคาของฟลดที่สองออกจากฟลดที่หนึ่ง [ผลรวม] : [Number1] - [Number2]
* คูณคาของฟลดที่หนึ่งกับฟลดที่สอง [ผลรวม] : [Number1] * [Number2]
/ ฟลดที่หนึ่งหารดวยฟลดที่สอง [ผลรวม] : [Number1] / [Number2]
\ ฟลดที่หนึ่งหารดวยฟลดที่สอง แตผลลัพธที่ [ผลรวม] : [Number1] \ [Number2]
ไดคือ จํานวนเต็มที่ไมนับรวมเศษ
(เอาเฉพาะจํานวนเต็ม)
Mod ฟลดที่หนึ่งหารดวยฟลดที่สอง แตผลลัพธที่ [ผลรวม] : [Number1] Mod [Number2]
ไดคือเศษที่ไดจากการหารไมนับจํานวนเต็ม
(เอาเฉพาะเศษ)
^ ยกกําลังฟลดที่กําหนด [ผลรวม] : [Number1] ^ 2

ลําดับการทํางานของเครื่องหมายในกลุมการคํานวณ
ลําดับที่ เครื่องหมาย
1 ( ) วงเล็บ
2 ^
3 *, /, \, Mod
4 +, -

69
3. กลุมการเชื่อมขอความ
เครื่องหมาย เงื่อนไข / คําอธิบาย ตัวอยาง
[ชื่อฟลด] & [ชื่อฟลด] กํ า หนดให แ สดงข อ มู ล โดยนํ า ข อ มู ล ใน [ProName] & [Price]
ฟลดที่สองมาตอทายขอมูลฟลดแรก
[ชื่อฟลด] + [ชื่อฟลด] เหมือนเครื่องหมาย & (กําหนดใหแสดง [ProID] + [ProName]
ข อ มู ล โดยนํ า ข อ มู ล ในฟ ล ด ที่ ส องมา
ต อ ท า ยข อ มู ล ฟ ล ด แ รก) แต จ ะต อ งเป น
ฟลดที่เก็บขอมูลประเภท Text เทานั้น

4. กลุมตรรกศาสตร
เครื่องหมาย เงื่อนไข / คําอธิบาย ตัวอยาง
And ผลลัพธที่ไดจะตองอยูภายในเงื่อนไขที่กําหนด > 50 And <120 หรือ
ไวเทานั้น ถาตองการขอมูลเฉพาะที่ตรงกับคาที่ Between “001” And “005”
กําหนด ใหใสคําสั่ง Between เพิ่มขางหนาคําสั่ง หรือ Between #04/05/2549#
And And #30/05/2549#
Or ผลลัพธที่ไดจะตองประกอบดวยคาใดคาหนึ่งที่ “002” Or “006” หรือ
กําหนด 2,000 Or 3,000
Not ผลลัพธที่ไดจะตองไมตรงกับคาที่กําหนด Not 8,500

5. กลุมคนหาขอมูล
เครื่องหมาย เงื่อนไข / คําอธิบาย ตัวอยาง
“ขอความ” แสดงเฉพาะเรคคอรดที่ฟลดที่กําหนดมี “สมชาย”
ขอมูลตรงกับขอความ
Not “ขอความ” แสดงเฉพาะเรคคอรดที่ฟลดที่กําหนดมี Not “นครราชสีมา”
ขอมูลไมตรงกับขอความ
Not ขอความ* แสดงเฉพาะเรคคอรดที่ฟลดที่กําหนดมี Not นคร*
ขอมูลที่ไมไดขึ้นตนดวยขอความ
Like “ขอความ*” แสดงเฉพาะเรคคอรดที่ฟลดที่กําหนดมี Like “นคร*”
ขอมูลที่ขึ้นตนดวยขอความ
Like “ขอความ?” แสดงเฉพาะเรคคอรดที่ฟลดที่กําหนดมี Like “นคร?”
ข อ มู ล ที่ ขึ้ น ต น ด ว ยข อ ความและต อ ท าย
ดวยตัวเลขหรือตัวอักษร 1 ตัว
Like “ขอความ#” แสดงเฉพาะเรคคอรดที่ฟลดที่กําหนดมี Like “นคร#”
ข อ มู ล ที่ ขึ้ น ต น ด ว ยข อ ความและต อ ท าย
ดวยตัวเลข 1 ตัว

70
เครื่องหมาย เงื่อนไข / คําอธิบาย ตัวอยาง
#วันเดือนป# แสดงเฉพาะเรคคอร ด ของฟ ล ด ที่ กํ า หนดมี #26/05/2549#
ขอมูลตรงกับวันที่ที่กําหนด
Between #วันเดือนป# แสดงเฉพาะเรคคอรดที่ฟลดที่กําหนดมีขอมูล Between #26/05/2549#
And #วันเดือนป# อยูระหวางวันที่เริ่มตนและวันที่สิ้นสุด And #26/06/2549#
Date() แสดงเฉพาะเรคคอรดที่ฟลดที่กําหนดมีขอมูล Date()
ตรงกับวันที่ปจจุบัน
In (“ขอความ”, แสดงเฉพาะเรคคอรดที่ฟลดที่กําหนดมีขอมูล In (“นครราชสีมา”,
“ขอความ”) ตรงกับขอความใดขอความหนึ่งในวงเล็บ ”ขอนแกน”)
Is Null แสดงเฉพาะเรคคอรดที่ฟลดที่กําหนดเปนคา Is Null
วาง
Is Not Null แสดงเฉพาะเรคคอรดที่ฟลดที่กําหนดไมมีคา Is Not Null
วาง
“ ” แสดงเฉพาะเรคคอรดที่ฟลดที่กําหนดไมมีคา “ ”
ขอมูล

เครื่องหมายที่ใชในการคนหาขอมูล
เครื่องหมาย คําอธิบาย
? แทนตัวอักษร หรือตัวเลข 1 ตัว
* แทนตัวอักษร หรือตัวเลข มีความยาวตั้งแต 0 ตัวขึ้นไป สามารถใชเปนตัวอักษร
แรก หรือตัวอักษรสุดทายก็ได
# แทนตัวเลข 1 ตัว

71
ตัวอยาง : ตองการเชื่อมขอความของฟลด EmName และ EmSurname ใหเปนฟลดใหม

ขั้นตอนปฏิบัติ
1. จากหนาตาง Database : Week1 ใหเลือก Object : Query จากนั้นคลิกเลือก
Query : Q_Employee
2. คลิกเลือกคําสั่ง Design จะปรากฏหนาตาง Q_Employee : Select Query ดังรูป

3. แทรกคอลัมนใหมหลังฟลด EmSurname แลวพิมพในฟลดชองใหมวา


ชื่อ – นามสกุล: [EmName]&[EmSurname] ดังรูป

4. สั่ง Run จะปรากฏผลลัพธดังภาพ

72
ขอสังเกต : ชื่อและนามสกุลของลูกคาจะติดกัน
ใหนักศึกษาแกไขใหม โดยกลับเขาไปที่หนาตาง Design แลวแกไขเปน
ชื่อ – นามสกุล: [EmName]&” “&[EmSurname] แลว Run ผลดูใหมอีกครัง้

5. คลิกที่ชอง show ในชองฟลด Emname และ EmSurname เครื่องหมาย 9 จะไม


ปรากฏ (การไมแสดงฟลดดังกลาวในการแสดงผลการคนขอมูล)

6. Run ผลลัพธดูอีกครั้ง จะพบวาฟลดชื่อและนามสกุลจะหายไป ดังรูป

73
ตัวอยาง : ตองการคนหาขอมูลของลูกคาชื่อ ดี (ใชคําสั่ง Like “ขอความ”)

ขั้นตอนปฏิบัติ
1. จากหนาตาง Database : Week1 ใหเลือก Object : Query จากนั้นคลิกเลือก
Query : Q_Employee
2. คลิกเลือกคําสั่ง Design จะปรากฏหนาตาง Q_Employee : Select Query
3.ใหนักศึกษาพิมพเงื่อนไขในชอง Criteria ที่ชองฟลด EmName วา Like “ดี” ดังรูป

4. สั่ง Run ผลลัพธใหมอีกครั้ง แลวสังเกตผลที่เกิดขึ้นจะพบวา ตารางจะแสดงเฉพาะคนที่ชื่อ


“ดี” เทานั้น ดังรูป

5. ใหนักศึกษา Save as Query ชื่อวา Q_Em

ตัวอยาง : ตองการคนหารายการสั่งซื้อสินคาในแตละวัน

ขั้นตอนปฏิบัติ
1. จากหนาจอ Database: Week1 คลิกเลือก Object : Query
2. คลิกที่คําสั่ง New เพื่อสราง Query ใหม
3. ปรากฏหนาตาง New Query จากนั้นใหคลิกเลือกคําสั่ง Design View แลวคลิกปุม OK
4. จากหนาตาง Add Table คลิกที่แถบ Table คลิกเลือกตาราง Order, Order_Detail และ
Product ดังรูป

74
5. จากนั้นเลือกฟลดตางๆ ตามลําดับดังนี้ เพื่อสราง Query
OrderID จากตาราง ORDER
ProID จากตาราง Order_Detail
ProName จากตาราง PRODUCT
OrderDate จากตาราง ORDER
ShippedDate จากตาราง ORDER

6. พิมพเงื่อนไข Criteria ในชองฟลด OrderDate วา [ปอนวันที่สั่งซื้อ] ดังรูป

6. ใหนักศึกษาสั่ง Save ชื่อ Query วา Q_Order2


7. สั่ง Run ผลลัพธ จะปรากฏ Dialog box : ปอนวันที่สั่งซื้อ ใหนักศึกษาทดลองใสวันที่
“12/12/1998“

75
7. ปรากฏผลการสืบคนขอมูลจากวันที่ ที่ระบุไว ดังรูป

ตัวอยาง : ตองการคนหาขอมูลของลูกคาชื่อ ดี (ใชคําสั่ง Like “ขอความ”)

ขั้นตอนปฏิบัติ
1. จากหนาตาง Database : Week1 ใหเลือก Object : Query จากนั้นคลิกเลือก
Query : Q_Order2
2. คลิกเลือกคําสั่ง Design จะปรากฏหนาตาง Q_Order2 : Select Query
3. ใหนักศึกษาลบเงื่อนไขเดิมออก
4. พิมพเงื่อนไขในชองฟลด OrderID วา between 002 and 003

5. สั่ง Save As ชื่อ Query ใหม โดยตั้งชื่อวา Q_Order3


6. สั่ง Run ผลลัพธจะพบวาจะแสดงตารางการสั่งซื้อเลขที่ 002-003 เทานั้น ดังรูป

76
ปฏิบัติการที่ 4
การสรางแบบฟอรม

วัตถุประสงค นักศึกษาสามารถ
1. มีความรูเกี่ยวกับการสรางแบบฟอรม
2. สรางฟอรมที่ใชในการกรอกขอมูลแทนการกรอกใน Datasheet ได
3. สรางปุมคําสั่งตางๆ เพื่อการทํางานที่สะดวกของฟอรมได

ฟอรม (Form)

ฟอรม (Form) เปนตัวกลางระหวางผูใชงานฐานขอมูลกับตาราง ซึ่งทําหนาที่รับขอมูลและนํา


ขอมูลใสลงในตารางแทนการบันทึกขอมูลลงใน Datasheet ของตาราง และการนําเสนอขอมูลจากการ
สืบคนขอมูลดวย Query

ประเภทของ Form

Form สามารถแบงประเภทไดดังนี้
ประเภท คําอธิบาย
Design View การสรางฟอรมดวยตนเอง โดยใชเครื่องมือหรือที่เรียกวา “คอนโทรล”
(Control) ในลักษณะตางๆ นํามาวางบนฟอรมเพื่อเปนตัวกลางในการรับ
ขอมูลจากผูใชบันทึกลงในตาราง และแสดงขอมูลจากตารางสูผูใช
Form Wizard การสร า งฟอร ม โดยการเรี ย กใช วิ ซ าร ด (Wizard) ซึ่ ง โปรแกรมจะถาม
คํ า ถามต า งๆ เกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะของฟอร ม ที่ ต อ งการ พร อ มแสดงภาพ
ตัวอยางประกอบทุกขั้นตอน แลวสรางออกมาเปนฟอรมตามที่ตองการ
Auto Forms: Columnar การสรางฟอรมจากตารางที่ตองการโดยอัตโนมัติ ซึ่งรูปแบบฟอรมที่ไดจะ
อยูในรูปแบบการเรียงลําดับเรคคอรดจากบนลงลาง และแสดง 1 เรคคอรด
ตอ 1 หนา
Auto Forms: Tabular การสรางฟอรมจากตารางที่ตองการโดยอัตโนมัติ ซึ่งรูปแบบฟอรมทีไ่ ดจะ
อยูในรูปแบบการเรียงลําดับเรคคอรดจากซายไปขวา โดย 1 หนาจะแสดง
หลายเรคคอรด
Auto Forms: Datasheet การสรางฟอรมจากตารางที่ตองการโดยอัตโนมัติ ซึ่งรูปแบบฟอรมทีไ่ ดจะ
อยูในรูปแบบเดี่ยวกันกับมุมมอง Datasheet ของตาราง
Auto Forms: PivotTable การเรียกใชคณ ุ สมบัติ PivotTable จากตารางที่ตองการโดยอัตโนมัติ
Auto Forms: PivotChart การเรียกใชคณ ุ สมบัติ PivotChart จากตารางที่ตองการโดยอัตโนมัติ
ประเภท คําอธิบาย
Chart Wizard การสรางแผนภูมิโดยใชวิซารด (Wizard) สรางแผนภูมิ ซึ่งโปรแกรมจะ
ถามคํ า ถามเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะของแผนภู มิ ที่ ต อ งการ พร อ มแสดงภาพ
ตัวอยางประกอบทุกขั้นตอน แลวสรางออกมาเปนแผนภูมิในรูปแบบตาม
ตองการ
PivotTable Wizard การสราง PivotTable โดยใชวิซารด (Wizard) สราง PivotTable ซึ่ง
โปรแกรมจะมีคําแนะนําและวิธีการใชงาน PivotTable ที่ตองการ พรอม
เขาสูหนาตางการสราง PivotTable โดยอัตโนมัติ

องคประกอบของพื้นที่การออกแบบฟอรม (Form Design Area)

สวน คําอธิบาย
Form Header / Form Footer พื้นที่สําหรับวางวัตถุตางๆ เพื่อใชในการตกแตงใหฟอรมมีความ
สวยงาม และเพื่อแสดงทุกครั้งที่ฟอรมขึ้นหนาใหม สวนมากนิยมใส
เครื่องหมาย, สัญลักษณ หรือขอความตางๆ
Detail พื้นที่สําหรับวางฟลดและคอนโทรลตางๆ เพื่อรับขอความจากผูใช
และแสดงขอมูลทั้งหมดจากตาราง

คอนโทรล (Controls)

คอนโทรลแตละตัวสามารถทํางานภายใตคุณสมบัติที่แตกตางกันไป ซึ่งรายละเอียด
ของคอนโทรลชนิดตางๆ มีดังนี้
สัญลักษณ ชื่อคอนโทรล คําอธิบาย
Select Object ใช ค ลิ ก เลื อ กคอนโทรล หรื อ เปลี่ ย นจากเมาส ที่ ใ ช ส ร า ง
คอนโทรลเปนเมาสที่ใชงานปกติ
Control Wizard คอนโทรลบางตั ว ที่ มี วิ ธี ก ารสร า งที่ ซั บ ซ อ น ยากแก ก าร
เขาใจ เครื่องมือนี้จะชวยเรียกวิซารด (Wizard) ขึ้นมาใช
งานในการสรางคอนโทรล
Label ใชเขียนขอความลงบนฟอรมในลักษณะของคําอธิบายซึ่ง
ไมเกี่ยวกับขอมูลและตาราง
Text Box ใชรับขอมูลจากผูใชบันทึกลงตาราง หรือแสดงขอมูลจาก
ตาราง สามารถใสฟงกชันในการคํานวณลงไปและแสดง
ออกมาเปนผลลัพธได
Option Group กรอบลอมกลุมตัวเลือกที่สามารถเลือกไดตัวเลือกเดียว

78
สัญลักษณ ชื่อคอนโทรล คําอธิบาย
Toggle Button ปุมแบบคลิกเลือก สามารถเลือกไดเพียงตัวเลือกเดียว
Option Button ตัวเลือกแบบคลิกเลือก สามารถเลือกไดเพียงตัวเลือกเดียว
Check Box ตัวเลือกแบบคลิกเลือก สามารถเลือกไดหลายตัวเลือก
Combo Box ใชคลิกเพื่อเลือกรายการขอมูลที่ซอนไว สามารถเลือกได
รายการเดียว
List Box คลายกับ Combo Box แตไมซอนรายการขอมูล
Command Button ปุมที่บรรจุคําสั่งในการทํางาน เชน คลิกปุมเพื่อเพิ่มขอมูล
เปนตน
Image แสดงรูปภาพที่ไมไดจัดเก็บอยูในตาราง
Unbound Object Frame แสดงขอมูลชนิด Object ที่ไมไดบันทึกอยูในตาราง
Bound Object Frame แสดงและรับขอมูลชนิด Object ลงในตาราง
Page Break ใชในกรณีที่ฟอรมมีความยาวมากกวา 1 หนา 79 จาก ใช
เพื่อกําหนดตําแหนงที่ฟอรมจะเลื่อนขึ้นลงเมื่อกดปุม Page
up หรือ Page Down หรือขึ้นหนาใหมเมื่อพิมพฟอรม
Tab Control ใชแสดงฟอรมอื่นๆ ในลักษณะของแท็บ
Subform / Subreport ใชแสดงฟอรมอื่ นๆ ในฟอรมหลั กที่มีขอ มูลในตารางที่ มี
ความสัมพันธกัน
Line ใชสรางเสนในฟอรม
Rectangle ใชวาดสี่เหลี่ยมในฟอรม
More Controls ปุมสําหรับเรียกใชคอนโทรลอื่นๆ ที่ซอนอยู

79
ขั้นตอนการปฏิบัติที่ 4.1

การสราง Form ดวย Form Wizard

คําสั่ง : จงสรางฟอรมเพื่อใชในการรับคาและนําเสนอขอมูลลูกคา (CUSTOMER)

1. เลือก Database: Week1.mdb ขึ้นมาใชงาน


2. จากหนาจอ Database Week1 ใหเลือก Object : Form
3. เลือกคําสั่ง New ดังรูป

4. ปรากฏหนาตาง New Form ดังรูป

80
หนาตาง New Form ประกอบดวย 2 สวนคือ

สวนกําหนดรูปแบบ
การสราง Form

สวนกําหนดขอมูลที่
นํามาสราง Form

5. คลิกเลือกรูปแบบการสราง Form แบบ Form Wizard และคลิกเลือกชื่อตาราง


CUSTOMER โดยคลิกที่ปุมลูกศรดานขาง ดังรูป

81
6. คลิกปุมคําสั่ง OK
7. ปรากฏหนาตาง From Wizard ดังรูป

หนาตาง Form Wizard ประกอบดวย 3 สวนคือ

สวน Tables / Queries กําหนดชื่อ Table หรือ Query ที่ตองการสราง Form


สวน Available Fields รายชื่อฟลดตางๆ ของ Table หรือ Query ที่ตองการสราง Form
สวน Selected Fields รายชื่อฟลดที่เลือกใหปรากฏบน Form

8. เลือกฟลดทตี่ องการแสดงบน Form ในทีน่ ี้ใหเลือกทุกฟลด โดยคลิกทีป่ ุม

82
9. ปรากฏชื่อฟลดทุกชื่อในชอง Select Field ดังรูป

รายชื่อฟลดที่
แสดงบนฟอรม

คลิกปุมคําสั่ง Next

10 คลิกปุมคําสั่ง Next
11. ปรากฏหนาจอถัดไป เพื่อกําหนดเลือก layout ของ Form ใหนักศึกษาเลือกรูปแบบใดก็
ได ในที่นี้เลือก แบบ Columnar ดังรูป จากนั้นใหคลิกปุม Next

เลือกรูปแบบ
Layout ของฟอรม

คลิกปุมคําสั่ง Next

83
12. ปรากฏหนาจอถัดไป Style ของ Form ใหนักศึกษาเลือกรูปแบบใดก็ได ในที่นี้เลือกแบบ
Standard ดังรูป จากนั้นใหคลิกปุม Next

เลือกรูปแบบ Style
ของฟอรม

คลิกปุมคําสั่ง Next

13. ปรากฏหนาตางใหตั้งชื่อของ Form ใหนักศึกษาตั้งชื่อฟอรมวา CUSTOMER ดังรูป

โดยทั่วไปแลวการสรางฟอรมดวย Form Wizard จะตั้งชื่อฟอรมที่สรางขึ้น


ใหเหมือนกับชื่อ Table หรือ Query ที่ใชในการสรางฟอรม

84
14. เลือกรูปแบบการแสดงฟอรม ซึ่งมีใหเลือก 2 รูปแบบ คือ
ประเภท คําอธิบาย
Open the Form to view or enter information เปดฟอรมที่สรางขึ้นในหนาตาง Form View
Modify the form’s design เปดฟอรมที่สรางขึ้นในหนาตาง Design View

ในที่นี่เลือกรูปแบบ Open the Form to view or enter information


15 คลิกปุม Finish จะปรากฏ Form : Customer ดังรูป

85
ขั้นตอนการปฏิบัติที่ 4.2

การสรางปายคําอธิบายดวยคอนโทรล Label

ขั้นตอนการปฏิบัติ มีดังนี้
1. จากหนาตาง Form คลิกที่ Icon จากนัน้ เลือกคําสั่ง Design View ดังรูป

เลือกคําสั่ง Design View

2. ปรากฏหนาตาง Design Form ดังรูป

86
3. วางเมาสไวระหวางสวน Form Header และ Detail ใหเมาสเปลี่ยนเปนรูป ดังรูป

4. คลิกเมาสคางไว แลวลากเมาสลงดานลาง เพื่อขยายพืน้ ที่ของสวน Form Header ดังรูป

87
5. ปลอยเมาสออก จะปรากฏพื้นที่สวน Form Header ดังรูป

6. คลิกปุม บนแถบเครื่องมือ (Toolbox) เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป +A จากนั้นใหคลิกวางบน


พื้นที่ Form Header ที่ตองการสรางคอนโทรล Label แลวลากเมาสใหเกิดพื้นที่สี่เหลี่ยม
ดังรูป

1. คลิกปุม

2. ลากเมาสสราง
Label

88
7. เมื่อปลอยเมาส จะปรากฏกรอบพื้นที่ตามขนาดที่กําหนดไว ใหพิมพขอความที่ตองการลง
ไป ในที่นี่พิมพขอความ “ขอมูลลูกคา” ดังรูป

8. คลิกที่ Icon จากนั้นเลือกคําสั่ง Form View ดังรูป

9. ปรากฏหนาตาง Form : CUSTOMER ในมุมมอง Form View ดังรูป

คอนโทรล Label ที่สรางขึ้น

89
การสรางปุมคําสั่งดวยคอนโทรล Command Button

Command Button เปนคอนโทรลที่ใชในการสรางปุมคําสั่งเพื่อควบคุมการทํางานของฟอรม


ใหมีการทํางานตางๆ อยางมีประสิทธิภาพและเพิ่มความสะดวกในการใชงาน เชน การเปด/ปดฟอรม
การพิ ม พ ฟ อร ม หรื อ การสั่ ง ให เ ป ด คิ ว รี่ เ พื่ อ ค น หาข อ มู ล เป น ต น ซึ่ ง ความสามารถของคอนโทรล
ประเภทนี้จําแนกไดเปน 6 กลุม (Categories) ดังนี้

1. กลุมคําสั่งที่ทํางานกับเรคคอรด (Record Navigation)


คําสั่ง (Action) คําอธิบาย
Find Next คนหาเรคคอรดที่ตรงกับเงื่อนไขที่กําหนดไว
Find Record คนหาเรคคอรดที่ตรงกับเงื่อนไข โดยเปดหนาตางคนหา (Find)
Go To First Record แสดงเรคคอรดแรก
Go To Last Record แสดงเรคคอรดสุดทาย
Go To Next Record แสดงเรคคอรดถัดไป
Go To Previous Record แสดงเรคคอรดกอนหนา

2. กลุมคําสั่งที่จัดการเรคคอรด (Record Operations)


คําสั่ง (Action) คําอธิบาย
Add New Record เพิ่มเรคคอรดใหม
Delete Record ลบเรคคอรดปจจุบัน
Duplicate Record ทําสําเนาเรคคอรดปจจุบัน
Print Record พิมพเรคคอรดปจจุบัน
Save Record บันทึกเรคคอรดปจจุบันลงตาราง
Undo Record ยกเลิกการแกไขเรคคอรดปจจุบัน

3. กลุมคําสั่งที่จัดการฟอรม (Form Operations)


คําสั่ง (Action) คําอธิบาย
Apply Form Filter กรองขอมูลตามสิ่งที่เลือก
Close Form ปดฟอรมที่ใชงานอยู
Edit Form Filter กําหนดการกรองขอมูล
Open Form เปดฟอรมที่กําหนด
Open Page เปด Access Page ที่กําหนด
Print a Form พิมพฟอรมที่กาํ หนด
Print Current Form พิมพฟอรมปจจุบัน
Refresh Form Data ปรับปรุงขอมูลในฟอรม

90
4. กลุมคําสั่งที่จัดการรายงาน (Report Operations)
คําสั่ง (Action) คําอธิบาย
Mail Report สงรายงานทางอีเมล
Preview Report แสดงรายงานกอนพิมพ
Print Report พิมพรายงาน
Send Report To File พิมพรายงานออกเปนไฟลเอกสาร

5. กลุมคําสั่งที่ทํางานกับโปรแกรม (Applications)
คําสั่ง (Action) คําอธิบาย
Quit Application ออกจากโปรแกรมปจจุบัน
Run Application เปดโปรแกรมที่กําหนด
Run Ms Excel เปดโปรแกรม Ms Excel
Run Ms Word เปดโปรแกรม Ms Word
Run Notepad เปดโปรแกรม Notepad

6. กลุมคําสั่งที่ทํางานเบ็ดเตล็ด (Miscellaneous)
คําสั่ง (Action) คําอธิบาย
Auto Dialer สั่งตออินเตอรเน็ต
Print Table พิมพ Table ที่กําหนด
Run Marco สั่งทํางาน Marco ที่กําหนด
Run Query สั่งทํางาน Query ที่กําหนด

91
คําสั่ง : จงสรางปุมคําสั่ง (Command Button) เพื่อใชในการเพิ่มขอมูล

ขั้นตอนการปฏิบัติ มีดังนี้
1. จากหนาตาง Form : CUSTOMER ในมุมมอง Design View ดังรูป

2. คลิกปุม บนแถบเครื่องมือ (Toolbox) เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป จากนั้นใหคลิก


วางบนพื้นที่ Detail ที่ตองการสรางคอนโทรล Command Button แลวลากเมาสใหเกิดพื้นที่
สี่เหลี่ยม ดังรูป

คลิกปุม Command Button

คลิกวางบนฟอรม และ
ลากใหเกิดพื้นที่สี่เหลี่ยม

92
3. ปรากฏคอนโทรล Command Button ชื่อ Command 14 (โปรแกรมตั้งชื่ออัตโนมัติ) บน
ฟอรม พรอมหนาตาง Command Button Wizard ดังรูป

หนาตาง Command Button Wizard

คอนโทรล Command Button ที่สรางขึ้น

4. คลิกเลือก Categories : Record Operations และ Actions : Add New Record จากนั้น
คลิกปุมคําสั่ง Next ดังรูป

เลือก Record Operations เลือก Add New Record

คลิกปุมคําสั่ง Next>

93
5. กําหนดรูปแบบการแสดงของปุมคําสั่ง ซึ่งมีดวยกัน 2 รูปแบบ คือ
1) แบบขอความ (Text) เปนการแสดงขอความบนปุมคําสั่ง ผูใชสามารถกําหนด
ขอความเองได โดยการพิมพลงในชองที่กําหนด
2) แบบรูปภาพ (Picture) เปนการแสดงรูปภาพบนปุมคําสั่ง ผูใชสามารถใชรูปภาพ
ที่โปรแกรมกําหนดไวให หรือกําหนดรูปภาพขึ้นเองได โดยคลิกที่ปุม Browser

ใหเลือกรูปแบบ Text จากนั้นคลิกปุมคําสั่ง Next ดังรูป

เลือก Text:

คลิกปุมคําสั่ง Next>

6. ตั้งชื่อปุมคําสั่ง โดยทั่วไปโปรแกรมจะตั้งชื่อปุมคําสั่งมาใหโดยอัตโนมัติ แตในที่นี้ใหตั้งชื่อ


ปุมคําสั่งเปนชื่อ “Add Record” เนื่องจากจะไดสื่อความหมายในการใชงาน จากนั้นคลิกปุม
คําสั่ง Finish ดังรูป

พิมพขอความ Add

คลิกปุมคําสั่ง Finish

94
7. ปรากฏปุมคําสั่ง Add Record ที่สรางขึ้นใหมบน Form ดังรูป

ปุมคําสั่ง Add Record

8. คลิกที่ Icon จากนั้นเลือกคําสั่ง Form View ดังรูป


9. ปรากฏหนาตาง Form : CUSTOMER ในมุมมอง Form View ดังรูป

95
10. ทดสอบปุมคําสั่ง Add Record เมื่อคลิกปุมคําสั่ง Add Record ที่ชองรับคาขอมูลจะ
ปรากฏเปนชองวาง เพื่อพรอมรับการกรอกขอมูลลงสูตาราง ดังรูป

คําสั่ง : จงสรางปุมคําสั่ง (Command Button) เพื่อใชในการปดหนาตางฟอรม


CUSTOMER

ขั้นตอนการปฏิบัติ มีดังนี้
1. จากหนาตาง Form : CUSTOMER ในมุมมอง Design View ดังรูป

96
2. คลิกปุม บนแถบเครื่องมือ (Toolbox) เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป จากนั้นใหคลิก
วางบนพื้นที่ Detail ที่ตองการสรางคอนโทรล Command Button แลวลากเมาสใหเกิดพื้นที่
สี่เหลี่ยม ดังรูป

คลิกปุม Command Button

คลิกวางบนฟอรม และ
ลากใหเกิดพื้นที่สี่เหลี่ยม

3. ปรากฏคอนโทรล Command บนฟอรม พรอมหนาตาง Command Button Wizard


4. คลิกเลือก Categories : Form Operations และ Actions : Close Form จากนั้นคลิกปุม
คําสั่ง Next ดังรูป

เลือก Close Form


เลือก Form Operations

คลิกปุมคําสั่ง Next>

97
5. คลิกเลือกรูปแบบ Text จากนั้นคลิกปุมคําสั่ง Next ดังรูป

เลือก Picture:

คลิกปุมคําสั่ง Next>

6. ตั้งชื่อปุมคําสั่ง โดยทั่วไปโปรแกรมจะตั้งชื่อปุมคําสั่งมาใหโดยอัตโนมัติ แตในที่นี้ใหตั้งชื่อ


ปุมคําสั่งเปนชื่อ “Close” เนื่องจากจะไดสื่อความหมายในการใชงาน จากนั้นคลิกปุมคําสั่ง
Finish ดังรูป

พิมพขอความ Close

คลิกปุมคําสั่ง Finish

98
7. ปรากฏปุมคําสั่ง Add Record ที่สรางขึ้นใหมบน Form ดังรูป

ปุมคําสั่ง Close

8. คลิกที่ Icon จากนั้นเลือกคําสั่ง Form View ดังรูป


9. ปรากฏหนาตาง Form : CUSTOMER ในมุมมอง Form View ดังรูป

10. ทดสอบปุมคําสั่ง Close เมื่อคลิกปุมคําสั่ง Close โปรแกรมจะปดฟอรม CUSTOMER ลง


โดยอัตโนมัติ

99
คําสั่ง

1. ใหนักศึกษาสรางฟอรมใหกับตาราง EMPLOYER, PRODUCT, ORDER และ


ORDER_Detail โดยเลือกรูปแบบตางๆ กัน เพื่อดูความแตกตางกันของแตละฟอรม แลวกรอกขอมูล
เพิ่มเติมตารางละ 2-3 เรคคอรด (กําหนดขอมูลดวยตนเอง)
2. ในแตละฟอรที่สรางขึ้นในขอที่ 1 ใหสรางปุมคําสั่งดังนี้
-ปุมคําสั่งเพิ่มเรคคอรดใหม (Add New Record)
-ปุมคําสั่งลบเรคคอรด (Delete Record)
-ปุมคําสั่งปดฟอรม (Close Form)
3. ใหนักศึกษาสรางฟอรมจาก Query ชื่อ Q_Oeder1 โดยตั้งชื่อฟอรมวา F_Order1 พรอม
สรางปุมคําสั่งพิมพฟอรม (Print a Form)

100
ปฏิบัติการที่ 5
การสรางรายงาน

วัตถุประสงค นักศึกษาสามารถ
1. มีความรูเกี่ยวกับการสรางรายงาน
2. สรางรายงานเพื่อใชในการนําเสนอขอมูลผานทางเครื่องพิมพได

Report : รายงาน

รายงาน (Report) เปนองคประกอบหนึ่งของโปรแกรม Microsoft Access ทําหนาที่นําเสนอ


ขอมูลในรูปแบบของรายงาน ซึ่งนําเสนอขอมูลไดหลายรูปแบบ เชน การจัดกลุมขอมูลตามตัองการ
การคํานวณและรวมขอมูลทั้งดานแถวและคอลัมน การสรางแผนภูมินําเสนอขอมูล และการทําปายชื่อ
ปดหนาซองจดหมาย เปนตน

องคประกอบของ Report
Report ของ Microsoft Access มีองคประกอบดังนี้
องคประกอบ คําอธิบาย
Report Header พื้นที่สวนหัวของรายงาน รายละเอียดตางๆ ที่อยูในสวนนี้จะถูกแสดงเฉพาะ
รายงานหนาแรกเทานั้น
Page Header พื้นที่สวนหัวของกระดาษ รายละเอียดตางๆ ที่อยูในสวนนี้จะถูกแสดงที่บนหัว
กระดาษของรายงานทุกหนา
Detail พื้นที่สําหรับแสดงรายละเอียดของขอมูล และถือเปนสวนสําคัญของรายงาน
Page Footer พื้นที่สวนทายของกระดาษ รายละเอียดตางๆ ที่อยูในสวนนี้จะถูกแสดงที่บนหัว
กระดาษของรายงานทุกหนา
Report Footer พื้นที่สวนทายของรายงาน รายละเอียดตางๆ ที่อยูในสวนนี้จะถูกแสดงเฉพาะ
รายงานหนาแรกเทานั้น สวนใหญจะแสดงผลรวมของขอมูลภายในสวน Detail
ของกลุมขอมูลทั้งหมดในรายงาน

มุมมองในการสราง Query
Microsoft Access 2002 กําหนดมุมมองในการสราง Report 3 มุมมอง ดังนี้
มุมมอง คําอธิบาย
Design View มุมมองที่ใชสําหรับออกแบบและสราง Report ซึ่งมีวิธีการใชงานเหมือนกับ
มุมมอง Form Design ของ Form
Print Preview มุมมองที่ใชสําหรับแสดงรายงานในรูปแบบภาพกอนพิมพ ซึ่งสามารถกําหนดให
แสดงทีละหลายหนา รวมถึงกําหนดขนาดในการแสดงใหแสดงเปนภาพใหญหรือ
ภาพเล็กไดตามตองการ
Layout View มุมมองที่ใชสําหรับแสดงภาพกอนพิมพเชนเดียวกับแบบ Print Preview แตจะ
แสดงใหเห็นเพียงหนาเดียวเทานั้น และแสดงในลักษณะที่พอดีกับหนาจอเทานั้น

ประเภทของ Report
Report สามารถแบงประเภทไดดังนี้
ประเภท ความหมาย
Design View การสรางรายงานดวยตนเอง โดยใชเครื่องมือหรือที่เรียกวา “คอนโทรล”
(Control) ในลักษณะตางๆ พรอมระบุเงือนไขตางๆ ที่ตองการนําแสดงใน
รายงานตามความตองการ
Report Wizard การสรางรายงานโดยการเรียกใชวิซารด (Wizard) ซึ่งโปรแกรมจะถาม
คําถามเกี่ยวกับลักษณะของรายงานที่ตองการ พรอมแสดงภาพตัวอยาง
ประกอบทุกขั้นตอน แลวสรางออกมาเปนรายงานตามที่ตองการ และยัง
สามารถสร า งรายงานที่ มี ก ารจั ด กลุ ม ข อ มู ล เรี ย งลํ าดั บ ข อ มู ล และการ
สรุปผลรวมขอมูล นอกจากนี้ยังสามารถสรางรายงานในลักษณะพิเศษ
อื่นๆ เชน รายงานในรูปแบบของแผนภูมิ (Chart)หรือปายชื่อ (Label)

102
ประเภท ความหมาย
AutoReport : Columnar การสรางรายงานแบบงาย โดยสามารถกําหนดแหลงที่มาของขอมูลไดจาก
ตารางหรือคิวรี ซึ่งรูปแบบจะเหมือนกับการสราง Form โดยใช AutoForm
: Coulumnar โดยแตละหนาของรายงานจะแสดงขอมูลแตละเรคคอรด
โดยเรียงฟลดขอมูลจากบนลงลางในแนวแถว ตามลําดับที่กําหนดไวใน
โครงสรางของ Table หรือ Query
AutoReport : Tabular การสรางรายงานแบบงาย โดยสามารถกําหนดแหลงที่มาของขอมูลไดจาก
ตารางหรือคิวรี ซึ่งรูปแบบจะเหมือนกับการสราง Form โดยใช AutoForm
: Tabular โดยแตละหนาของรายงานจะแสดงขอมูลแตละเรคคอรด โดย
เรียงฟลดขอมูลจากซายไปขวา ตามลําดับที่กําหนดไวในโครงสรางของ
Table หรือ Query
Chart Wizard การสรางรายงานที่แสดงขอมูลในลักษณะแผนภูมิแบบตางๆ
Label Wizard การสรางรายงานที่แสดงขอมูลที่ตองการพิมพฉลาก เชน ชื่อและที่อยูของ
ลูกคา เปนตน

ขั้นตอนการปฏิบัติที่ 5.1

การสราง Report ดวย Report Wizard


1. ใหนักศึกษาเรียกฐานขอมูล Week1.mdb ขึ้นมาใชงาน
2. จากหนาตาง Week1:Database ใหคลิกเลือก Object ชื่อ Report
3. เลือกคําสั่ง New ดังรูป

103
4. ปรากฏหนาตาง New Report ดังรูป

หนาตาง New Report ประกอบดวย 2 สวนคือ

สวนกําหนดรูปแบบ
การสราง Report

สวนกําหนดขอมูลที่
นํามาสราง Report

104
5. คลิกเลือกรูปแบบการสราง Report แบบ Report Wizard และคลิกเลือกชื่อตาราง
CUSTOMER โดยคลิกที่ปุมลูกศรดานขาง ดังรูป

6. คลิกปุมคําสั่ง OK
7. ปรากฏหนาตาง Report Wizard ดังรูป

105
หนาตาง Report Wizard ประกอบดวย 3 สวนคือ

สวน Tables / Queries กําหนดชื่อ Table หรือ Query ที่ตองการสราง Report


สวน Available Fields รายชื่อฟลดตางๆ ของ Table หรือ Query ที่ตองการสราง Report
สวน Selected Fields รายชื่อฟลดที่เลือกใหปรากฏบน Report

8. เลือกฟลดทตี่ องการแสดงบน Report ในที่นี้ใหเลือกทุกฟลด โดยคลิกที่ปุม


9. ปรากฏชื่อฟลดทุกชื่อในชอง Select Field ดังรูป

รายชื่อฟลดที่
แสดงบนรายงาน

คลิกปุมคําสั่ง Next

10 คลิกปุมคําสั่ง Next

106
11. ปรากฏหนาจอถัดไป เพื่อกําหนดการจัดกลุมของขอมูลใน Report ใหนักศึกษาเลือกการ
จัดกลุมขอมูลแบบใดก็ได หรือไมจัดกลุมขอมูลก็ได
- กรณีที่เลือกการจัดกลุม ใหนักศึกษาคลิกเลือกที่ชื่อ Field ที่ตองการจัดกลุม
จากนั้นคลิกที่เครื่องหมาย > แลวคลิกปุม Next
- กรณีที่ไมเลือกการจัดกลุม ใหนักศึกษาคลิกปุม Next

ในที่นี้เลือกจัดกลุมขอมูลดวยรหัสไปรษณีย (CusZipcode) จากนั้นใหคลิกปุม


คําสั่ง Next ดังรูป

2. คลิกปุม

1. คลิกเลือกฟลด
CusZipcode

3. ปรากฏฟลด CusZipcode
อยูดานบนฟลดอื่นๆ

4. คลิกปุมคําสั่ง Next

107
12. ปรากฏหนาจอถัดไป เพื่อกําหนดการจัดเรียงขอมูล (Sort)ในแตละ Record ดังรูป

ขั้นตอนการกําหนดการจัดเรียงขอมูล มีดังนี้
1) คลิกที่ชองกําหนดการจัดเรียงขอมูล เพื่อเลือกฟลดที่ตองการจัดเรียงขอมูล
ในที่นี่คลิกเลือกฟลด
ชื่อลูกคา (CusName)
ดังรูป

2) คลิกเลือกรูปแบบการจัดเรียงขอมูล
- การจัดเรียงขอมูลแบบ Ascending เปนการจัดเรียงขอมูลจากนอยไปหามาก
- การจัดเรียงขอมูลแบบ Descending เปนการจัดเรียงขอมูลจากมากไปหานอย
3) คลิกปุม Next ดังรูป

คลิกปุมคําสั่ง Next

108
13. ปรากฏหนาจอถัดไป เพื่อกําหนดรูปแบบของรายงาน (Layout) และหนากระดาษของ
รายงาน (Orientation) ดังรูป

ใหนักศึกษาจะเลือกแบบไหนก็ได ในที่นี้เลือกรูปแบบรายงาน (Layout) แบบ


Outline 2 และ เลือกหนากระดาษรายงาน (Orientation) แบบ Portrait ดังรูป จากนั้นให
คลิกปุม Next

2. คลิกเลือก Orientation
แบบ Portrait

1. คลิกเลือก Layout
แบบ Outline 2

3. คลิกปุมคําสั่ง Next

109
14. ปรากฏหนาจอถัดไป เพื่อกําหนดรูปแบบตัวอักษร (Style) ใหกับสวน Page Header

ใหนักศึกษาจะเลือกแบบไหนก็ได ในที่นี้เลือกรูปแบบตัวอักษร (Style) ในสวน


Page Header แบบ Soft Gray ดังรูป จากนั้นใหคลิกปุม Next

1. คลิกเลือก Style
แบบ Soft Gray

2. คลิกปุมคําสั่ง Next

110
15. ปรากฏหนาจอถัดไป ใหตั้งชื่อของ Report ใหนักศึกษาตั้งชื่อวา CUSTOMER ดังรูป

16. คลิกเลือกรูปแบบการแสดงผลจากการสราง Report ดวย Report Wizard ดังรูป

รูปแบบ คําอธิบาย
Preview the report แสดงรายงานในรูปแบบมุมมองที่ใชสําหรับแสดงรายงานในรูปแบบ
ภาพกอนพิมพ
Modify the report’s design แสดงรายงานในรูปแบบมุมมองที่ใชสําหรับแกไข Report

ในที่นี้เลือกรูปแบบ Preview the report ดังรูป จากนั้นใหคลิกปุม Finish

111
17. ปรากฏ Report ที่สรางขึ้น ในมุมมองแบบกอนพิมพ ดังรูป

112
การแกไขรายงาน

ขั้นตอนการปฏิบัติ การเพิ่มสวนหัวและสวนทายของรายงาน

1. จากหนาตาง Report ดังรูป


1) เลือกเมนู View เลือกคําสั่ง Design View หรือ

2) คลิกที่ Icon
จากนั้นเลือกคําสั่ง
Design View ดังรูป

2. ปรากฏหนาตาง Design Report ดังรูป

113
คําสั่ง

1. ใหนักศึกษาสรางรายงาน โดยใชขอมูลจาก Table : CUSTOMER, ORDER,


PRODUCT และ ORDER_Detail โดยใหมีการจัดเรียงขอมูลดังตัวอยาง โดยตั้งชื่อ Report
วา ORDER

114
บรรณานุกรม

วุฒิพงศ พงศสุวรรณ และวลัยพร จรนิเทศ. (2543). How to learn database with Microsoft
Access 2002. กรุงเทพฯ : ซอฟตแวร ปารค.
สัจจะ จรัสรุงรวีวร และสุรัสวดี วงศจันทรสุข. (2545). คูมือการใชงาน Access 2002 ฉบับ
สมบูรณ. กรุงเทพฯ : อินโฟเพรส.
สัมฤทธิ์ วงศเดนดวง. (2547). คัมภีรการออกแบบและพัฒนาระบบฐานขอมูลดวย Microsoft
Access เลม1. กรุงเทพฯ : เคพีที คอมพ แอนด คอนซัลท.
Frye, Curtis. (2001). Microsoft Access version 2002 plain & simple. Redmond, Wash. :
Microsoft Press.
Online Training Solutions. (2001). Microsoft Access version 2002 step by step.
Redmond, Wash. : Microsoft Press.
Wood, Dawn Parrish. (2002). Essentials Access 2002. Upper Saddle River, N.J. :
Prentice Hall.

115

Vous aimerez peut-être aussi